You are on page 1of 8

59

บทที่ 6
ฝากทรัพย

หมวด 1 บทบัญญัติในเรื่องฝากทรัพยทั่วไป

ลักษณะของสัญญาฝากทรัพย

1. เปนสัญญาสองฝาย
2. วัตถุแหงสัญญาฝากทรัพยเปนทรัพยสิน
3. สมบูรณโดยการสงมอบทรัพย
4. ผูรับฝากตกลงจะเก็บรักษาทรัพยสินที่ฝากไว ในอารักขาของตน แลวจะคืนใหผูฝาก
ขอตกลงเชนนี้ทําใหฝากทรัพยแตกตางกับตัวแทน จางแรงงาน จางทําของเปนตน
5. อาจเปนไดทั้งสัญญา มีคาตอบแทนและไมมีคาตอบแทน

ฝากทรัพยโดยจําเปนกับฝากทรัพยนอกแบบ

1. ฝากทรัพยโดยจําเปน ไดแก สัญญาฝากทรัพย ชนิดที่ผูฝากจําเปนตองกระทํา ในทันใด


โดยเหตุการณพิเศษไดบังคับ เชน อัคคีภัย โจรปลน
2. ฝากทรัพยนอกแบบ ไดแก สัญญาฝากทรัพยชนิดที่มิไดมีขอตกลงใหผูรับฝากคืน
ทรัพยสินอันเดียวกันกับที่ไดรับฝาก หากแตมีขอตกลงใหผูรับฝากคืนทรัพยสินที่เปนประเภท ชนิด
และปริมาณเดียวกันเทานั้น

หนาที่ของผูรับฝาก
1. กรณีการฝากทรัพยสิน ซึ่งผูรับฝาก ไมมีบําเหน็จ ผูรับฝากจําตองใชความระมัดระวัง
สงวนทรัพยสินซึ่งฝากนั้นเชนที่เคยประพฤติในกิจการของตนเอง ตัวอยางเชน นาย ก. รับฝากขาวไว
60

โดยไมมีบําเหน็จตอมาเกิดอุทกภัย นาย ก. จึงให นาย ข. เจาของขาวมารับขาว นาย ข. ก็ไมมา นาย


ก. จึงขายขาวนั้นไปเพราะเกรงวาขาวจะเสียหาย ภายหลังจากที่นาย ก. ไดขายขาว ตนเองไปหมด
แลว ถือวา นาย ก. ในฐานะผูรับฝาก ไดใชความระมัดระวัง สงวนทรัพยสินที่รับฝากไวเสมือนเชนที่
ไดประพฤติ ในกิจการของตนเองแลว
2. กรณีการฝากทรัพยที่ผูรับฝากมีบําเหน็จ ผูรับฝากจําตองใชความระมัดระวังและใชฝ
มือ เพื่อสงวนทรัพยสินนั้นเหมือนเชนวิญูชนจะพึงปฏิบัติ ทั้งนี้รวมทั้งการใชฝมือพิเศษ ในที่ซึ่งพึง
ตองใช ฝมือพิเศษดวย 7 ตัวอยางเชน นาย ก. รับฝากรถยนตของ นาย.ข โดยมีบําเหน็จคาฝาก ดังนี้
นาย ก. จะตองเก็บรถยนตไวโดยใสกุญแจรถยนตดวย เพื่อปองกันการถูกขโมย เพราะวิญูชนทั่วไป
ทํากัน ก จะเอามาตรฐานของตนเองมาใชไมได แมปกติ นาย ก. จะจอดหรือเก็บรถยนตของตนไวโดย
ไมใหใส กุญแจก็ตาม
3. กรณีการรับฝากทรัพยที่ผูรับฝากมีวิชาชีพเฉพาะกิจการคาขายหรืออาชีพอยางหนึ่ง
อยางใด ผูรับฝากจําตองใชความระมัดระวังและฝมือเทาที่เปนธรรมดาจะตองใช และสมควรจะตองใช
ในกิจการคาขาย หรืออาชีพอยางนั้น ตัวอยางเชน นายดําเปนผูมีวิชาชีพเฉพาะกิจการคาของหองเย็น
นายแดงนําลําใยของตนมาฝากไวในหองเย็นของนายดํา นายดําใชความเย็นไมพอ ลําใยของนายแดง
เนาเสียหาย นายดําตองชดใชคาเสียหาย เพราะกิจการคาของหองเย็นตองใชความระมัดระวังและ ฝมือ
อันเปนธรรมดาและสมควรในกิจการหองเย็นแตนายดําไมไดใชนั่นเอง
4. หามใชทรัพยสินที่ฝากและความรับผิด
(1) หนาที่เก็บรักษา ถาผูฝากไมไดอนุญาตหามผูรับฝากกระทําการอยางใดอยาง
หนึ่ง ดังตอไปนี้
(ก) หามเอาทรัพยสินซึ่งฝากออกใชสอยเอง
(ข) หามเอาทรัพยสินซึ่งฝากใหบุคคลภายนอกใชสอย
(2) ความรับผิดของผูรับฝากเมื่อฝาฝน ผูรับฝากตองรับผิดเมื่อทรัพยสินซึ่งฝากนั้น
สูญหาย หรือบุบสลายอยางใดอยางหนึ่ง ถึงแมจะเปนเพราะเหตุสุดวิสัย เวนแตจะพิสูจนไดวาถึงอยาง
ไร ทรัพยสินนั้นก็คงจะสูญหายหรือบุบสลายอยูนั่นเอง ตัวอยางเชน นาย ก. นํากระบือ 1 ตัว
ไปฝากแก นาย ข. ใหชวยดูแลในระหวางที่ นาย ก. ไปทําธุระที่ตางจังหวัด ปรากฏวา นาย ข.
ไดนํากระบือ ตัวนี้ให นาย ค. เก็บรักษาไวในระหวางนั้นไดเกิดน้ําทวมกะทันหันทําใหกระบือจมน้ํา
ตาย ดังนี้นาย ข. ตองรับผิดตอ นาย ก. แตถา นาย ข. พิสูจนวาแม นาย ข. จะไมไดนํากระบือดัง
61

กลาวให นาย ค. เก็บรักษาไวก็ตองตาย เพราะเกิดน้ําทวมทั้ง ตําบล รวมทั้งบริเวณที่ นาย ข. เก็บ


รักษากระบือตัวนี้ไวดวย ดังนี้ นาย ข. ก็ไมตองรับผิด
5. ผูรับฝากตองบอกกลาวแกผูฝากโดย “พลัน” เมื่อบุคคลภายนอกอางสิทธิเหนือ
ทรัพยสินที่ฝากดังนี้
(1) เมื่อมีบุคคลภายนอกอางสิทธิเหนือทรัพยสินซึ่งฝากและไดยื่นฟองผูรับฝากแลว
(2) เมื่อมีบุคคลภายนอกอางวามีสิทธิเหนือทรัพยสิน ซึ่งฝากโดยไมทันไดฟอง แต
ไดเขายึดทรัพยสินนั้น

การคืนทรัพยสินที่รับฝากและดอกผล
(1) กําหนดเวลา
ก. กรณีกําหนดเวลาไว เมื่อกําหนดเวลาจะคืนทรัพยสินที่ฝากไว ผูรับฝากจะคืน
ทรัพยสิน ที่ฝากกอนถึงเวลากําหนดไมได เวนแตในเหตุจําเปนอันมิอาจกาวลวงเสียได เชน
ผูรับฝากตองไปอยูตางประเทศไมมีกําหนดเวลากลับ
ข. กรณีพิเศษ จําแนกไดดังนี้
(ก) ผูฝากจะเรียกคืนเมื่อใดก็ได แมกอนถึงกําหนดเวลาฝาก
(ข) กรณีไมไดกําหนดเวลาไวผูรับฝากคืนไดทุกเมื่อ
(2) เมื่อคืนทรัพย ถามีดอกผลที่เกิดแตทรัพยสินซึ่งฝากเทาใด ผูรับฝากตองสงมอบไป
พรอมกับทรัพยสินดวย
(3) ตองคืนทรัพยสินที่ฝากใหแกผูใด
ก. ผูฝาก
ข. ฝากในนามผูใดคืนแกผูนั้น ตัวอยางเชน นาย ก. นํารถยนตไปฝาก นาย ข. โดย
บอกวา นาย ค. ใหนํามาฝากไวแทน ดังนั้นในเวลาคืนรถยนตคันดังกลาว นาย.ข ตองคืนใหแก นาย.ค
ค. ไดรับคําสั่งโดยชอบใหคืนผูใดก็คืนผูนั้น
ง. ถาผูฝากตายตองคืนใหแกทายาทผูฝาก
(4) สิทธิยึดหนวงทรัพยสินที่รับฝาก ผูรับฝากมีสิทธิยึดหนวงทรัพยสินซึ่งฝากนั้นไว
จนกวาจะไดรับเงิน
(5) หนาที่ของผูฝาก
62

1. ตองเสียคาใชจายในการคืนทรัพยสินที่ฝาก ตัวอยางเชน นาย ก. นํามาแขง 1


ตัว มาฝาก นาย ข. เลี้ยงไวจนกวา นาย ก. จะเดินทางกลับจากตางประเทศ ดังนี้ เมื่อ นาย ก. กลับจาก
ตางประเทศแลว หาก นาย ก. ขอรับมาที่ฝากไวคืนจาก นาย ข. แลวปรากฏวาสถานที่ที่ นาย ข. เลี้ยงดู
มาของ นาย ก. เปนคนละสถานที่ ที่เปนภูมิลําเนาของ นาย ก. ทําใหตองมีการวาจาง รถยนตมาบรรทุก
มาตัวนี้ไปสงให นาย ก. โดยจายคาจาง 1,000 บาท ดังนี้ นาย ก. จะตองเปน ผูออกคาจางจํานวนนี้
เอง
2. ตองเสียคาใชจายอันควรบํารุงรักษาทรัพยสินซึ่งฝาก เวนแตจะตกลงกันไว
โดยสัญญาฝากทรัพยวาผูรับฝากจะตองออกเงินคาใชจายนั้นเอง
3. กําหนดชําระบําเหน็จคาฝากทรัพย (กรณีฝากทรัพยมีบําเหน็จ)
(1) ชําระเมื่อถึงเวลาที่กําหนดไวในสัญญา
(2) ชําระเมื่อถึงเวลากําหนดตามจารีตประเพณี ตัวอยางเชน หากมีจารีต
ประเพณีวา การฝากรถยนตตามงานวัด ผูฝากตองจายคาบําเหน็จทันที ผูฝากก็ตองจายทันที
(3) หากไมไดกําหนดเวลาไวในสัญญา หรือไมมีจารีตประเพณีกําหนดไวตอง
ชําระเมื่อรับทรัพยที่ฝากคืน ตัวอยางเชน นาย ก. ทํารถยนตของตน 1 คันไปฝากไวกับ นาย ข.
โดยตกลงจะใหบําเหน็จคาฝากแก นาย ข. จํานวน 500 บาท โดยมิไดตกลงวาบําเหน็จคาฝากนั้น นาย
ก. จะตองชําระใหแก นาย ข. เมื่อใดและก็ไมปรากฏวามีจารีตประเพณี เรื่องนี้เชนเดียวกัน นาย ก.
จึงมีหนาที่ชําระใหแก นาย ข. เมื่อ นาย ก. มาขอรถยนตที่ฝากคืนจาก นาย ข. นั่นเอง

อายุความ
1. อายุความฟองเรียกคาบําเหน็จคาฝาก มีสาระสําคัญดังนี้
1) สิทธิผูที่รับฝากจะเรียกรองได
- คาบําเหน็จ
- คาใชจาย
- คาสินไหมทดแทน
2) มีอายุความ 6 เดือน นับแตสิ้นสัญญา
3) คําวาวันสิ้นสัญญาหมายถึง
- เมื่อผูฝากเรียกทรัพยสินที่ฝากคืน
- เมื่อผูรับฝากตองคืนทรัพยสินที่รับฝากเพราะเหตุจําเปนมิอาจกาวลวงเสียได
63

- เมื่อฝายหนึ่งบอกเลิกสัญญา เพราะอีกฝายหนึ่งผิดสัญญา
- เมื่อทรัพยสินที่ฝากถูกทําลายสูญหายไป
2. อายุความเรียกรองทรัพยสินที่ฝากคืน มีอายุความ 10 ป กฎหมายไมไดบัญญัติไว
โดยตรงตองใชบทบัญญัติทั่วไป ตามมาตรา 193/30 สําหรับอายุความของผูรับประกันภัยซึ่ง ชดใช
คาสินไหมทดแทนไปแลว เชน รถที่ฝากหายอายุความเรียกใหใชราคาทรัพย 10 ป

หมวด 2 วิธีเฉพาะการฝากเงิน
1. เมื่อมีการฝากเงินกัน กฎหมายใหสันนิษฐานไวกอนวาผูรับฝากไมจําตองคืนเปนเงิน
ทอง ตราอันเดียวกับที่ฝาก แตถาตกลงกันวาตองคืนเงินอันเดียวกันที่ฝากไวผูรับฝากตองทําเชน
นั้น เชน ฝากธนบัตรเกา 1 ใบ ตัวเลขของธนบัตรสวยมากเปนเลข 9 หมดทุกตัว ดังนี้ ผูรับฝากจะคืน
ธนบัตร ใบอื่นใหแกผูฝากไมได
2. ผูรับฝากตองคืนเงินใหครบตามจํานวนที่ฝาก
3. ผูรับฝากใชเงินที่ฝากก็ได จากเหตุผลที่วากฎหมายสันนิษฐานวาผูรับฝากไมจําเปน
ตองคืนเงินอันเดียวกับที่ฝาก ผูรับฝากจึงมีสิทธิเอาเงินนั้นออกใชไดผูรับฝากถูกผูกมัดแตเพียงตองคืน
ใหครบถวนเทานั้น
4. เงินที่ฝากสูญหาย แมเหตุสุดวิสัยผูรับฝากตองรับผิดคืนเทาจํานวนที่ฝาก ตัวอยาง
เชน นาย ก. เปนพอคาไดนําเงิน 100,000 บาท ไปฝากไวกับ นาย ข. มีกําหนด 3 วัน ปรากฏ
วา หลังจากที่ นาย ก. ไดสงมอบเงินจํานวนดังกลาวให นาย ข. ไปแลวไดเกิดเพลิงไหมบาน นาย ข.
และเงิน ดังกลาวก็ถูกไฟไหมหมด ดังนี้เมื่อครบ 3 วันแลว นาย ก. มาขอเงินคืน นาย ข. จะตองหา
เงินจํานวน 100,000 บาท มาคืน นาย ก. เนื่องจากกรรมสิทธิ์ในเงิน 100,000 บาท ที่ นาย ก.
ฝากไวตกเปนของ นาย ข. ไปแลว โดย นาย ข. จะตองรับผิดชอบใน ความสูญหายของดังกลาวเอง
5. เมื่อใดที่ผูรับฝากจําตองคืนเงินเพียงเทาจํานวนที่ฝากผูฝากจะเรียกถอนเงินนั้นคืน กอน
เวลาที่ตกลงไมได 31
6. เมื่อใดที่ผูรับฝากจําตองคืนเงินเพียงเทาจํานวนที่ฝาก ฝายผูรับฝากจะสงคืนเงินนั้น
กอนถึงกําหนดเวลาที่ตกลงกันไมไดเชนกัน
64

หมวด 3 วิธีการเฉพาะสําหรับเจาสํานักโรงแรม

1. ความหมายของคําวา เจาสํานักโรงแรม คนเดินทางหรือแขกอาศัย คือ


เจาสํานักโรงแรม หมายถึง บรรดาผูควบคุมและจัดการสถานที่ทุกชนิดที่จัดตั้ง ขึ้น
เพื่อรับสินจางสําหรับคนเดินทาง หรือบุคคลที่ประสงคจะหาที่อยูหรือพักชั่วคราว
คนเดินทางหรือแขกอาศัย หมายถึง บุคคลผูที่มาพักอาศัยในโรงแรมหรือสถานที่
ทํานองเดียวกันโดยเสียคาพักอาศัย

2. เจาสํานักตองรับผิดในความสูญหายหรือบุบสลายอยางใด ๆ อันเกิดแกทรัพยซึ่งคน
เดินทาง หรือแขกอาศัยหากไดพามา

3. ขอบขายของความรับผิดชอบของเจาสํานักมีเพียงใด (มาตรา 675 – 676)


3.1 กรณีไมไดฝากทรัพยสินไวกับเจาสํานักโรงแรม
(ก) รับผิดโดยไมจํากัดจํานวน เจาสํานักตองรับผิดในการที่ทรัพยสนิ ของ
คนเดินทาง หรือแขกอาศัยสูญหายหรือบุบสลายอยางใด ๆ แมถึงวาความสูญหายนั้นจะเกิดขึ้นเพราะ
ผูคนไปมาเขาออก ณ โรงแรมโฮเต็ลหรือสถานที่เชนนั้นก็ตองรับผิด
(ข) รับผิดจํากัดจํานวน หากความสูญหายบุบสลาย ดังกลาวขางตนนั้นเกี่ยว
กับ สิ่งตอไปนี้ กฎหมายกําหนดความรับผิดชอบของเจาสํานักไวเพียง 500 บาท เทานั้นคือ (1) เงิน
ตรา (2) ธนบัตร (3) ตั๋วเงิน (4) พันธบัตร (5) ใบหุน (6) ใบหุนกู (7) ประทวนสินคา (8) อัญ
มณี หรือ (9) ของมีคาอื่น ๆ เชน แหวนเพชร สายสรอย ทองคํา เปนตน
3.2 กรณีฝากทรัพยสินไวกับเจาสํานักและไดบอกราคา แหงของนั้นไวชัดแจง
หากทรัพยสินนั้นสูญหายบุบสลายเจาสํานักตองรับผิดตามราคาแหงทรัพยสินนั้น

4. ขอความยกเวนหรือจํากัดความรับผิดชอบของเจาสํานักปดไวมีผลเพียงไร
หลัก คํา แจงความที่ปดไวในโรงแรม โฮเต็ล หรือสถานที่อื่นทํานองเชนวานี้มีขอ
ความ ยกเวนหรือจํากัดความรับผิดของเจาของสํานัก ขอความดังกลาวนั้นเปนโมฆะ เวนแตคนเดินทาง
หรือแขกอาศัยจะไดตกลงดวยชัดแจงในการยกเวนหรือจํากัดความรับผิดชอบนั้น
65

5. อายุความฟองรองเรียกคาสินไหมทดแทน จากเจาสํานักอันเกี่ยวกับทรัพยสินของ คน
เดินทางหรือแขกอาศัยสูญหายหรือบุบสลาย ตองฟองเจาสํานักภายใน 6 เดือน นับแตวันที่ตน ออกจาก
สถานที่นั้น

6. ขอยกเวนความรับผิดชอบของเจาสํานักโรงแรม
6.1 กรณีทั่วไปซึ่งเจาสํานักไมตองรับผิดชอบ กรณีที่ความสูญหายหรือบุบสลาย ที่
เกิดขึ้นแกทรัพยสินของคนเดินทางหรือแขกอาศัย ในกรณีตอไปนี้เจาสํานักไมตองรับผิดคือ
(1) เหตุสุดวิสัย เชน เกิดแผนดินไหวทําใหตึกโรงแรมถลมพังทลายทับทรัพยสิน
ของผูเดินทางสูญหายหมด
(2) สภาพแหงทรัพยนั้นเอง เชน ของเนาของเสียงาย
(3) ความผิดของคนเดินทาง หรือแขกอาศัยเอง
(4) ความผิดของบริวารของคนเดินทางหรือแขกอาศัย เชน คนใชลักทรัพย นาย
จาง
(5) ความผิดของบุคคล ซึ่งคนเดินทางหรือแขกอาศัยไดตอนรับ เชน มีผูมาเยี่ยม
คนเดินทางมาถึงที่หองพักแลวแอบขโมยทรัพยสินของคนเดินทางไป ทั้งนี้เนื่องจาก คนเดินทางได
ตอนรับ บุคคลเหลานี้เอง ทางเจาของโรงแรมเองจึงไมตองรับผิด
6.2 กรณีซึ่งคนเดินทางหรือแขกอาศัยไมปฏิบัติหนาที่ตามกฎหมาย เชนมิไดกําหนด
ราคาทรัพยซึ่งไดนําฝาก หรือเมื่อพบเห็นวาสูญหายหรือบุบสลายขึ้น คนเดินทางหรือแขกอาศัยตอง
แจง ตอเจาสํานักทันที มิฉะนั้นเจาสํานักยอมพนความรับผิด

7. สิทธิของเจาสํานักโรงแรม
1. สิทธิยึดหนวงเครื่องเดินทางหรือทรัพยสินอยางอื่น ของคนเดินทางหรือแขกอาศัย
มีสาระสําคัญดังนี้
(1) ลักษณะสิทธิยึดหนวงในเรื่องวิธีการ เฉพาะสําหรับเจาสํานักโรงแรมนี้แตก
ตาง กับหลักการยึดหนวงทั่วไป

(2) หนี้อันเจาสํานักใชสิทธิยึดหนวงได
1) หนี้ที่คางชําระคาพักอาศัย
66

2) หนี้คางคาชําระเพื่อการอื่น ๆ อันเจาสํานักไดทําใหแกคนเดินทางหรือ
แขกอาศัยตามตองการ
3) หนี้คางชําระที่เจาสํานักออกทดแทนไป
(3) ลักษณะทรัพยสินที่เจาสํานักมีสิทธิยึดหนวงไดมีองคประกอบ 2 ประการคือ
1) ตองเปนทรัพยสินของคนเดินทางหรือแขกอาศัย และ
2) ตองเปนทรัพยสินซึ่งคนเดินทางหรือแขกอาศัยไดนํามาไวในโรงแรมฯ
(4) เจาสํานักมีสิทธิยึดหนวงทรัพยสินไวจนกวาจะไดรับใชเงินบรรดาที่คางแก
ตน
2. สิทธินําทรัพยสินที่ยึดหนวงออกขายทอดตลาด มีสาระสําคัญดังนี้
(1) หลักเกณฑที่ตองกระทํากอนขายทอดตลาด
1) ตองรอใหทรัพยสินอยูกับตนโดยยังมิไดรับชําระหนี้นานถึงหกสัปดาห
2) ตองประกาศโฆษณาในหนังสือพิมพประจําทองถิ่นฉบับหนึ่ง กอนวัน
ขายทอด ตลาดอยางนอยหนึ่งเดือนโดยมีขอความตอไปนี้
1. แจงความจํานงจะขายทรัพย
2. บอกลักษณะทรัพยสินที่จะขายโดยยอ
3. ถารูชื่อเจาของทรัพยสิน ก็ตองบอกดวย
(2) การขายทอดตลาด เมื่อปฏิบัติครบถวนดังกลาวขางตนแลว จัดใหมีการขาย
ทอดตลาดได
(3) เงินที่ไดจากการขายทอดตลาดเจาสํานักตองจัดสรร ดังนี้
1. ใชหนี้คางแกเจาสํานัก
2. คาฤชาธรรมเนียม
3. คาใชจายในการขายทอดตลาด
4. เงินสวนที่เหลือตองคืนเจาของ ถาเจาของบอกปดหรือไมสามารถรับได ดวย
เหตุใดก็ตาม ก็ตองนําเงินนั้นไปฝาก ณ สํานักงานฝากทรัพย

You might also like