You are on page 1of 37

94. ทรงกลมตัวนำเล็กๆ 2 ลูกขนาดเท่ากันมีมวลลูกละ 3X10-4 40 ซ.ม.

เมื่อนำเอาจุดกึ่งกลาง
กิโลกรัม ผูกอยู่กบั ปลายแต่ละข้ างของเชือกเล็กๆเส้ นหนึง่ ยาว
ของเส้ นเชือกไปแขวนไว้ แล้ วใส่ประจุแก่ทรงกลมทังสองเท่
้ าๆกันประกฎว่าแรงผลักระหว่างทรงกลมทำให้ ทรงกลมแยกออกจากกันมีระยะทางเท่ากับ 24 ซ..ม.จงหาค่า
ประจุของทรงกลมแต่ละลูก
เฉลย
0 เป็นจุดหมุน
แนวคิด ใช้
M ตาม = M ทวน
KQ1Q 2
Mg(12) = (16)
R2
9  109 (Q ) 2
3X10 4
= (0.24) 2
 16

Q = 1.2  10 7 C

95.ลูกพิธที่เหมือนกันสองลูกมีมวล m ผูกแขวนด้วยเส้นไหมขนาดเล็กไม่มีเกลียวยาว  และบนแต่ละลูกมีประจุไฟฟ้าที่เหมือนกัน q สมมติวา่  มีขนาดเล็ก


x
มากๆ (   ) และ X คือระยะทางระหว่างลูกพิธทังสองจงหาค่
้ า X (ตอบติดตัวอักษร q,m ,  และค่าคงที่จำเป็น)
2
เฉลย
แนวคิด

A (M  0)
คิดที่โมเมนต์รอบจุด
x
mg( 2 ) = F.AB
x Kq 2
mg( 2
) = .  (  มุมเล็กๆ AB   )
x2
2
x3 = mg . Kq
2

x = 3
2kq 2 / mg

96. ลูกโป่ งบรรจุแก๊สที่เหมือนกันและเท่ากัน 2 ลูกแต่ละลูกมีประจุ Q ปลายเชือกติดลูกตุ้มน้ำหนัก m


กิโลกรัม สามารถลอยอยู่ในภาวะสมดุลได้ ดงั รูป มวลของลูกโป่ งน้ อยมากเมื่อเทียบกับตุ้มน้ำหนัก ในขณะลอยตัวอย่างสมดุล เส้ นเชือกที่ผกู ลูกโป่ ง
Q
ทังสอง
้ ทำมุมฉากกัน และลูกโป่ งทังสองห่
้ างกันเป็นระยะ d จงหาค่าของ
d
เฉลย
แนวคิด
2T cos 45  = mg
mg
T= 2
พิจารณารูปซ้ าย F = T cos 45 
mg 1 2
= 2
. 2
= kQ2
d
Q F
 
d k
แทนค่า F,
Q mg

d 2k
โดยลูกโป่ งต้ องมีแรงยก เชือกจึงจะดึงได้

97. จากรูป m= 10 4 ;  = lm. ที่มวล m ทังสองมี


้ ประจุเท่ากัน +q จงหาค่าประจุ q
ก. 2.1  10 8 c ข. 5  10 c ค. 5.3  10 c . c
 8 9
ง 5.3  10
8

เฉลย
KQ1Q 2
แนวคิด F=
r2
9  10 9 q 2
= (0.08) 2
0.04 เมตรเทียบกับ 1 เมตร น้ อยมาก   0, y  1 เมตร
ระยะ
O เป็นจุดหมุน M ตาม = M ทวน
mg(0.04) = F.y
9  10 9 q 2
10 4  10  0.04  (1)
(0.08) 2
q = 5.3  10 9 c

98. ทรงกลมตัวนำลูกหนึง่ มีมวล m แขวนด้วยเชือกภายใต้สนามไฟฟ้าสม่ำเสมอ 4  10 4


N / c ดังรูปหากทรงกลมมีประจุอยู่ 2  10 6 c ทำให้ เชือก
ทำมุม 30 องศากับแนวดิ่งมวลของทรงกลมมีคา่ เท่าใด (g = 10 m/s 2 )
เฉลย
แนวคิด คิดโมเมนต์รอบจุดA
M ทวน = M ตาม
mg(sin 30)  qE(cos 30)
1  3
m(10)   2  10  6 ( 4  10 4 )( )
2 2
m = 13.86  10 3 กิโลกรัม

99.** ข้ อสอบชิงทุนญี่ปนุ่
อนุภาค 2 อนุภาค มีมวล M แต่ละประจุอยู่ q ถูกแขวนไว้ ด้วยเส้ นไหมซึง่ ยาว  จงหา ค่ามุม 
ที่เส้ นไหมทำกับแนวดิ่ง, โดยตอบในเทอมของ M,q,  และ  (per,ittivity constant) และถือ
ว่า  เป็นมุมเล็กๆ

q, ถ้ า  = 1.2 เมตร , M = 1.0  10 2 กิโลกรัม  = 30  (กำหนดค่า sin 3  =0.0523 ,g=9.8


จงหาค่า
m/sec 2 ,  0  8.85  10 12 c 2 / . N .m 2 )
เฉลย
แนวคิด แตกแรงตึงเชือก T เข้าแนวดิ่งและแนวราบระดับ
T sin  = F … (1 )
T cos  = Mg … (2)
(1) F
tan   … (3)
( 2) Mg
จากสูตร
1 Q1 Q 2
F= .
4 0 R 2
1 q2
F = .
4 0 ( 2sin )
…(4)
แทนค่า (4 ) ใน (3)
q2
 tan  =
4 0 (42 sin 2 ).Mg
ถ้ ามุมเล็กๆ sin   tan 
q2
sin  sin 2  
4 0 .42 Mg
q2
  arcsin 3
4 0 .42 Mg

100. ลูกบอลเล็กๆ 3 ลูกต่างมีมวล 10 กรัม แขวนไว้ด้วยเส้นไหมลูกละเส้นจากจุดร่วมกันจุดหนึง่ เส้นไหมแต่ละเส้ นยาว 1.0 เมตร ลูกบอลทังสามถู
้ กประจุด้วย
ประจุไฟฟ้าเท่ากัน และชนิดเดียวกันเมื่อทัง้ 3 ลูกอยู่ในสมดุลจะแขวนอยู่ที่มมุ ของสามเหลี่ยมด้ านเท่าซึง่ มีด้านยาว 1.0 เมตรพอดี จะหาประจุไฟฟ้าบนแต่ละลูก

เฉลย
Kq1q 2
แนวคิด จาก F=
r2
Kq 2
จะได้ F 1  F2 
(0.1) 2
2
F  F1  F2 2  2F1 F2 cos 60

F2
= F2  F2
2
Kq 2
= 3 F= 3
(0.1) 2
………….(1)
0.05
หา x X
 cos 30
0.05( 2) 0.1
x = 3

3
0 .1
y 2  12  ( 3 ) 2
y 1
เอาจุด A เป็นจุดหมุน ;  F.y  mg.x
3Kq 2 0.1
2
(1)  (10  10 3 )(10)( )
(0.1) 3
 q = 6.08  10 8 คูลอมบ์

11.13 ,
สนามไฟฟ้ า เส้นแรงไฟฟ้ า
สนามไฟฟ้ า (electric field ) หมายถึง "บริเวณโดยรอบประจุไฟฟ้า ซึง่ ประจุไฟฟ้าสามารถส่งอำนาจไปถึง" หรือ "บริเวณที่เมื่อนำ
ประจุไฟฟ้าเข้ าไปวางแล้ วจะเกิดแรงกระทำบนประจุไฟฟ้านัน้ " ตามจุดต่างๆในบริเวณสนามไฟฟ้า ย่อมมีความเข้ มของสนามไฟฟ้าต่างกัน จุดที่อยู่ใกล้ ประจุไฟฟ้า จะมี
ความเข้ มของสนามไฟฟ้าสูงกว่าจุดที่อยู่ห่างไกลออกไปนอกจากนัน้ ณ จุดต่างๆ ในบริเวณสนามไฟฟ้าย่อมจะ ปรากฎศักย์ไฟฟ้ามีคา่ ต่างๆ กันด้ วย ซึง่ เป็ นศักย์ไฟฟ้า ชนิด
เดียวกันกับศักย์ไฟฟ้าอันเกิดจากประจุไฟฟ้าที่เป็ นเจ้ าของสนามไฟฟ้าจุดที่อยู่ใกล้ ประจุไฟฟ้า จะมีศกั ย์สงู กว่าจุดที่อยู่ไกลออกไป
( line of electric force)
เส้นแรงไฟฟ้ า เรากำหนดเพื่อความสะดวกในการศึกษาไม่มีปรากฎอยู่จริงๆ โดยกำหนดเป็ นหลักให้ เข้ าใจ
ตรงกันว่า เมื่อวางประจุไฟฟ้ าบวกอิสระลงในสนามไฟฟ้ า ถ้าประจุไฟฟ้ าบวกอิสระนั้น สามารถเคลื่อนที่ไปได้ แนวทางที่ประจุไฟฟ้ าบวกอิสระนี้ จะเคลื่อนที่ไป กำหนดว่า
เป็ นเส้นแรงไฟฟ้ าและทิศทางของเส้นสัมผัส ซึ่งสัมผัสเส้นแรงไฟฟ้ าที่จุดใดๆ ก็คือทิศทางของสนามไฟฟ้ า ณ จุดนั้น
ในการเขียนเส้ นแรงไฟฟ้า ให้ ถือเกณฑ์วา่ เส้ นแรงไฟฟ้าพุ่งออกจากประจุไฟฟ้าบวก เข้ าสูป่ ระจุไฟฟ้าลบให้ หวั ลูกศรออกจากประจุไฟฟ้าบวก และ
หัวลูกศรเข้ าสูป่ ระจุ ไฟฟ้าลบ
คุณสมบัตขิ องเส้ นแรงไฟฟ้า คุณสมบัติเส้ นแรงไฟฟ้าที่ควรทราบในชันนี้ ้ คือ
1. เส้ นแรงไฟฟ้าพุ่งออกจากประจุไฟฟ้าบวก และพุ่งเข้ าสูป่ ระจุไฟฟ้าลบ
2. เส้ นแรงไฟฟ้าแต่ละเส้ นจะไม่ตดั กันเลย
3. เส้ นแรงไฟฟ้าจากประจุไฟฟ้าชนิดเดียวกัน ไม่เสริมเป็ นแนวเดียวกัน แต่จะเบนแยกจากกันเป็นแต่ละแนว ส่วนเส้ นแรงไฟฟ้าจากประจุไฟฟ้าต่าง
ชนิดกัน จะเสริมเป็ นแนวเดียวกัน
4. เส้ นแรงไฟฟ้าที่พ่งุ ออกจากกันหรือพุ่งเข้ าสูผ่ วิ ของวัตถุย่อมตังได้
้ ฉากกับผิวของวัตถุนนๆ
ั ้ เสมอ
5. เส้ นแรงไฟฟ้า จะไม่พ่งุ ผ่านวัตถุตวั นำเลย เส้ นแรงไฟฟ้าจะสิ ้นสุดอยู่เพียงบริเวณผิวของวัตถุตวั นำเท่านัน้
6. สำหรับวัตถุตวั นำรูปทรงกลมกลวงที่มีประจุไฟฟ้า และไม่มีวตั ถุอื่นที่มีประจุไฟฟ้าบรรจุอยู่ภายในทรงกลมกลวงนัน้ จะไม่มีเส้ นแรงไฟฟ้า อยู่ภายในทรง
กลมกลวงนันเลย
้ เส้ นแรงไฟฟ้าจะมีปรากฎสิ ้นสุดอยู่เพียงผิวนอกของทรงกลมกลวงเท่านัน้ โดยเส้ นแรงไฟฟ้าจะมีแนวเข้ าสูจ่ ดุ ศูยน์กลางของทรงกลม
กลวง และในกรณีนี ้ภายในทรงกลมกลวงจะไม่มีสนามไฟฟ้า ไม่มีแรงกระทำไฟฟ้า กล่าวได้ วา่ ค่าความเข้ มของสนามไฟฟ้าเป็นศูนย์

"
ความแรงของสนาม หมายถึง ขนาดของแรงที่เกิดขึ ้นบนประจุ +1 coulomb ที่เอาไปวางทดสอบ "
KQ1Q 2
จาก F 
r2
ถ้ าประจุ Q1Q 2 ตัวใดตัวหนึง่ เป็น 1 Coulomb
KQ
F 
r2
………….แรงบนประจุ 1 coulomb
KQ
E  2
r
E= ความแรงสนามไฟฟ้า หน่วย N/c
Q= ประจุแหล่งกำเนิดทีทำ่ ให้ เกิดสนาม หน่วย Coulomb
R = ระยะจากแหล่งกำเนิดถึงจุดที่ต้องการทราบค่าสนาม หน่วยเป็ นเมตร
นิยามสนามไฟฟ้ า เป็ นแรงต่อประจุ 1 coul.
( F)
 สนาม E = (q )
F
E 
q
F = qE
สรุป การหาความเข้ มข้ นของสนามไฟฟ้า ณ จุดใด ๆ
(1) เขียนรูป แสดงตำแหน่งประจุเข้ าของสนาม
(2) นำประจุ +1 คูลอมบ์ ไปวางไว้ ณ จุดที่จะหาความเข้ มของสนามไฟฟ้า
(3) เขียนทิศทางของแรงที่กระทำต่อประจุ +1 คูลอมบ์ ณ จุดนันด้
้ วย
(4) หาความเข้ มของสนามไฟฟ้า จากสูตร
KQ
E
R2
ข้อสังเกต
(1) ถ้ านำประจุบวกไปวางในสนามไฟฟ้าของประจุบวกความเข้ มข้ นของสนามไฟฟ้ากับแรง บนประจุไฟฟ้าจะมีทิศเดียวกัน
(2) ถ้ านำประจุลบไปวางในสนามไฟฟ้าของประจุลบ ความเข้ มของสนามไฟฟ้ากับแรงบนประจุไฟฟ้าจะมีทิศตรงกันข้ าม
(3) ถ้ านำประจุบวกไปวางในสนามไฟฟ้าของประจุลบ ความเข้ มของสนามไฟฟ้ากับแรงบนประจุไฟฟ้าจะมีทิศเดียวกัน
(4) ถ้ านำประจุลบไปวางในสนามไฟฟ้าของประจุบวก ความเข้ มของสนามไฟฟ้ากับแรงบนประจุไฟฟ้าจะมีทิศตรงกันข้ าม

11.14 จุดสะเทินในสนามไฟฟ้ า
จุดสะเทินในสนามไฟฟ้ า หมายถึง จุดในสนามไฟฟ้ าซึ่ งมีค่าความเข้มของสนามไฟฟ้ าเป็ นศูนย์ทงนี ั ้ ้ เนื่องมาจาก ณ จุดนันอาจปรากฎมี
้ สนามไฟฟ้า
อย่างน้ อยที่สดุ สองสนาม มีความเข้ มของสนามไฟฟ้าเท่ากัน แต่ทิศทางตรงข้ าม อำนาจไฟฟ้าจึงหักล้ างกันหมด หรือหาก ณ จุดนันมี ้ สนามไฟฟ้ามากกว่า สองสนาม
แต่คา่ ความเข้ มและทิศทางของสนามไฟฟ้าเหล่านัน้ อยู่ในลักษณะที่อำนาจไฟฟ้าหัดล้ างกันหมด จุดนันเป็นจุ
้ ดสะเทินได้
ในกรณีซงึ่ มีสนามไฟฟ้าสองสนาม ซึง่ เกิดจากประจุไฟฟ้าสองประจุวางใกล้ กนั จุดสะเทิดที่เกิดขึ ้นจะอยู่ในแนวเส้ นตรงที่ลากผ่านประจุไฟฟ้าทังสอง

นันมี
้ หลักเกณฑ์ดงั นี ้
( ก) ถ้ าประจุไฟฟ้าทังสองเป็
้ นประจุไฟฟ้าชนิดเดียวกัน ตำแหน่งจุดสะเทินจะอยู่ระหว่างประจุไฟฟ้าทังสอง้ ถ้ าประจุไฟฟ้าทังสองมี
้ ปริมาณไฟฟ้าเท่า
กัน จุดสะเทินจะอยู่ที่ตรงกึ่งกลางระยะ ถ้ าประจุไฟฟ้าทังสองมี
้ ปริมาณไฟฟ้าไม่เท่ากัน จุดสะเทินจะอยู่ใกล้ กบั ประจุไฟฟ้าที่มีปริมาณไฟฟ้าน้ อยกว่า
()
ข ถ้ าประจุไฟฟ้าทังสองเป็
้ นประจุไฟฟ้าต่างชนิดกัน กรณีนี ้ถ้ าประจุไฟฟ้าทังสองมี
้ ปริมาณไฟฟ้าเท่ากันจะไม่มีจดุ สะเทินเกิดขึ ้น ถ้ าประจุไฟฟ้าทังสอง

มีปริมาณไฟฟ้าไม่เท่ากัน จะเกิดจุดสะเทินอยู่นอกระยะระหว่างประจุไฟฟฟ้าทังสองโดยอยู
้ ่ใกล้ กบั ประจุไฟฟ้าที่มีปริมาณไฟฟ้าน้ อยกว่า

KQ
หมายเหตุ 1. สูตร E
r2
เป็ นสูตรเกี่ยวกับสนามไฟฟ้า
F
2. E
q เป็นสูตรเกี่ยวกับสนามไฟฟ้าที่มีแรงมาเกี่ยวข้ อง
3. สนามไฟฟ้ าเป็ นปริ มาณเวกเตอร์ ดังนั้น เวลามีหลายสนามต้ องรวมแบบเวกเตอร์
ทดสอบความเข้าใจ
คำถาม คำตอบ
1.สนามไฟฟ้าหมายถึงอะไร 1.บริเวณหรือขอบเขตที่ประจุไฟฟ้าส่งแรงออกไปถึงได้
2.เมื่อนำประจุไฟฟ้าทดสอบ (Test charge)ไปไว้ในสนามไฟฟ้า 2.จะเกิดแรงบนประจุทดสอบนันมากน้
้ อยแค่ไหนนันขึ
้ ้นอยู่กบั ประจุต้นเหตุททำ
ี่ ให้ เกิด
จะเกิดอะไรขึ ้น สนาม
3.ถ้ าเอาประจุขนาด 1 coulomb ไปไว้ ในสนามจะเกิดอะไรขึ ้น 3.จะเกิดแรงบนประจุนนั ้ แรงที่เกิดคือ สนามไฟฟ้าที่จดุ นัน้
4.ระยะอนันต์ของสนามไฟฟ้า หมายถึงอะไร 4.หมายถึงระยะที่มีคา่ น้ อยทีส่ ดุ ที่สนามเร่งออกมาถึง
5.คือแนวที่ประจุสง่ แรงกระทำต่อกัน มีทิศพุ่งออกจากประจุบวก เข้าสูป่ ระจุลบ
5.เส้ นแรงไฟฟ้าคืออะไร มีทิศอย่างไร
6.จุดสะเทินในสนามไฟฟ้าคืออะไร 6.จุดซึง่ มีคา่ ของสนามไฟฟ้าเป็นศูนย์
7.จุดสะเทินเกิดจากอะไร 7.สนามไฟฟ้า 2 สนาม หรือมากกว่า.ส่งแรงมากระทำที่จดุ เดียวกัน และทำให้ แรงรวม
ที่จนุ นเป็นศู
ั้ นย์
8.ถ้ าประจุชนิดเดียวกัน 2 ประจุอยู่ด้วยกัน 8.ภายในแนวเส้ นตรงระหว่างประจุทงสองและอยู
ั้ ่ใกล้ ประจุที่มีค่าน้ อยกว่า
9.ประจุตา่ งชนิดกัน 2 ประจุอยู่ด้วยกันจุดสะเทินอยู่ที่ไหน 9. อยู่ภายนอกในแนวเส้ นตรงต่อระหว่าประจุทงสอง
ั ้ ออกไปทางประจุที่น้อยกว่า
10.การคำนวณตำแหน่งจุดสะเทินมีหลักอย่างไรใช้ สตู รอะไร 10.
E1  E 2  0
E1  E 2
KQ1 Kq 2
2

r1 r2 2
r1 , r2 = ระยะจากประจุถึงจุดสะเทิน

11.เส้ นแรงไฟฟ้าระหว่างประจุบวกและลบ 11.พุ่งออกจากประจุบวกและพุ่งเข้ าประจุลบ


2 จุด

12.เส้ นแรงไฟฟ้าระหว่างประจุบวก 2 จุดเป็ นอย่างไร 12.

13.เส้ นแรงไฟฟ้าระหว่างจุดบวก กับแผ่นลบเป็ นอย่างไร 13.


14.เส้ นแรงไฟฟ้าระหว่างทรงกระบอกซึง่ บวกกับลบซ้ อนกันเป็นมีประจุ 14.
อย่างไร

ทดสอบความเข้าใจ
คำถาม คำตอบ
1.การหาแรงดูดและแรงผลักระหว่างประจุไฟฟ้าต้ องใช้ สตู รของใคร 1. F 
KQ1Q 2
สูตรเป็ นอย่างไร r2
K เป็ นค่าของอะไร K= ค่าคงที่ของตัวกลางที่ประจุอยู่
= 9  10 9 N  m 2 / c 2
2.การหาความเข้ มข้ นของสนามไฟฟ้าต้ องใช้ สตู รใด 2. E 
KQ
r2
F  QE
3.แรง F และสนามไฟฟ้า E มีความสัมพันธ์กนั
อย่างไร 3. F E
Q
4.ความเข้ มข้ นของสนามไฟฟ้าที่จดุ ใดจุดหนึง่ หมายความว่าอย่างไร 4. หมายถึงแรงที่เกิดขึ ้นบนประจุ +1 coulomb
ที่วางที่จดุ านัน้ ถ้ ามีประจุ +Q อยู่ที่จดุ นันย่
้ อมเกิดแรง F= QE
5.เส้ นแรงไฟฟ้าของประจุบวกเป็ นอย่างไร 5. พุ่งออกจากประจุลบ
6.เส้ นแรงไฟฟ้าของประจุลบเป็ นอย่างไร 6.พุ่งเข้ าหาประจุ
7.อิเล็กตรอน 1 ตัวมีประจุเท่าใด 7. 1.6x10-19 คูลอมบ์
8. อิเล็กตรอน 1 ตัวมีมวลเท่าใด 8. 9  10 31 กิโลกรัม
9.ถ้ าประจุบวกลอยนิ่งได้ สนามไฟฟ้าจะไปทาง 9.

10.บริเวณที่ความเข้ มของสนามไฟฟ้ามาก จำนวนเส้ นแรงบริเวณนัน้ จะ 10.


เป็ นอย่างไร (มากหรือน้ อย) ตามรูป วง ก และ ข ขนาดเท่ากัน
เส้ นแรงมากแสดงว่าความเข้ มมาก
 ที่ ก มีความเข้ มมากกว่า ข

หมายเหตุ เส้ นแรงไฟฟ้า จะแสดงทิศของสนามไฟฟ้า


สนามไฟฟ้าจะมีทิศพุ่งออกจากประจุบวก และมีทิศพุ่งเข้ าสูป่ ระจุลบ

101. สนามไฟฟ้าที่จดุ ใดๆ คือ


1. ศักย์ไฟฟ้าต่อหนึง่ หน่วยระยะทางของจุดนัน้
2. แรงต่อหนึง่ หน่วยประจุบวกที่วางไว้ ณ จุดนัน้
3. แรงต่อหนึง่ หน่วยประจุบวกที่วางไว้ ณ จุดนัน้
4. จำนวนเส้ นที่แสดงทิศของแรงลัพธ์ที่กระทำต่อประจุทดสอบ
เฉลยข้อ ข
แนวคิด สนามไฟฟ้า เป็ นแรงที่กระทำต่อประจุ +1 คูลอมบ์ ทีนำ่ มาวาง ณ จุดนัน้

102.ทรงกลมมีประจุลบ สามารถลอยนิ่งในบริเวณทีส่ นามไฟฟ้ามีทิศ


. . .
ก พุ่งขึ ้นในแนวดิ่ง ข พุ่งลงในแนวดิ่ง ค ตังฉากกั
้ บทรงกลม .
ง ผิดทุกข้ อ
เฉลยข้อ ข
แนวคิด

103.ถ้ามีหยดน้ำมันเคลื่อนที่ตงฉากกั
ั้ บสนามแม่เหล็กทิศของแรงกระทำต่อหยดน้ำมันขึ ้นอยู่กบั
.
ก จำนวนประจุที่อยู่บนหยดน้ำมัน .
ข ชนิดของประจุที่อยู่บนหยดน้ำมัน
. .
ค ขนาดของความเหนี่ยวนำแม่เหล็ก ง ไม่มีข้อใดถูก
เฉลย ข
แนวคิด แรงที่กระทำจะผิดกัน อย่างเห็นได้ ชดั คือ เบนในทิศทางตรงข้ ามกันเลย ถ้ าชนิด
ของประจุตา่ งกัน

104.ถ้าอิเล็กตรอนอยู่ในสนามไฟฟ้าดังรูป จะมีการเปลี่ยนแปลงอย่างไรกับอิเล็กตรอนถ้ าอิเล็กตรอนมีประจุไฟฟ้า = q คูลอมบ์


สนามไฟฟ้ามีคา่ =E
1. มีแรงมากระทำเท่ากับqE ในทิศเดียวกับสนามไฟฟ้า
2. มีแรงกระทำเท่ากับ qE ในทิศทางตรงข้ ามกับสนามไฟฟ้า
E
3. มีแรงกระทำ q ในทิศตังฉากกั
้ บสนามไฟฟ้า
E
4. มีแรงมากระทำ q ในทิศเดียวกับสนามไฟฟ้า
เฉลย
แนวคิด สนามไฟฟ้า เป็ นแรงทีกระทำต่อประจุ +1 คูลอมบ์ ดังนัน้ ถ้ าประจุไฟฟ้าลบ ทิศของแรงที่
เกิดขึ ้นย่อมตรงข้ ามกับสนามไฟฟ้าเสมอ

105.จงเขียนกราฟแสดงสนามไฟฟ้าระหว่างแผ่นขนานที่มีความต่างศักย์ไฟฟ้า ระยะทางคิดจาก ศักย์สงู ไปศักย์ต่ำ


เฉลย


.
ได้ E คงที่ ระหว่างแผ่นขนาน

106.จงเขียนกราฟแสดงค่าสนามไฟฟ้าที่ระยะต่างๆ จากโลหะทรงกลม ซึง่ มีประจุ +Q เทียบกับระยะห่าง r


เฉลย
แนวคิด

107.ข้อความใดที่ไม่ถูกต้อง
1. ไม่เกิดแรงกระทำต่ออนุภาคประจุไฟฟ้า เมื่ออนุภาคนันวางนิ
้ ่งอยู่ในสนามแม่เหล็ก
2. อิเล็กตรอนหรือโปรตอน จะเคลื่อนที่เป็ นวงกลมาในสนามแม่เหล็กสม่ำเสมอ ต่อเมื่อทิศทางของความเร็วตังฉากกั
้ บทิศสนามแม่เหล็กเท่านัน้
3. /
สนามแม่เหล็กมีหน่วยเป็ น เวเบอร์ ตารางเมตร หรือเทสลา
4. เส้ นลวดทองแดงวางในสนามแม่เหล็ก จะเกิดแรงกระทำบนเส้ นลวดในทิศตังฉากกั
้ บทิศของสนามแม่เหล็ก
5. แม่เหล็กจะต้ องมีสองขัว้ คือขัวเหนื
้ อและขัวใต้
้ เสมอ
เฉลย ข
แนวคิด ถ้ าไม่ตงฉาก
ั้ ประจุเคลื่อนที่เป็ นวงกลมได้ แต่เป็ นวงกลมแบบเกลียว ( Helix )

108.แท่งแก้ วถูด้วยแพร เกิดประจุไฟฟ้าได้ เพราะ


.
ก การถูทำให้ มีประจุชนิดหนึง่ เกิดขึ ้นมา ข. ประจุถ่ายเทจากวัตถุหนึง่ ไปยังอีกวัตถุหนึง่
ค. ประจุเกิดจากแรงเสียดทาน ง. ประจุเกิดจากแรงดึงดูดระหว่างมวล
เฉลย ข
109. เมื่อนำแท่งแก้ วถูกบั ผ้ าไหม จะพบว่าวัตถุทงสองกลายเป็
ั้ นวัตถุที่มีประจุ การทีว่ ตั ถุทงสองมี
ั้ ประจุได้ เนื่องจาก
. .
ก ประจุถกู สร้ างขึ ้น ข การแยกของประจุ . .
ค การเสียดสี ง แรงที่ถกู
เฉลย ข
+ -
แนวคิด วัตถุที่เป็ นกลาง เพราะมีประจุ กับ เท่ากัน เมื่อเอาผ้ าไหมถูด้วยแท่งแก้ ว จะเกิด
แรงแยกของประจุ ทำให้ วตั ถุทงสองมี
ั้ ประจุไฟฟ้า

110.ขนาดของสนามไฟฟ้าในบริเวณระหว่างแผ่นโลหะที่มีประจุตา่ งชนิดกัน จะมีคา่ เป็นอย่างไร


.
ก ศูนย์ .
ข สม่ำเสมอตลอดบริเวณ
ค. มากเมื่อเข้ าใกล้ แผ่นประจุบวก .
ค มากเมื่อเข้ าใกล้ แผ่นประจุลบ
เฉลย ข
แนวคิด ถ้ าโลหะสองแผ่นขนาดเท่ากัน ประจุเท่ากันย่อมทำให้ เกิดสนามไฟฟ้าคงที่
ตลอดบริเวณ

111.ข้อความต่อไปนี ้กล่าวได้ถกู ต้อง


1. สนามเอกรูปมีคา่ ความเข้ มของสนามไฟฟ้าคงที่เสมอ
2. ประจุที่เคลื่อนที่ในสนามเอกรูปจะมีความเร็วคงที่เสมอ
3. ความเข้ มของสนามไฟฟ้าภายในทรงกลมตัวนำเป็นศูนย์เสมอ
4. ความเข้ มของสนามไฟฟ้าเป็นปริมาณสเกลาร์
คำตอบที่ถกู ต้ อง คือ
ก . 1,2,3, และ 4 ข . 1,2,3 ค . 1,3 . 1,2,4

เฉลย ค .
112.ทรงกลมที่มีประจุ 2 ทรงกลม ต่างมีประจุบวกที่มีขนาดเท่ากัน วางห่างกันระยะทางขนาดหนึง่ เส้นแรงไฟฟ้าที่เกิดขึ ้นในข้อใดถูกต้อง
เฉลย ค
แนวคิด เส้ นแรงไฟฟ้า พุ่งออกจาก ประจุบวกเสมอ

ข้อมูลต่อไปนี้ ใช้ตอบข้อ 113-114


หยดน้ำมันเล็กๆ หยดหนึง่ มีมวล 16 มิลลิกรัม ลอยนิ่งอยู่ในสนามไฟฟ้าซึง่ มีความเข้ ม
7
10 N / c ถ้ าประจุไฟฟ้าของหยดน้ำมันนี ้เกิดจากอิเล็กตรอนมีมากเกินจำนวนโปรตรอน
113.หยดน้ำมันอิเล็กตรอนอิสระกี่อนุภาค
ก . 10 22 ข . 10 21 ค . 10 20 .
ง 10
19

เฉลย ก
แนวคิด


qE=mg
16
n(1.6x10-19)107 = 10 6
 10

n =1022 อนุภาค

114.จงหาประจุไฟฟ้าของหยดน้ำมัน (คูลอมบ์)
ก.1500 ข .1000 ค.1200 .1600

เฉลย ง
แนวคิด q = ne
= 10 (1.6  10 22 19
)
= 1600 คุลอมบ์
115.รูปแสดงสนามไฟฟ้าของทรงกลมตัวนำเทียบกับระยะทางต่อไปนี ้ ข้อใดทีท่ ่านเห็นว่าถูกต้อง

เฉลย ข
แนวคิด เป็ นกราฟ Hyperbola , สนามไฟฟ้าภายในทรงกลมเท่ากับศูนย์

116. ABCD +10,-20,+30,40 คูลอมบ์วางอยู่ที่ A,B,C และ D ตามลำดับถ้ าจุด 0


เป็ นสี่เหลี่ยมจัตรุ ัสมีประจุ เป็นจุดที่เสันทะแยงมุมตัดกัน
จงหาทิศของความเข้ มไฟฟ้าที่จดุ 0 (จุดตัดกันของเส้ นทะแยงมุม)ว่ามีทิศอยู่ระหว่างมุมใด
ก. บอกไม่ได้ ข.มุม AOB ค. มุม BOC ง.มุม COD
จ มุม. AOD
เฉลยข้อ จ
แนวคิด

117. ลูกพิธมวล m กิโลกรัมมีประจุไฟฟ้า +Q E นิวตันต่อคูลอมล์ซงึ่ ตังฉากกั


คูลอมบ์ เคลื่อนที่ในสนามไฟฟ้าสม่ำเสมอ ้ บผิงโลก ปรากฎว่าลูกพิธลอยขึ ้น
โดยขนานกับสนามไฟฟ้าจากจุด A ไปจุด B ด้ ายความเร่ง a เมตรต่อวินาทีกำลังสอง ถ้ าจุด B อยู่สงู กว่าจุด A เป็ นระยะ d เมตร และความเร่งโน้ มถ่วงของ
โลกคือ g ความต่างศักย์ระหว่างจุด B กับจุด A มีคา่ เท่าใดและสนามไฟฟ้า E นี ้มีทิศพุ่งเข้ าหรือพุ่งออกจากผิวโลก
เฉลย
แนวคิด
 E  ma
qE  ma
v
q  mg  ma
d
md
v (g  a )
q

118.สนามไฟฟ้ามีทิศพุ่งออกจากผิวโลกทรงกลมตัวนำลูกหนึง่ มีมวล ท แขวนด้วยเชือกภายใต้สนามไฟ


/ 6
ฟ้าสม่ำเสมอ 5  10 นิวตัน คุลอมบ์ หากทรงกลมมีประจุอยู่ 4  10 คูลอม ทำให้ เชือก
4

แขวนทำมุม 45 ( .)
กับแนวดิ่ง มวลของทรงกลมจะมีค่าเท่าใด ก ก
ก. 0.03 ข. 0.05
ค. 0.02 ง. 0.04

เฉลย ค
แนวคิด สมดุล  = 
F = T sin 45  … ( 1)

 = 
mg = T cos 45  … (2)
(1) F
;  tan 45
( 2) mg
qE
mg
 tan 45 
4  10 6 (5  10 4 )
1
m(10)
m = 0.02 กิโลกรัม

119.(จากโจทย์ข้อ 118 ในขณะนันแรงตึ


้ งเชือกมีคา่ กี่นิวตัน )
ก. 0.3 ข . 0.5 .
ค 0.2 .
ง 0.4
เฉลยข้อ ก
แนวคิด แทนค่า m. ในสมการที่ (2)
1
0.2  10  T ( )
2
 T = 0.2 2 นิวตัน
= 0.28 นิวตัน

120. ในสนามไฟฟ้า E อนุภาคประจุ q มวล m จะมีความเร่งขนาดเท่าใด


ก. mgE ข . qE/m ค. ME/q ง . mq 2 E
เฉลย
แนวคิด F = mg
qE = ma
qE
a = m

121. 4
อิเล็กตรอนเริ่มจากหยุดนิ่ง ในสนามไฟฟ้าคงที่ความเข้ ม 10 N / c จะใช้ เวลาเท่าใดที่
อิเล็กตรอนจะมีความเร็วเท่ากับ 2% ของความเร็วแสง กำหนดให้ ประจุอิเล็กตรอน
19 31
1.6  10 c มวลของอิเล็กตรอน 9  10 kg
ก . 1.25 ns ข . 2.25 ns ค . 3 ns ง. 4 ns
เฉลย ค
แนวคิด F = ma
qE = ma
1.6x10 (10 ) = 9  10 31
19 4

a = 0.18  1016 m / s 2
v = u+at
2
100
(3  10 ) 8
= 0+0.18x10 16 t
t = 3.3x10 9 วินาที
122. หยดน้ำมันหยดหนึง่ มีมวล m และประจุลบ ลอย นิ่งอยู่ระหว่างแผ่นโลหะ 2 แผ่น ซึง่ วางขนานห่างกันเป็นระยะ d และมีความต่างศักย์
v จำนวนอิเล็กตรอนอิสระบนหยดน้ำมันหยดนี ้เป็ นเท่าใด (ไม่คิดแรงพยุงของอากาศ)
mgd mgV mged eVmg
ก . eV
ข . ed
.

V
ง . d
เฉลย ก
แนวคิด
ลอยนิ่งได้ สมดุล
แรงขึ ้น = แรงลง
qe = mg
V
ne  mg
d
mgd
n = eV

123. จงหาขนาดสนามไฟฟ้า ที่ทำให้ อิเล็กตรอน มีแรงทางไฟฟ้าเท่ากับน้ำหนักของมันเอง กำหนดให้ มวลของอิเล็กตรอนเท่ากับ 9  10


31
กิโลกรัม
ประจุของอิเล็กตรอนเท่ากับ 1.6  10 9 คูลอมบ์
เฉลย
แนวคิด แรงไฟฟ้า = น้ำหนัก
qE = mg
1.6x10 19
E = 9.1x10 31 10
9.1  10 31  10
E = นิวตัน/คูลอมบ์
1.6  10 19
= 5.69x10 11 /
นิวตัน คูลอมบ์

124. +Q คูลอมบ์และ +4Q คูลอมบ์ มาวางห่างกันเป็นระยะ 1 เมตร จงหาว่าจุดสะเทินอยู่ห่างจากจุดทีว่ าง +Q


นำประจุ คูลอมบ์ เท่าไร
ก. ห่างจาก +Q คูลอมบ์ ด้ านนอก 1/3 เมตร ข. ห่างจาก +Q คูลอมบ์ด้านใน 1/3 เมตร
ค. ห่างจาก +Q คูลอมบ์ ด้ านนอก 1/4 เมตร ง. ห่างจาก +Q คูลอมบ์ด้านใน 1/4 เมตร
เฉลย ข
แนวคิด

E 1 = E2
KQ K ( 4Q )
x2
= (1  x ) 2
1 2
x
= (1  X)
1-x = 2x
1 = 3x
x = 1/3 เมตร

125.ชายคนหนึง่ มวล 80 กิโลกรัม ยืนในห้องที่มีสนามไฟฟ้าสม่ำเสมอ 3000 นิวตัน/คูลอมบ์ มีทิศทาง


พุ่งขึ ้นสูเ่ พดานในแนวดิ่ง ถ้ าชายคนนี ้ต้ องการลอยขึ ้นสูเ่ พดานด้ วยความเร่ง 5 /
เมตร วินาที 2
เขาจะต้ องสร้ างประจุไฟฟ้าขนาดเท่าใดให้ กบั ตนเอง ตอบในหน่วยคูลอมบ์
ก . 0.1 ข. 0.2 ค . 0.3 . 0.4

เฉลย ง
แนวคิด
 F  ma
qE = ma
q(3000) - 80 = 80 x 5
1200
q = 3000
= 0.4 คูลอมบ์

126. ประจุ 1.0 x10 6 คูลอมบ์ห่างประจุ 2.0 x 10 6 คูลอมบ์ 10 เซนติเมตร ที่จดุ ไหน สนามไฟฟ้าเป็นศูนย์
เฉลย
แนวคิด สมมติจดุ p อยู่าในเส้ นตรงที่โยงระหว่างประจุทงสอง
ั้ มีสนามไฟฟ้าเป็นศูนย์าให้ จุด
p อยู่ห่างจากประจุแรก = x เมตร
 จุด p อยู่ห่างจากประจุหลัง = (10  x )
1
เมตร

ที่จดุ p , E = 0
 
E2  E2  0
 
E1  E 2
 ขนาดของ E1 = E2
KQ1 KQ 2
2

r1 r2 2
1  10 6 2  10 6

x2 (10 1  x ) 2
2 x 2  (10 1  x ) 2
ถอด root ทังสองข้
้ าง
2x = (10 1  x )
1
1.414x = 10
1
x = 10  1.414 เมตร

= 0.041 เมตร

ข้ อสังเกตเกี่ยวกับสนามไฟฟ้าเนื่องจากประจุ 2 อัน
1. จุดที่ E= 0 อยู่ใกล้ ที่มีประจุน้อยกว่า
2. จุดที่ E= 0 จะอยู่ในแนวเส้ นตรงระหว่างประจุเท่านัน้
ถ้ าประจุชนิดเดียวกัน จุด E=0 อยู่ระหว่างประจุทงสอง
ั้ แต่ยงั อยู่บนเส้ นตรงที่ตอ่
ระหว่างประจุและอยู่ใกล้ ประจุที่มีค่าน้ อยกว่า
3. เวลาหาสนามไฟฟ้าต้ องเขียน +1 coul. ที่จดุ ที่หาค่าสนามเสมอ เพราะสนามเป็ นแรงที่เกิด
บน 1 หน่วยประจุ
127.จากรูป จงเขียนแสดงทิศทางของสนามไฟฟ้าของประจุ Q 1 และแรงที่เกิดบนประจุ -Q 2 ที่จดุ A
เฉลย
แนวคิด

จะเห็นว่า ทิศของสนามและทิศของแรง ไม่จำเป็ นต้ องไปทางเดียวกัน แล้ วแต่เงื่อนไขที่กำหนดให้ นกั เรียนลองเปลี่ยนประจุ Q1 ให้ เป็ นประจุ
Q1 แล้ วเขียนรูปดู

128. จุดประจุ 2 ประจุ อยู่ห่างกัน 0.5 +4x10 8 คูลอมบ์ หากสนามไฟฟ้า


เมตร จุดประจุ หนึง่ มีคา่
เป็นศูนย์อยู่ระหว่างประจุทงสองและห่
ั้ างจากจุดประจุ +4x10 8 คูลอมบ์ เท่ากับ 0.2 เมตรค่า
ของอีกจุดประจุหนึง่ มีกี่คลู อมบ์
ก . 0.9  10 8 ข . 3  10 8 ค. 9  10 8 ง . 30  10 8
เฉลย
แนวคิด

 E· ที่จดุ A เป็นศูนย์
E1  E 2
K ( 4  108 ) KQ

2
0.2 0.32
Q = 9  10 8 คูลอมบ์

129.
6
จากรูปจุดประจุ  6  10 คูลอมบ์และ 10x10 6 คูลอมบ์ วางอยู่ห่างกัน 4 เซนติเมตรที่ตำแหน่ง A และ B ตามลำดับ สนามไฟฟ้าที่จดุ
C จะมีขนาด
1. 5  10 7 N / C
2. 7  10 7 N / C
3. 9  10 7 N / C
4. 10  10 7 N / c
เฉลย ก
KQ
แนวคิด EA 
r2
9  10 9 (10  10 6 )
= (5  10 2 ) 2  3.6  10 7 N / C
9  10 9 (6  10 6 )
EB =
(3  10 ) 2 2
 6  10 7 N / C

 แกน Y,  E Y  E B sin   6  10 7 ( 45 )  4.8  10 7 N / C


 แกน X ,  E X  6  10 7 ( 53 )  3.6  10 7 = ศูนย์
E รวม = 4.8  10 7 N / C
130.

ABCD a เมตร ที่มมุ A,B และ C มีประจุ +Q, +2Q ,-4 2 Q


เป็ นสี่เหลี่ยมจัตรุ ัสยาวด้ านละ
คูลอมบ์ตามลำดับที่จดุ E ซึง่ อยู่ห่างจากมุม D เป็ นระยะ a ต้ องมีประจุกี่คลู อมบ์จงึ จะทำให้ แรงไฟฟ้าลัพธ์กระทำต่อประจุ +Q เป็ นศูนย์
เฉลย
KQ1Q 2
แนวคิด หา C F =
R2
K (Q)(4 2Q)
= (a 2 ) 2
K ( 2 2 )Q 2
F C ในแนว AD = cos 45 
a2
ถ้ าที่ E มี X คูลอมบ์ ทำให้  F ที่ A เป็ นศูนย์
KQX
F C ในแนว AD = ( 2a ) 2
K ( 2 2 )Q 2 KQX
2
cos 45  
a 4a 2
X = 8Q คูลอมบ์


131.จากรูป แรง F มีขนาดเท่ากับ 20  10 3 นิวตันกระทำต่อประจุ B ออกไป สนามไฟฟ้าที่จดุ นี ้มีคา่ เท่าใด


ก. มีขนาด 5  10 นิวตันต่อคูลอมบ์ และมีทิศทางเช่นเดียวกับแรง F
6


ข. มีขนาด 5  10 นิวตันต่อคูลอมบ์และมีทิศทางตรงข้ ามกับแรง F
6


ค. มีขนาด 80
นิวตันต่อคูลอมบ์ และมีทิศเช่นเคียวกับแรง F
ง. มีขนาด 0 นิวตันต่อคูลอมบ์ และมีทิศทางอย่างไรก็ได้
เฉลย ง
แนวคิด F = qE
20  10 3  4  10 3 E
E  5  10 6 N / C

ทิศของ E จะตรงข้ ามกับ แรง F ที่เป็ นประจุลบเสมอ เพราะทิศของ E เป็นแรงที่กระทำกับประจุ +1 คูลอมบ์
132. ทรงกลม A มีมวล 0.1732 0 ในสนามไฟฟ้าสม่ำเสมอขนาด
กรัม ผูกด้ วยเส้ นไหมตรึงไว้ ที่จดุ 2.0  10 5 นิวตันต่อคูลอมบ์ ทิศของสนามอยู่
ในแนวราบ ปรากฏว่าเส้ นไหมทำมุม 30 กับแนวดิ่ง ดังรูป จงหาขนาดและชนิดของประจุบนทรงกลม A

เฉลย
แนวคิด
O เป็ นจุดหมุน
M ตาม = M ทวน mg(
 
sin 30 )  qE  cos 30

(0.1732  10 3 )  10 12  q(2  10 5 ) 23
= 5  10 9 คูลอมบ์

133.ทรงกลมตัวนำลูกหนึง่ มีมวล m แขวนด้ วยเชือกภายใต้ สนามไฟฟ้าสม่ำเสมอ 4  10 N / C


4

6
ดังรูป หากทรงกลมมีประจุอยู่ 2  10 ทำให้ เชือกแขวนทำมุม 30 องศา กับแนวดิ่งมวลของ
ทรงกลมมีคา่ เท่าใด (g = 10 m/s 2 )
เฉลย
แนวคิด

M ตาม = M ทวน
mg( sin 30 )  qE(cos 30  )

m (10)   12  2  10 (4  10 )( 6 4

2
3
)

m = 13.86  10 3 กิโลกรัม

134. ABC เป็นสามเหลี่ยมด้ านเท่า มีด้านยาวด้ านละ a หน่วย ถ้ าประจุ +q คูลอมบ์ไปวางไว้ ที่ A และที่ B มีประจุ -q คูลอมบ์ จงหาสนาม
C
ไฟฟ้าที่เกิดขึ ้นที่จดุ
เฉลย
แนวคิด
เมื่อแตก E A , E B เข้ าแนวดิ่ง และราบ  E แนวดิ่งเป็ นศูนย์
 E ทังหมด
้ = E A cos 60   E B cos 60 
Kq 1 Kq 1
= a 2 ( 2)  a 2 ( 2)
Kq
= a2
135. ประจุไฟฟ้า +q และ - q วางไว้ หา่ งกันเป็นระยะทาง 2a จุด p เป็ นจุดอยู่ในแนวตังฉากกั
้ บเส้ นตรงที่เชื่อมประจุ + q และ - q และอยู่ห่างจากจุด
กึ่งกลางระหว่าง +q เป็ นระยะทาง r ถ้ า >>a ค่าสนามไฟฟ้าที่จดุ p มีคา่ เป็ นเท่าใด
เฉลย
แนวคิด
E ลัพธ์ = E A cos   E cos 
= 2E cos 
Kq a
= 2 (a 2  r 2 ) . a  r2
2
2Kqa
= 3
(a 2  r 2 ) 2

ถ้ า r >> a
2Kqa
E ลัพธ์ = (r 2 ) 3 / 2
2Kqa
= r3

136. จากรูปถ้ า ABP เป็นสามเหลี่ยมด้ านเท่ามีแต่ละด้ านยาว 0.1 เมตร ถ้ านำจุดประจุ 1.0 ไมโครคูลอมบ์วางไว้ ที่จดุ A และนำจุดประจุ -1.0
ไมโครคูลอมบ์ไว้ ที่จดุ B, สนามไฟฟ้าที่จดุ p เนื่องจากจุดประจุทงสองมี
ั้ ค่าเท่าใด
เฉลย
แนวคิด
KQ
E
r2
9  10 9 (10 6 )
 2
 9  10 5 N / m
(0.1)
E 2 ลัพธ์ = E 2  E 2  2EE cos120
1
= (9  10 ) + (9  10 5 2 5
) 2 +2 (9  10 5 ) 2 -
2
= (9  10 ) 5 2

E ลัพธ์ = 9  10 5 N/m

137.ถ้ าแขวนลูกพิธขนาดเล็กมวล m และประจุ+q ด้ วยเชือกฉนวนระหว่างแผ่นขนานที่มีคา่ สนามไฟฟ้าสม่ำเสมอและความต่างศักย์ V และระยะห่างระหว่าง


แผ่นขนานเป็น d ความเร่งเนื่องจากแรงโน้ มถ่วงของโลก g ดังรูป จงหาว่ามุม  มีคา่ เท่าใด
1
1  qV   mgd   mgd   mgd 
ก. tan   ข . tan 1   ค. tan   .
ง tan  
 mgd   qV   qV   qV 
เฉลย ก
แนวคิด
แนวราบ qE
tan  =
แนวดิ่ง
= mg
qV / d
= mg
qV
= mgd

138.ลูกพิธ 2 ลูก มีมวลเท่ากับ 2 g มีประจุ -q และ + q = (  1  10


6
) และ (1  10 ) C อยู่ในสนามไฟฟ้าสม่ำเสมอ ดังรูปมุม
6

 = 60  ,R= 3cm. จงหาค่าสนามไฟฟ้า


เฉลย
แนวคิด
คิดโมเมนต์รอบจุด 0
M ทวน =M ตาม
KQ 2 Q 2
(qE  2
)cos 30   mg(sin )
r
 6 9  10 (10 6 )(10 6 )  3
9
2 1
1  10 E  2 2    10( )
 (3  10 )  2 1000 2
0.02
10 6 E  10  ; E  1.001 10 7 V / m
3
139. 0.2 กรัม ประจุ
ลูกพิธมวล  4.8  10 6 คูลอมบ์แขวนอยู่ในสนามไฟฟ้าสม่ำเสมอขนาด 400 /
นิวตัน คุลอมบ์ ทันทีที่ตดั เชือก B
ขาด แรงตึงของเชือก A มีคา่ เท่าใด
เฉลย
แนวคิด
mv 2
T  (qE  mg) cos 60  
R
= 0
 T  (qE  mg) cos 60 
 0.2 1
= 
6
( 4.8  10 )400 
1000
 10 
2
= 1.96  10 3 นิวตัน

- .
สังเกตข้ อนี ้เป็ นโจทย์แรงสูศ่ นู ย์กลาง ถ้ าแตกเวกเตอร์ ราบ ดิ่ง จะผิดทันที

140.กำหนดให้มีประจุไฟฟ้าลบกระจายอยู่บนผิวทรงกลมกลวงดังรูปจงพิจารณากราฟของความเข้มข้นสนามไฟฟ้าว่าข้อใดถูก

.
ก ข้ อ 1 ถูก ค. ข้ อ 3 ถูก
ข. ข้ อ 2 ถูก ง. ข้ อ 4 ถูก

เฉลย
แนวคิด
สนามไฟฟ้า ไม่คิดเครื่องหมายจึงไม่มีทางเป็ นลบสังเกต ภาพที่ 3 มีทงเหนื
ั ้ อแกนแลใต้ แกนจะเป็ นจริงในเรื่อง
,
ศักย์ไฟฟ้า เพราะศักย์ไฟฟ้าคิดเครื่องหมายบวก ลบ ด้ วย

141.
ประจุ +q และ +q ( O,O)และ(a,O)ตามลำดับจงหาจุดโคออร์ติเนตบนแกน X ทีค่ า่ สนามไฟฟ้ามีคา่ เป็นศูนย์
วางอยู่ที่ตำแหน่ง
ก. (0.586 a,O) ข. (0.653 a, O)
ค. (0.789 a,O) ง ( 0.868 a ,O)
เฉลยข้อ ก
แนวคิด

สมมติ O เป็ น จุดสะเทิน


E1 = E2
KQ1 KQ 2
=
R 21 R 22
2q q
X2
= (a  x ) 2
2 1
x
= ax
2a - 2x = x
(1  2 )x  2a

2a
x  a
1 2
 x  0.586a

142.ABCD เป็ นสี่เหลี่ยมจัตรุ ัส มีด้านยาวด้านละ 10 เซนติเมตร มีประจุ 1,-2,3 และ-4 วาง ที่จดุ A,B,C,D ตามลำดับ จงหาความเข้ ม
ข้ นของสนามไฟฟ้าตรงจุดตัดของเส้ นทะแยงมุม

เฉลย
แนวคิด
KQ
จาก E= r2
9  10 9 (1  10 6 ) 9
E A  (5 2  10 2 ) 2  50  10 7 นิวตัน / คูลอมบ์
9  10 9 (3  10 6 ) 27
EC  (5 2  10 ) 2 2

50
 10 7 นิวตัน / คูลอมบ์

18
 ความเข้ มลัพธ์ตามแนว AC = 50  10 7 /
นิวตัน คูลอมบ์ มีทิศไปทาง A
9  10 9 ( 2  10 6 ) 18
EB (5 2  10 2
) 2

50
 10 7 นิวตัน / คูลอมบ์

9  10 ( 4  10 6 ) 36
9

ED = (5 2  10 2 ) 2

50
 10 7 /
นิวตัน คูลอมบ์

18
 ความเข้ มลัพธ์ตามแนว BD = 50  10 7 นิวตัน/คุลอมบ์ มีทิศไปทาง D
18 18
 ความเข้ มที่จดุ ตัดเป็ น = (  10 7 ) 2  (  10 7 ) 2
50 50
18
= 2  50  107 นิวตัน/คูลอมบ์
= 5.09  10 6 /
นิวตัน คูลอมบ์

143. 2 ใบ A และ B ต่างผูกไว้ด้วยเส้ นไหมยาวด้ านละ 10 เซนติเมตร บนจุดร่วม C


ทรงกลมโลหะ ถ้ าทรงกลมทังสองถู
้ กประจุด้วยอิเล็กตรอนใบละ
10
25x10 อนุภาค และแยกห่างออกจากกัน 10 เซนติเมตร จงหาความเข้ มสนามไฟฟ้าที่จดุ C

เฉลย
EQ
แนวคิด จาก E= r2
9  10 9 ( 25  1010  1.6  10 19
EA = EB = (10  10 2 ) 2
= 3.6x104 /
นิวตัน คุลอมบ์
 E ตามแนวราบหักล้ างกันหมด
 C = 2E cos 30o
ความเข้ มที่จดุ

= 2(3.6x104)( 23 ) นิวตัน/คูลอมบ์
= 6.235 นิวตัน/คุลอมบ์
144. หยดน้ำมันหยดหนึง่ ทีตำ่ แหน่ง A มีประจุ -1 c ลอยอยู่ที่ระยะ 1 เมตร หน้ าแผ่นตัวนำเรียบ การเหนี่ยวนำบนแผ่นตัวนำจะเสมือนมีประจุ +1
่ แหน่งภาพทางแสงของ A (คิดแผ่นตัวนำเป็นกระจกเงา )สนามไฟฟ้าที่จดุ B ชิดแผ่นตัวนำและห่างจาก A 2 เมตร จะมีคา่ เท่าใด
C ทีตำ

เฉลย
KQ
แนวคิด จาก E = r2
9  10 9 (1  10 6 )
 E1 = E2 =
( 2) 2
= 2.25x103 นิวตัน/คูลอมบ์

E = E12  E 2 2  2E1E 2 cos120


= 2.25 x103 นิวตัน/คูลอมบ์

แรงที่เกิดขึ ้นกับประจุในสนามไฟฟ้า
กำหนดให้ ความเข้ มสนามไฟฟ้า E มีทิศจากซ้ ายไฟขวา ประจุ Q และ -Q อยู่ในสนามไฟฟ้าเกิดแรงกระทำ F

โดยแรงที่เกิดกับประจุ บวก มีทิศตาม E


แรงที่เกิดกับประจุ ลบ มีทิศตรงข้ ามกับ E***

การเคลื่อนที่ของประจุในสนามไฟฟ้ า แบ่งเป็ น 2 แบบ คือ


1.)ถ้ าประจุเคลื่อนที่ในแนวเดียวกับสนามไฟฟ้าจะได้ การเคลื่อนที่เป็ นเส้ นตรง
การคำนวณถือว่าประจุมีมวลน้ อยมาก ดังนันแรง
้ mg จึงไม่คิด จะหาความเร่งได้ จาก
F = ma
Ma = EQ
EQ
a
m

2) ถ้ าประจุเคลื่อนที่ทำมุมใดๆ กับสนามไฟฟ้า จะเคลื่อนที่เป็ นแบบวิธีโค้ ง ( Projectile)


การคำนวณถือว่ามวลน้ อยมาก ดังนัน้ แรง mg จึงไม่คิดจะหาความเร่งได้ จาก
F = ma
EQ = ma
EQ
a
m

145. อิเล็กตรอนตัวหนึง่ ถูกยิงด้วยความเร็ว 107 /


เมตร วินาที เข้ าไปในสนามไฟฟ้าสม่ำเสมอระหว่างแผ่นโลหะสองแผ่นขนานกันดังรูป อยากทราบว่าสนาม
ไฟฟ้าระหว่างแผ่นโลหะทังสองเป็
้ นเท่าใดจึงจะทำให้ อิเล็กตรอนหลุดจากยแผ่นโลหะขนานทีป่ ลายพอดี

เฉลย
แนวคิด แนวราบ S = vt
2x10-2 = (107)t
t = 2x10-9 วินาที
1 2
แนวดิ่ง S = ut+ at
2
1
0.5x102 = 0+ 2 (a )(2  10 9 ) 2
a  2.5 x1015 เมตร/วินาที2
 
จาก  F  ma
qE = ma
ma
E
q
(9.1  10 31 )( 2.5  1015 )

1.6  10 19
= 1.42x104 /
นิวตัน คูลอมบ์

11.15 ศักย์ไฟฟ้ า
ศักย์ไฟฟ้ า คือ ขนาดของงานที่สญ
ู เสียไปในการเคลื่อน 1 หนึง่ หน่วยประจุระยะอนันต์ (Infinity)มาจนถึงจุดนัน้
จากานิยามของความต่างศักย์ หัวข้ อ ( 11.16 )ย่อมได้ วา่
WBA
VAB = (VA-VB) = q
…………(1)
จากกฎของคูลอมบ์ จะได้ วา่
KQq KQq
FA = 2
, FB 
rA rB 2
KQq KQq KQq
และ F =
เฉลี่ย FA .FB ดังนัน้ F =
เฉลี่ย
.
rA 2 rB 2
= rA rB
KQq
แต่ งาน = แรงเฉลี่ย คูณ ระยะทาง ดังนัน้ WAB = rA rB (rB  rA )

WBA 1 1
จาก (1) ย่อมได้ วา่ VAB = VA - VB = q
 KQ(  )
rA rB
WA KQ W KQ
VA =  , VB  B 
q rA q rB

KQ
 V = r

ในที่นี ้ Q (
คือ ประจุต้นเหตุ หรือประจุของสนามไฟฟ้า ) (คูลอมบ์)
q คือ (
ประจุทดสอบ หรือประจุที่นำไปวางในสนามไฟฟ้า ) (คูลอมบ์)
9 2 2
K คือ ค่าคงที่ (ในอากาศหรือสูญญากาศ K =9x10 N.m /C )
rA,rB คือ ระยะทีว่ ดั จากศูนย์กลางของประจุต้อเหตุถึงจุด A และจุด B ตามลำดับ
W คือ งานที่สญู เสียไปในการเคลื่อนประจุทดสอบในระหว่าง 2 จุดใดๆ
VA,VB คือ ศักย์ไฟฟ้าที่จดุ A และ B ตามลำดับ (จูล/ คูลอมบ์ หรือ โวลต์)
VAB คือ ความต่างศักย์ระหว่างจุด A กับจุด B (จูล คูลอมบ์ หรือ โวลต์)

ข้ อควรทราบเกี่ยวกับศักย์ไฟฟ้าและความต่างศักย์ไฟฟ้า
1. ถ้ าประจุต้นเหตุ Q เป็ นประจุชนิดบวกตำแหน่งที่อยู่ใกล้ Q จะมีศกั ย์ไฟฟ้าสูงกว่าจุดที่อยู่ไกล กว่าเสมอ
2.ถ้ าประจุต้นเหตุ Q เป็นประจุชนิดลบตำแหน่งที่อยู่ใกล้ Q จะมีศกั ย์ไฟฟ้าต่ำกว่าจุดที่อยู่ไกลกว่าเสมอ
3.โดยทัว่ ไปแล้วความต่างศักย์ระหว่าง 2 จุดใดๆ เป็ นบวกเสมอ (คือเอาศักย์สงู ลบ ศักย์ต่ำ)แต่บางครัง้ เป็ นค่าติดลบก็ได้ (เพราะเอาศักย์ต่ำลบศักย์สงู ) ดัง
นัน้ ค่า ค.ต.ศ. จึงต้ องระบุเครื่องหมายว่าเป็น บวกหรือ ลบ ไว้ ด้วย
4.สำหรับศักย์ไฟฟ้าที่จดุ ใดๆนัน้ อาจเป็นได้ ทงศัั ้ กย์บวกและลบทังนี้ ้ย่อมขึ ้นอยู่กบั ประจุต้นเหตุ Q เป็ นสำคัญ กล่าวคือ ถ้ าเป็นบวก +Q ศักย์จะเป็ นบวกและ
KQ
-Q ศักย์จะเป็ นลบ ดังนันในการใช้
้ สตู ร V =
r
นันจำเป็นอย่
้ างยิ่งที่จะต้ องใส่เครื่องหมาย  บ่งบอกชนิดของประจุ Q เอาไว้ ด้วย

5. ตำแหน่งที่ถือว่ามีศกั ย์ไฟฟ้าเป็นศูนย์ มี 2 ตำแหน่งคือ


1 ก. จุดที่อยู่ไกลจากประจุต้นเหตุมากๆ (ระยะอนันต์)
ข. จุดต่างๆ บนพื ้นโลก (หรือจุดที่ตา่ งๆ ที่ตอ่ ลงดินนัน่ เอง)
6. เส้ นที่ลากต่อเชื่อมจุดต่างๆ ในสนามไฟฟ้าที่มีศกั ย์ไฟฟ้าเท่ากันเราเรียกว่า เส้ นสมศักย์ (Equipotential Line )

11.16 ความต่างศักย์ไฟฟ้ าระหว่างจุด 2 จุดใด ๆ


"
หมายถึง งานต่อหนึง่ หน่วยประจุ ในการเคลื่อนประจุระหว่างจุดทังสอง
้ "
WAB
VB - VA = q
ถ้ า q เป็ นประจุบวก จะพบว่า
W เป็น + เมื่อศักย์ที่B สูงกว่าที่ A (ได้ งาน)
W เป็น - เมื่อศักย์ที่ B ต่ำกว่าที่ A (เสียงาน)
W เป็นศูนย์ เมื่อศักย์ที่ B เท่ากับศักย์ที่ A (ไม่มีงาน)
W
V 
q
W = qV
W = พลังงาน ในการเคลื่อนที่ประจุ q หน่วย Joule
q = ประจุไฟฟ้า หน่วย coulomb
V = ความต่างศักย์ระหว่าง 2 จุด หน่วย (J/C หรือ Volt )

11.17 สนามไฟฟ้ ากับความต่างศักย์ของทรงกลมตัวนำ

(ประจุบวก) (ประจุลบ)
1. เส้ นแรงไฟฟ้าจะสิ ้นสุดทีผ่ ิวทรงกลม
E ภายในทรงกลม เท่ากับ 0
2. ทุกๆจุดบนผิวทรงกลม และภายในทรงกลมจะมีศกั ย์ไฟฟ้าเท่ากันหมด

KQ
V
r

V = ศักย์ไฟฟ้าเนื่องจากประจุ 0 หน่วย Volt


R = ระยะจากประจุไปถึงจุดที่จะหาศักย์ หน่วย m.
Q= coulomb
ประจุที่ทำให้ เกิดศักย์ หน่วย
9 2 2
K= ค่าคงที่ 9 X 10 n-m /c
ข้อควรจำ
1. ศักย์ไฟฟ้าเป็นปริมาณ SCALAR (
จึงบวกลบกันได้ ตามเครื่องหมาย ไม่ต้องคำนึงถึงทิศทาง )
2. การแทนค่าอย่าลืม
ศักย์ไฟฟ้าของทรงกลม = ศักย์ไฟฟ้าที่ผวิ ทรงกลม
KQ

a
; (a เป็ นรัศมี)
ศักย์ไฟฟ้าจากตัวนำทรงกลมและศักย์ไฟฟ้าของตัวนำทรงกลม
ให้ r = รัศมีของตัวนำทรงกลม เมตร ,
Q = ประจุไฟฟ้าบนทรงกลม คูลอมบ์ ,
a = (
จุดๆหนึง่ ภายนอกทรงกลม ห่างจากศูนย์กลาง
เป็นระยะ d เมตร
b = จุดๆหนึง่ ภายในทรงกลม เมตร ,

KQ
ศักย์ที่จดุ a VA= d
ศักย์ที่จดุ b = ศักย์ที่ผิว = ศักย์ของทรงกลม
= Vb
KQ
V = r

KQ
11.18 การพิสูจน์ของศักย์ไฟฟ้ า V
r
สิ่ งที่ตอ้ งทราบ
1. งาน = แรง x ระยะทาง
2. ความต่างศักย์ระหว่าง 2 จุด = งานหรือพลังงานที่สิ ้นเปลืองไปเป็ นจูลในการเคลื่อน
+1coulomb จากจุดหนึง่ ไปยังอีกจุดหนึง่
ที่
3. แรงเฉลี่ยแบบ root mean square = แรง1 x แรง 2

เอาประจุ +1 คูลอมบ์ วางที่ A และ B


KQ 
แรงบน A เนื่องจาก +Q, FA=
a2
ทิศ AB

KQ 
แรงบน B เนื่องจาก +Q,FB= 2
b
ทิศ AB

ถ้ าจะเอาประจุ +1 คูลอมบ์ จาก B มา A ต้ องออกแรงในทิศ BA และต้ องออกแรง
อย่างน้ อย = แรงเฉลี่ยของทัง้ 2
งานที่ทำในการเลื่อนประจุ +1 C. = แรง X ระยะทาง
(ความต่างศักย์ระหว่าง A, B ) = FA FB  ( b  a )
KQ KQ
VA-VB = .
¿a 2 b 2
(a  b)

KQ
= ab
(b  a )
KQ KQ
VA-VB = a

b
ถ้ า B เป็นจุดที่อยู่สดุ ระยะอนันต์ของสนามเนื่องจาก Q
b  
ศักย์ที่Infinity = 0,VB = 0
KQ KQ
 VA - 0 = a  
KQ
VA = a
KQ
 ศักย์ที่จดุ หนึง่ เนื่องจากประจุ Q = a

11.19 สนามไฟฟ้ าและศักย์ไฟฟ้ าบนตัวนำทรงกลม


กำหนดให้ ตวั นำทรงกลมรัศมี มีประจุ จุด เป็ นจุดที่อยู่ในทรงกลมและ เป็ นจุดที่ผวิ ตัวนำ

=E
ให้ ทรงกลมมีสนามไฟฟ้า
 แรง F = Eq
จาก WAB = q(VB-VA)
 Eq ( AB ) = q ( VA-VB)
E (Ab) = VA-VB …..(1)
แต่สนามไฟฟ้าในทรงกลม มีคา่ เป็น ศูนย์
จาก (1)0 = VB-VA
VA = V B
นัน่ คือ ศักดาไฟฟ้า ณ จุดใดๆ ในทรงกลมย่อมมีคา่ เท่ากัน และเท่ากับที่ผวิ เสมอ ดังนันการหาศั
้ กดาไฟฟ้าของจุดในทรงกลมให้ ย้าย
ไปอยู่ที่ผวิ เสียก่อน
ข้ อควรจำ
1.ประจุบนทรงกลมใดๆ ย่อมกระจายกลุม่ อยู่สม่ำเสมอตลอดผิวของทรงกลมเท่านัน้ (ภายในทรงกลมมีประจุเป็ นศูนย์)
2.ในทางคำนวณให้ คิดเสมือนว่า ประจุทงหมดของทรงกลมรวมกั
ั้ นอยู่ที่ตำแหน่งจุดศูนย์กลางของทรงกลมเท่านัน้

3.ภายในทรงกลมสนามไฟฟ้า E เป็ นศูนย์ทกุ ๆตำแหน่ง แต่ศกั ย์ไฟฟ้ามีคา่ เท่ากันๆตำแหน่ง คือ เท่ากับศักย์ไฟฟ้าที่ผวิ ตัวนำทรงกลมนัน่ เอง
4.ภายนอกทรงกลมทังสนามไฟฟ
้ ้ าและศักย์ไฟฟ้า ไม่เป็ นศูนย์ แต่จะเป็ นไปตามสูตร

KQ KQ
E V
2 r
r

สรุปการคำนวณ
1. หาศักย์ไฟฟ้าที่จดุ ใดๆ คำนวณจาก
KQ
V
R
2. หางานในการเคลื่อนประจุระหว่าง 2 จุดใดๆ
WA B  q (VB  VA )
ถ้ างานมีคา่ เป็ น + หมายถึงต้ องใช้ งานเข้ าไปช่วยให้ประจุเคลื่อนที่
ถ้ างานเป็น - หมายถึง ประจุจะคลายงานออกมาให้ หรือประจะวิ่งไปได้ เอง
3. หางานในการลากประจุจาก Infinity มายังจุดใดๆ
W  A  qVA
ศักย์ภายในทรงกลม จะมีคา่ เท่ากับศักย์ที่ผิว
KQ
V ภายในทรงกลม = V = ที่ผิว
รัศมี

ทดสอบความเข้ าใจ
คำถาม คำตอบ
1.ความต่างศักย์ไฟฟ้า ระหว่าง 2 จุดหมายถึงอะไร 1.+1 C เคลื่อนที่จากศักย์ต่ำไปศักย์สงู
2 พลังงานทีส่ ญู เสียไปในการพาประจุ จากศักย์ต่ำไปศักย์สงู หายไปไหน 2.กลายเป็ นพลังงานศักย์ไฟฟ้าสะสม รอการกลับมา เป็นพลังงานไฟฟ้า
3. ศักย์ไฟฟ้า ณ จุดใด ๆ คืออะไร 3.พลังงานศักย์ไฟฟ้าของประจุ ณ จุดนันๆต่
้ อหนึง่ หน่วยประจุ หรือพลังงานศักย์
ของประจุ +1 coulomb ที่จดุ นัน้ ๆซึง่ เป็ นระดับความสูงต่ำทางไฟฟ้า
4. ศักย์ไฟฟ้าเป็นปริมาณอะไร 4.scalar
5.ความสัมพันธ์ของศักย์ไฟฟ้า พลังงานศักย์ไฟฟ้า ประจุมีอย่างไร 5.ศักย์ไฟฟ้า =
พลังงานศักย์ไฟฟ้า
ประจุทดสอบ
W
V = q
W = qV

6. 6. (ก) ประจุถกู แรงกระทำ =qE ทิศ AB เคลื่อนที่


ไป ทำให้ เกิดงานหรือพลังงานไฟฟ้าขึ ้น

(ข) ประจุจะถูกแรงกระทำ =qE ทิศ AB ต้ อง

ออกแรง = qE ทิศ BA
งานทีทำ
่ จะสะสมอยู่ในรูปพลังงานศักย์ไฟฟ้า ถ้ าปล่อยให้
มันมาเองจะเกิดพลังงานศักย์ไฟฟ้ากลับคืนมา
(ก) เอาประจุ +q วางที่ A เกิดอะไรขึ ้นบ้ าง
(ข) เอาประจุ +q วางที่ B แล้ วจะให้ +q เคลื่อนที่มา A จะทำ
อย่างไรและเกิดอะไรขึ ้น
7.ณ จุดต่าง ๆในสนามไฟฟ้า ซึง่ ห่างจากประจุอนั หนึง่ ไม่เท่ากัน 7.ไม่เท่ากัน เรียกว่า "ศักย์ไฟฟ้า"
จะมีสถานะทางไฟฟ้า เท่ากันหรือไม่สถานะนัน้ เรียกว่าอะไร

8.การหาศักย์ไฟฟ้าที่จดุ ใดจุดหนึง่ ใช้ สตู รอะไร 8. V  r


KQ

9.การหาศักย์ไฟฟ้าสูตรนี ้ ต้ องแทนเครื่องหมายหรือไม่ 9. ต้ องแทนด้วยประจุบวกทำให้ เกิดศักย์บวก ประจุลบ


ทำให้ เกิดศักย์ลบ

10. เส้ นสมศักย์คืออะไร 10. เส้ นแรงไฟฟ้าจะพุ่งตังฉากกั


้ บเส้ นสมศักย์เสมอๆ

11. ผิวสมศักย์คืออะไร 11. คือจุดต่างๆ ที่อยู่ผิวทรงกลม จุดเหล่านี ้มีศกั ย์ไฟฟ้าเท่ากัน


12. ถ้ าต้ องการความเข้ ม สนามไฟฟ้าที่จดุ A จะต้ องทำอย่างไร 12.
ทิศของสนามไฟฟ้าเป็นอย่างไร

นำประจุ +1 คูลอมบ์ไปวางตรงจุด B แล้ วหาแรงที่ประจุ


นี ้ ทิศทางของสนามไฟฟ้ามีทิศออกจากประจุ +Q

13.ถ้ าต้ องการสนามไฟฟ้าที่จดุ B จะต้ องทำอย่างไรทิศทางของสนาม


ไฟฟ้าเป็นอย่างไร

นำประจุ +1 B
คูลอมบ์ไปวางตรงจุด แล้ วหาแรง
แรงที่ประจุนี ้ ทิศทางของสนามไฟฟ้ามีทิศ
เข้ าสูป่ ระจุ +Q
14. ศักย์ไฟฟ้าที่จดุ C (อันเนื่องจากประจุ Q ) 14.
(1) มีสตู รอย่างไร
(ข) คิดเครื่องหมายหรือไม่

KQ
V
r
หาศักย์ไฟฟ้าที่จดุ C อันเนื่องจากประจุแต่ละประจุแล้ว
นำมารวมกันตามเครื่องหมายไม่ต้องสนใจทิศทาง
15. ตามรูปที่ D จงหา 15.
(1) V(ศักย์ไฟฟ้า) เนื่องจาก
(2) V(ศักย์ไฟฟ้า) เนื่องจาก
V(ศักย์ไฟฟ้า)
ค. V(ศักย์ไฟฟ้า) รวม
K ( Q1)
(ก) V1  d1
K ( Q )
(ข) V2  d 2
2
KQ KQ
(ค)V รวม = d 1  d 2
1 2

16.จงเขียนสูตรของแรงดูด.ผลักระหว่างประจุไฟฟ้า 16. F  2
KQ1Q 2
r
17.จงเขียนสูตรของความเข้ มของสนามไฟฟ้า 17. E
KQ
r2
18.จงเขียนสูตรของศักย์ไฟฟ้า 18. V
KQ
r

19.ภายในทรงกลม 19.
(1) มีประจุหรือไม่เพราะเหตุใด
(2) มีแรงดูด. ผลักหรือไม่
(3) เวลาคำนวณ ทำไมเราคิดระยะทางจากกึ่งกลางทรงกลม (1) ไม่มีเพราะจากการทดลองจะพบว่าประจุอยู่ที่ผิวนอกทรง
กลมเสมอ
(4) มีศกั ย์ไฟฟ้าภายในทรงกลมหรือไม่เพราะเหตุใด
(จ) การหาสูตรของศักย์ไฟฟ้า ในทรงกลมควรเป็ นอย่างไร (2) ไม่มี
(3) .
เพราะเป็ นระยะทางเฉลี่ยถึงประจุ จึงคิดถึงจุดศูนย์กลาง
ทรงกลม
(4) มี เพราะคิดเป็ นงานในการนำประจุ +1 คูลอมบ์ต้านแรง
ผลักของประจุ
+Q จนมาถึงทรงกลม
(จ) V = V
ในทรงกลม ที่ผิวทรงกลม

KQ
= a
เมื่อ a เป็ นรัศมีทรงกลม

11.20 ความสัมพันธ์ระหว่างสนามไฟฟ้ าสม่ำเสมอ (E)


และความต่างศักย์ระหว่างจุด 2 จุด
จุด X,Y ห่างกับ d
จุด X มีศกั ย์เป็ น V1
Y มีศกั ย์เป็ น V2
V1 > V2

ในการนำประจุทดสอบจาก Y ไป X ต้ องทำงานเท่าใด
นำประจุ +1 coul. จาก Y ไป X ต้ องทำงาน V1 - V2 จูล
นำประจุ +q coul. จาก Y ไป X ต้ องทำงาน q ( V1 - V2 ) จูล
W = q(V1 - V2)
F x S = q(V1 - V2)
qExd = q(V1 - V2)

V1  V2
E
d
V 1 - V2 = Ed
V
E = d

E = สนามไฟฟ้า /
หน่วย นิวตัน คุลอมบ์หรือ โวลต์ เมตร /
V = ความต่างศักย์ในสนามไฟฟ้า หน่วย โวลต์
d = ระยะระหว่าง 2 จุด ในสนาม หน่วย เมตร

146. Volt คืออะไร มาจากไหน


เฉลย
W จูล
แนวคิด Volt "
คือ หน่วยของศักย์ไฟฟ้า " V
q
= คูลอมบ์
= โวลต์

147.หากประจุกระจายอยู่บนตัวนำทรงกลมกลางอย่างสม่ำเสมอ ศักย์ไฟฟ้าและสนามไฟฟ้าภายในจุดศูนย์กลางทรงกลมกลวงมีคา่
ก.ทังศั
้ กย์ไฟฟ้าและสนามไฟฟ้าเป็นศูนย์
ข.ศักย์ไฟฟ้าเท่ากัน สนามไฟฟ้าเป็นศูนย์
ค.ศักย์ไฟฟ้าเท่ากันและสนามไฟฟ้าเท่ากัน
ง.ศักย์ไฟฟ้าเป็นศูนย์ สนามไฟฟ้าเท่ากัน
เฉลย ข .
แนวคิด ภายในทรงกลมกลวง จะมีสนามไฟฟ้าเป็นศูนย์ มีศกั ย์ไฟฟ้าเท่ากัน และเท่ากับที่ผวิ ทรงกลม

148.ถ้ านำทรงกลมทัง้ 3 มาแตะกันแล้วแยกออก ข้ อความใดกล่าวถูกต้ อง


ก. แต่ละลูกจะมีประจุไฟฟ้าเท่ากัน ข.แต่ละลูกจะมีความจุเท่ากัน
ค. แต่ละลูกจะมีศกั ย์ไฟฟ้าเท่ากัน ง.ถูกทังข้
้ อ ก ข และ ค

149. วางประจุ +Q และ --q ไว้ ที่จดุ A และ B ตามลำดับ จุดกึ่งกลางระหว่าง AB เป็ น
.
ก จุดสะเทิน ข. จุดที่มีศกั ดาเป็นศูนย์
ค.เป็นทังจุ
้ ดสะเทินและจุดที่มีศกั ดาเป็ นศูนย์ ง.จุดที่มีแรงกระทำระหว่างประจุ +Q และ-Q
เฉลย ข

150. ข้ อความใดต่อไปนี ้กล่าวได้ ถกู ต้ อง


1.งานในการเคลื่อนที่ประจุในสนามไฟฟ้าขึ ้นอยู่กบั ค่าของความต่างศักย์ไฟฟ้า
2.งานในการเคลื่อนที่ประจุชนิดเดียวกันเข้ าหากันจะเสียงาน
3.งานในการเคลื่อนที่ประจุชนิดเดียวกันเข้ าหากัน
2 4.งานในการเคลื่อนที่ประจุไฟฟ้าภายในทรงกลมตัวนำประจุไฟฟ้าเป็นศูนย์เสมอ
3 คำตอบที่ถกู ต้ องคือ
4 ก. 1,2 ข. 1,2,3 ค. 1,2,4 . 1,2,3
ง และ 4
5 เฉลย ค.
151. คำกล่าวต่อไปนี ้ข้ อใดถูกต้ องที่สดุ ถ้ าเรามีทรงกลมกลวงและมีประจุไฟฟ้าอยู่จำนวนหนึง่
6 ก. สนามไฟฟ้าทุกๆ จุดภายในทรงกลมเป็ นศูนย์ ข. สนามไฟฟ้าที่ผิวทรงกลมเป็ นศูนย์
7 ค. ศักย์ไฟฟ้าทุกๆ จุดภายในทรงกลมเป็ นศูนย์ ง. ศักย์ไฟฟ้าทุกๆจุดภายในทรงกลมเป็ นศูนย์
8 จ.ศักย์ไฟฟ้าและสนามไฟฟ้าที่ผิวทรงกลมเป็ นศูนย์
9 เฉลย ก.
10 แนวคิด ภายในทรงกลม ไม่มีประจุ q,F และ E เป็นศูนย์
11 แต่ศกั ย์ไฟฟ้าในทรงกลม = ศักย์ไฟฟ้าที่ผวิ

152. ข้ อใดถูกต้ องที่สดุ


12 ก. ทิศของแรงที่กระทำต่อประจุบวกในสนามไฟฟ้ามีทิศทางตรงกันข้ าม ส่วนทิศของแรงที่ กระทำต่อประจุลบให้ สนามไฟฟ้ากับทิศของสนามไฟฟ้าจะ
มีทิศเดียวกัน
KQ
13 .
ข ขนาดของสนามไฟฟ้าที่ตำแหน่งซึง่ อยู่ห่างจากประจุ Q เป็ นระยะ r มีคา่
2
ขนาดและทิศทางของสนามลัพธ์ของสนามไฟฟ้า
เนื่องจากจุดประจุหลายๆ จะเท่ากับผลรวมของเวกเตอร์ ของสนามไฟฟ้าเนื่องจากจุดประจุแต่ละจุด
KQ
14 .
ค ศักย์ไฟฟ้าทีตำ Q
่ แหน่งซึง่ อยู่ห่างจากจุดประจุ เป็นระยะ r จะมีคา่
r
ศักย์ไฟฟ้า มีคา่ เป็นบวกหรือลบขึ ้นอยู่กบั ประจุไฟฟ้าที่ทำให้ เกิด
สนามไฟฟ้า ศักย์ไฟฟ้ารวมที่ตำแหน่งใด ๆคือผลรวมของเวกเตอร์ ของศักย์ไฟฟ้าเนื่องจากจุดแต่ละจุดที่ตำแหน่งนัน้
KQ1Q 2
15 .
ง แรงกระทำระหว่างประจุ 1 Q ,Q2 ซึง่ ระหว่างกันเป็ นระยะ r จะมีคา่ r
ขนาดและทิศของแรงลัพธ์เนื่องจากจุดประจุหลายๆ
จุดเท่ากับผลรวมของเวกเตอร์ ของแรงกระทำระหว่างจุดประจุเนื่องจากจุดประจุแต่ละจุด
16 เฉลยข้ อ ข

153. ประจุ ตัวหนึง่ ถูกเลื่อนจากจุด A ไปจุด B ถ้ างานที่กระทำโดยแรงจากสนามไฟฟ้าเป็นศูนย์ ข้ อความใดต่อไปนี ้ถูกต้ อง


17 1. เส้ นทาง A ไป B เป็นเส้ นสมศักย์
18 2. ศักย์ไฟฟ้าที่ A เท่ากับศักย์ไฟฟ้าที่
19 3. ทิศสนามไฟฟ้าตังฉากกั ้ บเส้ นทาง A ไป B ทุกๆจุด
20 คำตอบคือ
21 ก. 1 เท่านัน้ ข. 3 เท่านัน้ ค. 1 , 2 เท่านัน้ ง. ถูกทังสาม ้
เฉลยข้ อ ค

154. ตัวนำทรงกลมกลวงรัศมี a A ,B,C และ D อยู่บนเส้ นตรงที่ผา่ นจุดศูนย์กลางของตัวนำ ตัวนำมีประจุอยู่ +Q คูลอมบ์ ให้ Wij
จุด แทน
งานที่ใช้ ในการนำประจุ +q เคลื่อนที่จากจุด i ไปยัง j ในการเคลื่อนประจุ +q ผ่าน จุด A,B,C และ D นันข้
้ อความใดผิด

ก. WAB=WBC ค WAB=WAC
ข. WAB = WCD ง. WBC= WBD
เฉลย ก .
155. ลูกทรงกลม A และ B มีขนาดเท่ากับ แต่ A วางฉนวนในอากาศส่วน B อยู่ในเทียนไข ถ้ า A และ B มีประจุเท่ากันเวลาต่อสายไฟฟ้าระหว่าง
A และ B โดยไม่ให้ ประจุหายไปทางอื่นประจุไฟฟ้าจะเป็ น
ก. เคลื่อนที่จาก A ไป B
ข.เคลื่อนที่จาก B ไป A
ค.จะไม่มีไฟฟ้าไหลระหว่าง A กับ B เพราะว่ามีประจุเท่ากัน
ง. จะไม่มีไฟฟ้าไหลระหว่าง A กับ B เพราะว่ามีประจุเท่ากันและมีศกั ย์ดาเท่ากัน
เฉลย ง.

156.ข้ อความใดต่อไปนี ้กล่าวได้ ถกู ต้ อง


1. ภายในทรงกลมตัวนำที่มีประจุไฟฟ้า จะมีศกั ย์ไฟฟ้าเท่ากับทีผ่ ิว
2. ศักย์ไฟฟ้าศูนย์มีคา่ น้ อยกว่าศักย์ไฟฟ้าลบ
3. ศักย์ไฟฟ้าคิดมาจากค่าของงานจึงเป็ นปริมาณ Scalar
4. งานในการเคลื่อนที่ประจุไฟฟ้าบนเส้ นสมศักย์เดียวจะเป็ นศูนย์
คำตอบที่ถกู ต้ องคือ
ก . 3,4 ข. 1,2,3 ค. 1,3,4 ง . 1,2,3,4
เฉลยข้ อ ค .

157. ลูกทรงกลม 2 ลูก A และ B A มีรัศมี 2 เท่าของ B จะต้ องใส่ประจุชนิด


วางบนฉนวน
เดียวกันในทรงกลมทังสองอย่
้ างไร เมื่อต่อ A และ B แล้ วประจุจะไม่เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม
ก. ใส่ประจุบวกที่ B เป็ น 2 เท่าของ A ข. ใส่ประจุลบที่ A เป็ น 2 เท่าของ B
ค. ใส่ประจุบวกที่ A และ B เท่าๆกัน ง. ใส่ประจุลบที่ A และ B เท่าๆกัน
เฉลยข้ อ ข.
KQ
แนวคิด ประจุจะไม่เปลี่ยนแปลง แสดงว่า ศักย์ไฟฟ้าเท่ากัน V =
r

158. ถ้ ามีประจุอยู่ ณ จุดต่างๆ บนเส้ นสมศักย์จะมี …… เท่ากัน


ก. พลังงานศักย์ หรือ ศักย์ไฟฟ้า .
ข พลังงานจลน์
ค.ความต่างศักย์ ง. สนามไฟฟ้า
เฉลข้ อ ก .

159. ทำไมรถน้ำมันต้ องมีโซ่ห้อยและแตะดินอยู่เสมอเพราะ


1. ป้องกันอันตรายจากไฟไหม้
2. ป้องกันการสะสมประจุไฟฟ้าไว้ ที่ตวั รถ
3. ป้องกันการเกิดประจุอิสระที่รถวิ่งและเป็ นการลดความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างตัวรถกับพื ้นดิน
4. ถูกหมดทุกข้ อ
เฉลยข้ อ ง .
160.ข้ อความต่อไปนี ้ข้ อใดที่กล่าวถึงความหมายของศักย์ไฟฟ้า
KQ
ก. ศักย์ไฟฟ้า ( V ) ที่จดุ ต่างๆ คือ เมื่อ Q เป็ นค่าประจุไฟฟ้า r เป็ นระยะทางจากประจุไฟฟ้าและ K เป็นค่าคงที่
r
ข. ความต่างศักย์ระหว่างจุดใด ๆ กับจุดที่มีศกั ย์ไฟฟ้าเป็ นศูนย์
ค. เป็นปริมาณสเกลาร์ มีหน่วยเป็ นจูล/คูลอมบ์ หรือโวล์
ง. งานที่ใช้ ในการเคลื่อนที่ประจุไฟฟ้าหนึง่ หน่วยระหว่างจุดสองจุดในสนามไฟฟ้า
เฉลยข้ อ ข.
แนวคิด ควรเป็ นความหมายที่ชดั เจนที่สดุ ข้ อ ก. ข้ อ ค. ถูกต้ อง แต่ไม่ใช่ความหมายที่แท้ จริง

161.ตัวนำทรงกลมรัศมี r มีประจุบวก เมื่อเลื่อนประจุบวกใดๆ เข้ าหาทรงกลมนี ้ แล้ วเขียนกราฟ ระหว่างงานในการเลื่อนประจุกบั ระยะห่างจากศูนย์กลางของทรง


กลม จะได้ กราฟมีลกั ษณะเหมือนรูปใด ดังต่อไปนี ้

เฉลยข้ อ ข .
. . .
แนวคิด ในทรงกลม ไม่มีงาน รูป ก ค จ จึงผิดรูป 4 ผิด เพราะแรงไม่คงที่ จึงได้ งานไมีคงที่จงึ
ได้ งานไม่คงที่ จึงถูกต้ องเฉพาะระยะทางที่ 2

162.ข้ อใดเป็ นสมบัตขิ องตัวนำทรงกลม


1. ประจุกระจายอยู่ที่ผวิ เท่านัน้
2. สนามไฟฟ้าภายในเป็นศูนย์
3. สนามไฟฟ้าภายในมีคา่ คงที่
4. ศักย์ไฟฟ้าภายในเป็ นศูนย์ได้ ที่จดุ กึ่งกลาง
5. ศักย์ไฟฟ้าภายในคงที่
ก. 1,2,4 ข. 1,2,3 ค . 2,3,5 . 1,2,5

เฉลยข้ อ ง.

163. จากข้ อ 162 ข้ อใดเป็ นคุณสมบัติของแผ่นตัวนำขนานที่มีประจุเท่ากัน แต่ตา่ งชนิดกัน


ก. 1,3,4 ข. 2,4,5 ค . 2,3,4 ง . 1,3,5
เฉลยข้ อ ก.
164. A และ B มีประจุชนิดเดียวกัน เท่ากัน COD เป็นเส้ นแบ่งครึ่งและตังฉากกั
้ บ AB ศักย์และ
ความเข้ มบน COD เป็ นอย่างไร
1. ศักย์และความเข้ มสนามไฟฟ้าเท่ากับศูนย์
2. ศักย์ไฟฟ้าไม่เท่ากับศูนย์ ความเข้ มสนามไฟฟ้าเท่ากับศูนย์
3. ศักย์ไฟฟ้าและความเข้ มสนามไฟฟ้าที่จดุ O เท่ากับศูนย์
4. จุด O คือจุดสะเทิน COD เป็ นเส้ นสมศักย์
5. ไม่มีข้อถูกต้ อง จาก ก. ถึง ง.
เฉลยข้ อ จ.

165.ประจุไฟฟ้าอยู่ที่วตั ถุ A รูปทรงกลม ณ จุดที่อยู่บนเส้ นรอบวงของวงกลม มีจดุ ศูนย์กลางอยู่ที่ A ศักย์ไฟฟ้าและความเข้ มของสนามไฟฟ้าเป็นอย่างไร


.
ก ทุกจุดศักย์ไฟฟ้าเท่ากัน ทุกจุดสนามไฟฟ้าเท่ากัน
22 ข. ทุกจุดศักย์ไฟฟ้าเท่ากัน ทุกจุดสนามไฟฟ้าขนาดเท่ากัน
23 ค. ทุกจุดศักย์ไฟฟ้าไม่เท่ากัน ทุกจุดสนามไฟฟ้าขนาดเท่ากัน
24 ง. ทุกจุดศักย์ไฟฟ้าและสนามไฟฟ้าไม่เท่ากัน
เฉลยข้ อ ข.

166.ประจุไฟฟ้า +q สองประจุ และ -q สองประจุ วางที่มมุ ของสี่เหลี่ยมจัตรุ ัส A B C D ดังรูป X เป็นจุดกึ่งกลางด้ าน BC และ Y เป็นจุด
กึ่งกลางเส้ นทะแยงมุม BD ข้ อใดบ้ างที่ถกู ต้ อง

1. สนามไฟฟ้าที่จดุ X และจุด Y ขนานกัน


2. ศักย์ไฟฟ้าที่จดุ X เป็นศูนย์
3. ศักย์ไฟฟ้าที่จดุ Y เป็นศูนย์
ก. 1,2 และ 3 ข. 1 และ 3 ค .3 เท่านัน้ ง . คำตอบเป็ นอย่างอื่น
เฉลยข้ อ ก.

167-169
จากข้ อความและตัวเลือกต่อไปนี ้ใช้ ตอบคำถามข้ อ
A และ B เป็ นจุดต่างกัน r เมตร มีประจุ +Q และ - Q คูลอมบ์วางไว้ ตามลำดับ
ตัวเลือก
ก . กึ่งกลางระหว่างประจุไฟฟ้า
ข. ระหว่างประจุไฟฟ้าใกล้ -Q
ค. บนเส้ นทีต่ อ่ ระหว่างประจุออกไปโดยอยู่ใกล้ -Q
ง. ไม่มตำ
ี แหน่งดังกล่าวในบริเวณของประจุที่กำหนด

167.จงหาตำแหน่งที่ประจุ +q มาวางแล้ วไม่เกิดแรงกระทำ


เฉลยข้ อ ง.
แนวคิด
จะเห็นว่า ไม่มีตำแหน่งใด ที่แรงเป็ นศูนย์
168.จงหาตำแหน่งผลรวมของสนามไฟฟ้าเป็นศูนย์
เฉลยข้ อ ง.
แนวคิด ภาพเดียวกับข้ อ 167, ตอบเช่นเดียวกันคือ ไม่มีตำแหน่งใดทีส่ นามไฟฟ้าเป็นศูนย์

You might also like