You are on page 1of 22

บทที่ 7 ยืม ฝากทรั พย์

ความหมาย ยืมเป็ นสั ญญาชนิดหนึ่ง มีค่ ส


ู ั ญญา
สองฝ่ าย ฝ่ ายหนึ่งเรี ยกว่ า ผ้ ใู ห้ ยืม ส่ งมอบหรื อโอน
กรรมสิ ทธิ์ให้ แก่ค่ กู รณีอกี ฝ่ ายหนึ่งเรียกว่ า ผ้ ยู ืม
เพื่อใช้ สอยทรั พย์ สินนั้น และผ้ ยู ืมตกลงว่ าจะ
ส่ งคืนทรั พย์ สินนั้นเมื่ อได้ ใช้ สอยเสร็จ
สาระสาคัญของสั ญญายืมมี 2 ประการ คือ
1. เป็ นสั ญญาไม่ ต่างตอบแทน คือเป็ นสั ญญาที่
ก่ อให้ เกิดหน้ าที่แก่ ค่ กู รณีฝ่ายเดียว คือผ้ ยู ืมที่ต้องคืน
ทรั พย์ สินที่ยืมให้ แก่ ผ้ ใู ห้ ยืม
2. เป็ นสั ญญาที่สมบรู ณ์ โดยการส่ งมอบทรัพย์ สิน
ประเภทของสั ญญายืม แบ่ งออกเป็ น 2 ประเภท
1. สั ญญายืมใช้ คงรูป
2. สั ญญาใช้ สิ้นเปลือง
1. สั ญญายืมใช้ คงรูป ป.พ.พ. มาตรา 640 “อันว่ ายืมใช้
คงรูปนั้น คือสั ญญาซึ่ งบุคคลคนหนึ่งเรี ยกว่ าผ้ ใู ห้ ยืม
ให้ บุคคลอีกคนหนึ่งเรี ยกว่ าผ้ ยู ืม ใช้ สอยทรั พย์ สินสิ่ งใด
สิ่ งหนึ่งได้ เปล่ า และผ้ ยู ืมตกลงว่ าจะคืนทรั พย์สินนั้น
เมื่ อได้ ใช้ สอยเสร็ จ”
 สาระสาคัญของสั ญญายืมใช้ คงรูป
1. เป็ นสั ญญาที่มีค่กู รณี 2 ฝ่ าย คือ ผ้ ใู ห้ ยืมและผ้ ยู ืม ซึ่งแต่ ละ
ฝ่ ายอาจเป็ นบุคคลธรรมดาหรื อนิติบุคคลก็ได้
2. วัตถุประสงค์ของสั ญญา คือผ้ ใู ห้ ยืมส่ งมอบทรั พย์ สินสิ่ งใด
สิ่ งหนึ่งให้ แก่ผ้ ยู ืมเพื่อใช้ สอยทรั พย์ สินนั้นได้ เปล่า ไม่ ต้องเสี ย
ค่าตอบแทนให้ แก่ผ้ ใู ห้ ยืม และเมื่อใช้ สอยเสร็ จแล้ ว ผ้ ยู ืมต้ อง
คืนทรั พย์ สินที่ยืมนั้น
3. สั ญญายืมใช้ คงรูปสมบูรณ์ โดยการส่ งมอบทรั พย์ สินที่
ให้ ยืม
หน้ าที่ของผ้ ยู ืมใช้ คงรูป มี 5 ประการ
1. เสี ยค่ าธรรมเนียมต่ างๆ เช่ นค่ าขนส่ งทรั พย์ สินที่ยืม
ทั้งในเวลาส่ งมอบและเวลาส่ งคืน
2. ต้ องใช้ สอยทรัพย์ สินที่ยืมเป็ นปกติแก่ ทรัพย์ น้ัน คือ
ไม่ เอาทรั พย์ ที่ยืมไปใช้ อย่ างอื่น
3. ต้ องสงวนหรื อรั กษาทรั พย์ ที่ยืม
4. ต้ องเสี ยค่ าใช้ จ่ายอันเป็ นปกติแก่การบารุงรั กษา
5. ต้ องส่ งคืนทรั พย์ สินที่ยืม
 ความระงับของสั ญญายืมใช้ คงรูป
1.เมื่อพ้นกาหนดระยะเวลาตามที่ค่สู ั ญญาได้ ตกลงกาหนดกัน
ไว้ แต่ ถ้าค่สู ั ญญาไม่ ได้ กาหนดระยะเวลากันไว้ สั ญญายืมใช้
คงรูปย่ อมระงับไปเมื่อผ้ ยู ืมใช้ สอยทรั พย์ สินนั้นเสร็ จตาม
สั ญญา หรื อเมื่อเวลาได้ ล่วงไปพอแก่ การที่ผ้ ยู ืมจะได้ ใช้ สอย
ทรั พย์ สินนั้นเสร็ จแล้ว
2.ผ้ ยู ืมตายสั ญญายืมใช้ คงรูประงับไป
3.ผ้ ใู ห้ ยืมใช้ สิทธิบอกเลิกสั ญญา เช่ นผ้ ยู ืมไม่รักษาทรั พย์ สินที่
ยืม
 อายุความของสั ญญายืมใช้ คงรูป
ความรั บผิดเพื่อเสี ยค่าทดแทนอันเกีย่ วกับการยืมใช้ คงรูปนั้น
ห้ ามมิให้ ฟ้องเมื่อพ้นเวลา หกเดือน นับแต่ วันสิ้นสั ญญา
ค่าทดแทนอันเกีย่ วกับยืมใช้ คงรูปได้ แก่ ไม่ ได้ ใช้ สอย
ทรั พย์ สินที่ยืมเป็ นปกติแก่ทรั พย์ น้ นั ไม่ สงวนหรื อรั กษา
ทรั พย์ ที่ยืมจนเกิดความเสี ยหายแก่ผ้ ใู ห้ ยืม
2. สั ญญาใช้ สิ้นเปลือง
ตาม ป.พ.พ. มาตรา 650 “อันว่ ายืมใช้ สิ้นเปลืองนั้น คือ
สั ญญาผ้ ใู ห้ ยืมโอนกรรมสิ ทธิ์ในทรัพย์ สินชนิดใช้ ไปสิ้ น
ไปนั้น เป็ นปริ มาณมีกาหนดให้ ไปแก่ ผ้ ยู ืม และผ้ ยู ืมตก
ลงว่ าจะคืนทรั พย์ สินเป็ นประเภท ชนิด และปริ มาณ
เช่ นเดียวกันให้ แทนทรั พย์ สินซึ่ งให้ ยืมนั้ น”
หน้ าที่ของผ้ ยู ืมใช้ สิ้นเปลือง
1. ต้ องเสี ยค่าธรรมเนียมในการทาสั ญญา เช่ นค่าส่ งมอบ ค่า
ส่ งคืนทรั พย์ สินซึ่งยืม
2. ต้ องส่ งคืนทรั พย์ สินอันเป็ นประเภท ชนิด ปริ มาณ
เช่ นเดียวกันให้ แทนทรั พย์ สินที่ยืมมาแก่ผ้ ใู ห้ ยืม
การคืนทรั พย์ สินที่ยืม มี 2 กรณี ดังนี้
1.คืนตามกาหนดระยะเวลาที่ตกลงกันไว้ ในสั ญญา
2.กรณีที่ไม่ ได้ กาหนดเวลาให้ คืนทรั พย์ สินกันไว้ ผ้ ใู ห้ ยืมมี
สิ ทธิเรี ยกให้ ผ้ ยู ืมส่ งคืนโดยพลันทันที
การระงับของสั ญญายืมใช้ สิ้นเปลือง ระงับเมื่อผ้ ูยืมตาย หรื อ
ระงับเมื่อผ้ ยู ืมคืนทรั พย์ สินตาม ประเภท ชนิดและปริ มาณ
เดียวกันแก่ผ้ ใู ห้ ยืม
สิ ทธิของผ้ ใู ห้ ยืม
1.เรี ยกให้ ผ้ ยู ืมคืนทรั พย์ สินที่ยืมเมื่อครบกาหนดตามสั ญญา
2.เรี ยกให้ ผ้ ยู ืมคืนทรั พย์ สินที่ยืมเมื่อเวลาได้ ล่วงพ้ นไป
พอควรแก่การที่ผ้ ยู ืมใช้ สอยทรั พย์ สินนั้นเสร็ จแล้ว
3.เรี ยกให้ ผ้ ยู ืมรั บผิดในความเสี ยหายอันเกีย่ วกับการยืม
ภายใน 6 เดือนนับแต่ วันสิ้นสั ญญา
การก้ ยู ืมเงิน
สั ญญาก้ยู ืมเงินเป็ นสั ญญายืมใช้ สิ้นเปลือง ดังนั้น การก้ยู ืม
เงินหมายถึง สั ญญาซึ่งผ้ ใู ห้ ยืมโอนกรรมสิ ทธิ์ในเงินตราเป็ น
ปริ มาณมีกาหนดให้ ไปแก่ผ้ ยู ืม และผ้ ยู ืมตกลงว่ าจะคืน
เงินตราเป็ นปริ มาณเท่ ากับจานวนที่ยืมไปหรื อมากกว่ าให้ แก่
ผ้ ใู ห้ ยืม และสั ญญาก้ยู ืมย่ อมบริ บรู ณ์ เมื่อส่ งมอบเงินตราที่
ยืม
 หลักฐานการก้ยู ืมเงิน
ตาม ป.พ.พ. มาตรา 653 วรรค1 “การก้ยู ืมเงินกว่ าสองพัน
บาทขึน้ ไปนั้น ถ้ ามิได้ มีหลักฐานแห่ งการก้ยู ืมเป็ นหนังสื อ
อย่ างใดอย่ างหนึ่งลงลายมือชื่ อผ้ ยู ืมเป็ นสาคัญ ท่ านว่ าจะ
ฟ้องร้ องบังคับคดีหาได้ ไม่
วรรค 2 หลักฐานการใช้ เงิน การก้ยู ืมเงิน ถ้ าผ้ กู ้จู ะนาสื บ
ถึงการใช้ เงินต้ องมีหลักฐานต่ อไปนีม้ าแสดงต่ อศาล หนังสื อ
ลงลายมือชื่ อผ้ ใู ห้ ก้ยู ืม ,มีการเวนคืนเอกสารอันเป็ นหลักฐาน
แห่ งการก้ยู ืม ,มีการแทงเพิกถอนลงในเอกสารอันเป็ น
หลักฐานการแห่ งการก้ยู ืม”
 ดอกเบีย้ เงินก้ยู ืม
ดอกเบีย้ เป็ นดอกผลนิตินัย ที่ผ้ กู ้ยู ืมให้ แก่ผ้ ูให้ ยืมเป็ นการตอบ
แทนเนื่องจากการที่ผ้ ยู ืมได้ ใช้ หรื อได้ รับประโยชน์ จากเงินที่
ยืมไป ดอกเบีย้ อาจเป็ นเงินหรื อทรั พย์ สินอื่นก็ได้
ดอกเบีย้ กาหนดได้ ดังนี้
ถ้ ามีการตกลงเรื่ องดอกเบีย้ ไว้ ให้ ชาระดอกเบีย้ ตามที่ตกลงไว้
ในสั ญญา แต่ ต้องไม่ เกินร้ อยละ 15 ต่ อปี แต่ ถ้าไม่ ได้ กาหนด
ดอกเบีย้ ว่ าเท่ าไหร่ ให้ คดิ ดอกเบีย้ อัตราร้ อยละ 7.5 ต่ อปี และ
ถ้ าเรี ยกดอกเบีย้ เกินร้ อยละ 15 ต่ อปี ดอกเบีย้ เป็ นโมฆะ
ห้ ามไม่ ให้ คดิ ดอกเบีย้ ซ้ อนดอกเบีย้ เว้ นแต่ เมื่อ ดอกเบีย้ ค้าง
ชาระไม่ น้อยกว่ า 1 ปี (แต่ ต้องอย่ ภู ายใต้ ที่ค่สู ั ญญาทั้งสอง
ฝ่ ายตกลงกันให้ เอาดอกเบีย้ ทบเข้ ากับต้ นเงินได้ และการตก
ลงต้ องทาเป็ นหนังสื อต่ อกัน)
 การก้ยู ืมเงินค่กู รณีอาจตกลงรั บสิ่ งของหรื อทรั พย์ สินอย่ าง
อื่นแทนเงินได้
1.การรั บสิ่ งของหรื อทรั พย์ สินอย่ างอื่นแทนเงินก้ยู ืมโดย
คานวณราคาสิ่ งของหรื อทรั พย์ สินนั้นจากราคาท้ อ งตลาดใน
วันเวลาและสถานที่รับไป
2.เป็ นการตกลงไว้ ล่วงหน้ าให้ ผ้ ูก้ชู าระหนีด้ ้ วยสิ่ งของหรื อ
ทรั พย์ สินอย่ างอื่นแทนการชาระด้ วยเงิน
ฝากทรั พย์
 ความหมาย ตาม ป.พ.พ. มาตรา 657“อันว่ าฝากทรั พย์ น้ น

คือสั ญญาซึ่งบุคคลหนึ่งเรี ยกว่ าผ้ ฝู ากส่ งมอบทรั พย์ สินให้ แก่
บุคคลอีกคนหนึ่งเรี ยกว่ า ผ้ รู ั บฝาก และผ้ รู ั บฝากตกลงว่ าจะ
เก็บรั กษาทรั พย์ สินนั้นไว้ ในอารั กขาแห่ งตน แล้ วจะคืนให้ ”
สาระสาคัญของสั ญญาฝากทรั พย์
1.เป็ นสั ญญาซึ่งมีค่กู รณีเป็ นสองฝ่ าย
2.วัตถปุ ระสงค์ของสั ญญา คือผ้ รู ั บฝากตกลงจะเก็บรั กษา
ทรั พย์ สินไว้ ให้
3.สั ญญาสมบรู ณ์ เมื่อส่ งมอบทรั พย์ สินที่ฝาก
 สิ ทธิและหน้ าที่ของผ้รู ับฝาก
หน้ าที่ของผ้รู ับฝาก
1.หน้ าที่ในการสงวนหรื อรักษาทรัพย์สินที่ฝาก
1.1กรณีฝากทรัพย์ไม่ มีบาเหน็จค่ าฝาก ผ้รู ับฝากต้องปฏิบัติ
เหมือนที่เคยประพฤติในกิจการของตน
1.2กรณีฝากทรัพย์มีบาเหน็จค่ าฝาก ผ้รู ับฝากต้องใช้ ความ
ระมัดระวังในการสงวนทรัพย์สินเหมือนเช่ นวิญญูชนใช้ ฝีมือ
พิเศษเฉพาะในการรักษาทรัพย์สินนั้น
1.3กรณีฝากทรัพย์มีบาเหน็จค่ าฝากและผ้รู ับฝากเป็ น
ผ้ปู ระกอบการรับฝากทรัพย์เป็ นอาชีพโดยเฉพาะ ผ้รู ับฝากต้องใช้
ความระมัดระวังและใช้ ฝีมือเท่ าที่เป็ นธรรมดาจะต้องใช้ และ
จะต้องใช้ ในกิจการค้ าขายหรื ออาชีพนั้น
2.หน้ าที่เก็บรั กษาทรั พย์ สินที่ฝากด้ วยตนเอง
3.หน้ าที่ต้องบอกกล่าวแก่ผ้ ฝู ากโดยพลันหากทรั พย์ สินนั้นถูก
ฟ้องหรื อถูกยึด
4.หน้ าที่ต้องคืนทรั พย์ สินที่ฝากให้ ผ้ ฝู าก
4.1คืนเมื่อครบกาหนดระยะเวลา
4.2คืนเมื่อผ้ ฝู ากเรี ยกคืน
4.3เมื่อไม่ ได้ กาหนดระยะเวลาฝากกันไว้ คืนเมื่อใดก็ได้
5.หน้ าที่คืนดอกผลอันเกิดแต่ ทรั พย์ สินที่ฝาก
 สิ ทธิของผ้ รู ั บฝาก
1.ส่ งคืนทรั พย์ สินที่ฝากเมื่อไรก็ได้
2.เรี ยกค่าคืนทรั พย์ สินที่ฝากจากผ้ ฝู าก
3.เรี ยกค่าบารุงรั กษาทรั พย์ สินซึ่งผ้ รู ั บฝากจ่ ายไปในการ
บารุงรั กษาทรั พย์ สินนั้น
4.กรณีฝากมีค่าบาเหน็จ ผ้ รู ั บฝากสามารถเรี ยกค่าบาเหน็จได้
5.ยึดหน่ วงทรั พย์ สินที่ฝาก
 คืนทรั พย์ ที่ฝากแก่ใคร
1.คืนให้ แก่ผ้ ฝู าก หรื อตัวแทนของผ้ ฝู ากที่มีอานาจรั บ
ทรั พย์ สินนั้นได้ เช่ นสามี ภริ ยา หรื อบุตร
2.คืนให้ แก่บุคคลผ้ มู ีชื่อเป็ นผ้ ฝู ากในกรณีทผี่ ้ ฝู ากได้ ฝาก
ทรั พย์ สินในนามของผ้ มู ีชื่อนั้น เช่ นฝากเงินในธนาคาร
3.คืนให้ แก่บุคคลที่ผ้ ฝู ากระบุเอาไว้
4.คืนให้ แก่ทายาทของผ้ ฝู ากเมื่ อผ้ ฝู ากตาย
กรณีผิดสั ญญาฝากทรั พย์ ต่อกันให้ เรี ยกร้ องภายใน 6 เดือน
นับแต่ วันสิ้นสั ญญา
 กรณีเฉพาะการฝากเงิน
สาระสาคัญของการฝากเงิน
1.ผ้ รู ั บฝากไม่ ต้องคืนเงินตราอันเดียวกันกับทีร่ ั บฝาก แต่
ต้ องคืนให้ ครบจานวน
2.ผ้ รู ั บฝากจะเอาเงินที่ฝากนั้นออกใช้ ก็ได้ แต่ เวลาคืนต้ อง
คืนให้ ครบจานวน
3.การส่ งคืนต้ องส่ งในเวลาที่กาหนดไว้

You might also like