Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่ 3 หลักสำคัญในการออกแบบสื่อดิจิทัล

หน่วยที่ 3 หลักสำคัญในการออกแบบสื่อดิจิทัล

Description: ปกหน่วยที่ 3 หลักสำคัญในการออกแบบสื่อดิจิทัล

Search

Read the Text Version

ห น่ ว ย ที่ 3 ห ลั ก สำ คั ญ ใ น ก ำ ร อ อ ก แ บ บ สื่ อ ดิ จิ ทั ล ห น้ า | 1 หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 3 หลกั สำคญั ในการออกแบบส่ือดิจทิ ัล สาระสำคญั สิง่ ทจ่ี ำเป็นสำหรับการผลิตส่อื ดิจทิ ัล คอื การออกแบบทจ่ี ะต้องเรียนรู้เก่ียวกับองคป์ ระกอบของ ส่ือดิทัล ด้วย การนำเอาข้อความ กราฟิก ภาพเคลอ่ื นไหว เสียง และวิดโี อ มาใช้ในการสรา้ งสรรค์ส่อื ดิจิทัล ให้สวยงามและนำาสนใจ รวมทงั้ การเรียนรเู้ ทคนคิ โนการออกแบบ ทร่ี ยี กวา่ ฎสามสว่ น และเร่ืองพ้นื ฐาน เก่ยี วกับสีที่ประกอบด้วย วงจรสี ทฤษฎี สี แมส่ ี และ การนำสตี ่าง ๆ มาใชใ้ นการออกแบบ สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของส่ือดจิ ทิ ัล 2. ประเภทของการออกแบบสอื่ ดิจทิ ัล 3. องค์ประกอบของส่ือดจิ ทิ ลั 4. เทคนิคการออกแบบภาพกราฟกิ 5. กฎสามสว่ น 6. ความรพู้ น้ื ฐานเกย่ี วกบั สี จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. บอกความหมายของสอื่ ดิจทิ ัลได้ 2. อธบิ ายประเภทของการออกแบบและองค์ประกอบของสือ่ ดจิ ิทัลได้ 3. อธบิ ายเทคนิคการออกแบบภาพกราฟิกได้อธิบายกฎสามส่วนและความร้พู น้ื ฐานเกย่ี วกับสไี ด้ 5. มเี จตคติและกจิ นสิ ยั ทด่ี ใี นการปฏิบัตงิ านดว้ ยความรบั ผดิ ชอบ ซื่อสัตย์ และละเอยี ดรอบคอบ สมรรถนะประจำหน่วย 1. แสดงความรเู้ กย่ี วกบั หลกั สำคญั ในการออกแบบส่ือดจิ ิทัล 2. แสดงความรเู้ ก่ยี วกบั ความรพู้ ้ืนฐานเกย่ี วกับสี 3. ใชโ้ ปรแกรมกราฟิกสำหรับผลิตสือ่ ดิจิทลั ใหเ้ หมาะสมกับงานธุรกจิ

ห น่ ว ย ที่ 3 ห ลั ก สำ คั ญ ใ น ก ำ ร อ อ ก แ บ บ สื่ อ ดิ จิ ทั ล ห น้ า | 2 แผนผังความคิด หลักสำคัญในการออกแบบสอ่ื ดิจทิ ลั (Mind Mapping) - ความหมายของสอ่ื ดิจทิ ัล - ประเภทของการออกแบบสอื่ ดจิ ิทลั - องค์ประกอบของส่อื ดจิ ิทัล - เทคนิคการออกแบบภาพกราฟิก - กฎสามสว่ น - ความร้พู ื้นฐานเก่ียวกับสี

ห น่ ว ย ที่ 3 ห ลั ก สำ คั ญ ใ น ก ำ ร อ อ ก แ บ บ ส่ื อ ดิ จิ ทั ล ห น้ า | 3 แบบทดสอบ กอ่ นเรยี น หนว่ ยที่ 3 หลกั สำคญั ในการออกแบบสือ่ ดิจทิ ลั ตอนท่ี 1 จงทำเครือ่ งหมายกากบาท (X) ลงหน้าข้อท่ีถกู ตอ้ งท่ีสุด 1. การรับรทู้ างสายตาของมนษุ ย์มกี เ่ี ปอรเ์ ซ็นต์ ก. 11% ข. 25% ค. 32% ง. 67% จ. 83% 2. การรับรู้ทางหขู องมนุษย์มีกเ่ี ปอร์เซ็นต์ ก. 11% ข. 25% ค. 32% ง. 67% จ. 83% 3. Communication Arts หมายถงึ ศิลปะดา้ นใด ก. การมองเหน็ ข. การออกแบบ ค. การส่ือสาร ง. การสรา้ งสรรค์ จ. การพัฒนา 4. Visual Communication หมายถงึ ศิลปะด้านใด ก. การมองเห็น ข. การออกแบบ ค. การสือ่ สาร ง. การสร้างสรรค์ จ. การพัฒนา 5. โปรแกรมใดท่จี ัดวา่ เปน็ โปรแกรมประมวลผลคำ ก. Maya ข. Microsoft Excel ค. Microsoft PowerPoint ง. Adobe Photoshop จ. NotePad 6. ขอ้ ใดไม่ใช่ Still Image ก. ภาพน่ิง ข. ภาพถ่าย ค. ภาพเคลอ่ื นไหว ง. ภาพลายเส้น จ. ภาพวาด

ห น่ ว ย ท่ี 3 ห ลั ก สำ คั ญ ใ น ก ำ ร อ อ ก แ บ บ สื่ อ ดิ จิ ทั ล ห น้ า | 4 7. การแสดงการเคลื่อนทขี่ องลูกสบู รถยนต์ จัดเป็นองค์ประกอบใดของสื่อดิจิทัล ก. Text ข. Audio ค. Still Image ง. Animation จ. Video 8. การสำรวจวา่ ลกู คา้ แต่ละคนมอี ายเุ ท่าไร เป็นเทคนิคในการออกแบบภาพกราฟกิ แบบใด ก. Goal ข. Symbols ค. Color ง. Text จ. Layout 9. การวางโครงร่างเปน็ เทคนคิ ในการออกแบบข้อใด ก. Goal ข. Symbols ค. Color ง. Text จ. Layout 10. กฎสามสว่ นจะประกอบด้วยเส้นกเี่ ส้น ก. 2 เสน้ ข. 3 เสน้ ค. 4 เส้น ง. 6 เส้น จ. 9 เส้น

ห น่ ว ย ที่ 3 ห ลั ก สำ คั ญ ใ น ก ำ ร อ อ ก แ บ บ สื่ อ ดิ จิ ทั ล ห น้ า | 5 1. ความหมายของสอ่ื ดจิ ิทลั สื่อดิจิทัล (Digital Media) หมายถึง สื่อที่มีการนำเอาข้อความ กราก ภาพเคลื่อนไหว เสียง และวิดีโอ มา แปลงสภาพและเชื่อมโยงเข้าด้วยกัน โดยอาศัยเทคโนโลยีความเจริญก้าวหน้าทางด้านคอมพิวเตอร์ เพื่อประโยชน์ใน การใชง้ าน 2. ประเภทของการออกแบบสอื่ ดจิ ทิ ลั การออกแบบสื่อดิจิทัล (Digital Media Design) เป็นหนึ่งในการสื่อสารแบบ Visual Communication Artsซึ่งเป็นศิลปะที่เกี่ยวข้องกับการสื่อสารทางการมองเห็น (Visual Communication) เพราะเป็นการสื่อสารไปยัง ผู้รบั สารด้วยภาพเปน็ สำคัญ (Visual mage) แม้บางองค์ประกอบจะมกี ารสอื่ สารทางเสยี งมาประกอบก็ตาม แต่สื่อหลัก ก็ยังเป็นการสื่อสารด้วยภาพ โดยเสียงเป็นตัวเสริมให้ภาพนั้นสมบูรณ์ขึ้น ทั้งนี้ เพราะการรับรู้ของมนุษย์รับรู้จากจักษุ ประสาทมากท่สี ุด คือ รบั ร้ทู างตา 83* และหู 11 ซึ่งสามารถแบ่งประเภทของการออกแบบส่อื ดิจิทัส้ ได้ ดงั นี้ 2.1 Communication Arts คอื ศาสตร์ทเี่ ก่ยี วขอ้ งกบั ศิลปะในการส่ือสาร โดยให้ความสำคญั กับการสื่อสาร จากองค์ประกอบของการสื่อสาร กล่าวคือ ผู้ส่งสาร สาร สื่อ และผู้รับสาร ซึ่งผู้ส่งสารอาจเป็นตัวบุคคล องค์กร หรือ บริษทั ก็ได้ ข่าวสารจะตอ้ งเปน็ เนื้อหาสาระที่ผู้ส่งสารตอ้ งการกระจายให้ประชาชนได้รับทราบ สื่อหรือช่องทางเป็นการ หาวธิ ีการกระจายช่าวสารต่าง ๆ ไปสกู่ ลมุ่ เป้าหมายให้ไดม้ ากและกว้างไกลตามวัตถุประสงคข์ องผู้สง่ และผู้รับสารหรือ กลมุ่ เป้าหมายจะต้องสามารถรบั ขา่ วสารน้นั ได้ โดยผู้สง่ สารจะตอ้ งหาวธิ ีการทำใหช้ ่าวสารทีส่ ง่ ไปถึงผู้รับสารได้มากท่ีสุด 2.2 Visual Communication คือ การสื่อสารด้วยการมองเห็น เป็นการสื่อสารท่ีมุ่งให้ความคิดความเขา้ ใจ ของผู้อื่นเหมือนกับความคิดความเข้าใจของตนเอง หรือทำอย่างไรจึงจะทำให้ผู้อื่นได้มีความรู้สึกนึกคิดเหมือนกัน เพราะธรรมชาติมนษุ ย์ได้รับข่าวสารอย่างเดียวกันมา แต่จะมีความเข้าใจและความรู้สกึ นึกคิดแตกต่างกันออกไป การ สื่อสารที่ดีต้องมีการวางแผนโดยสิ่งที่ Visual Communication เห็นนั้นได้สื่อสารผ่านภาพ (Image) เครื่องหมาย (Signs) ตัวพิมพ์ (Typography) ภาพวาด (Drawing) ออกแบบกราฟกิ (Graphic Design) ภาพประกอบ (Illustration) สี (Color) และทรพั ยากร อิเลก็ ทรอนกิ ส์ (Electronic Resources) เป็นต้น 2.3 Digital Media Design หรือการออกแบบสอื่ ดิจิทลั หมายถึง การสรา้ งสรรค์ผลงานในเชงิ นิเทศศลิ ปเ์ พื่อ สื่อสารสิ่งต่าง ๆ ให้กับผู้รับสาร โดยใช้สื่อระบบดิจิทัลในกระบนการออกแบบและการสื่อสาร การออกแบบด้วยส่ือ ดิจิทัลแบ่งเป็น 2 ลกั ษณะ คอื 2.3.1 ผลงานการออกแบบสิ่งพิมพ์ด้วยสื่อดิจิทัล เช่น หนังสือ นิตยสาร วารสาร ภาพโฆษณา เคร่อื งหมายการค้าตราสญั ลักษณ์ บรรจุภณั ฑ์ เป็นต้น 2.3.2 ผลงานการออกแบบเพื่อนำไปใช้สื่อดิจิทัลโดยตรง เช่น เว็บเพจ (Web Page) แบนเนอร์ (Banner) แอนิเมชัน (Animation) จดหมายข่าวอิเล็กทรอนิกส์ (E-Newsletter) บล็อก (Blog) หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E- Book) ภาพพ้นื หลงั (Wallpaper) วิดีโอ (Video) เปน็ ต้น 3. องค์ประกอบของสือ่ ดจิ ทิ ลั องค์ประกอบของสอื่ ดิจิทัล ประกอบด้วยพื้นฐาน 5 ชนดิ ไดแ้ ก่

ห น่ ว ย ท่ี 3 ห ลั ก สำ คั ญ ใ น ก ำ ร อ อ ก แ บ บ ส่ื อ ดิ จิ ทั ล ห น้ า | 6 3.1 ข้อความ (Text) เป็นส่วนที่เกี่ยวกับเนื้อหาของมัลติมีเดีย ใช้แสดงรายละเอียด หรือเนื้อหาของเรื่องท่ี นำเสนอ ถือว่าเป็นองค์ประกอบพื้นฐานที่สำคัญของมัลติมีเดีย ระบบมัลติมีเดียที่นำเสนอผ่านจอภาพของเครื่ อง คอมพิวเตอร์ รูปแบบและสีของตัวอักษรให้เลอื กจำนวนมากตามความตอ้ งการแลว้ ยงั สามารถกำหน การปฏิสัมพันธ์ใน ระหวา่ งการนำเสนอไดอ้ กี ด้วย ซงึ่ ปจั จุบนั มหี ลายรูปแบบ ได้แก่ 3.1.1 ข้อความที่ได้จากการพิมพ์ เป็นข้อความปกติที่พบได้ทั่วไป ได้จากการพิมพ์ด้วยโปรแกรม ประมวลผลคำ (Word Processor) เช่น NotePad Text Editor Microsoft Word โดยตัวอักษรแต่ละตัวเก็บในรหัส เชน่ ASCI เป็นต้น 3.1.2 ข้อความจากการสแถน เป็นข้อความในลักษณะภาพ (Image) ได้จากการนำเอกสารที่พิมพ์ไว้ แล้ว (เอกสารตนั ฉบบั ) มาสแกนด้วยเครอื่ งสแกนเนอร์ (Scanner) ซ่ึงจะไดผ้ ลออกมาเป็นภาพ 1 ภาพ ปัจจุบันสามารถ แปลงขอ้ ความภาพเปน็ ข้อความปกติได้ โดยอาศัยโปรแกรม OCR ขอ้ ความอิเลก็ ทรอนิกส์ เป็นขอ้ ความท่ีพฒั นาใหอ้ ยู่ใน รูปของสือ่ ทีใ่ ชป้ ระมวลผลได้ 3.1.3 ข้อความไฮเปอร์เท็กซ์ (Hyper Text) เป็นรูปแบบของข้อความที่ได้รับความนิยมสูงมากใน ปจั จุบันโดยเฉพาะการเผยแพร่เอกสารในรูปของเอกสารเว็บ เน่ืองจากสามารถใช้เทคนิคการลงิ กห์ รือเช่ือมช้อความไป ยังขอ้ ความหรือจุดอนื่ ๆ ได้ 3.2 เสยี ง (Audio) ถูกจัดเก็บอยใู่ นรูปของสญั ญาณดจิ ิทัลซง่ึ สามารถเลน่ ซ้ำกลบั ไปกลบั มาได้ โดยใช้โปรแกรม ทีอ่ อกแบบมาโดยเฉพาะสำหรับทำงานดา้ นเสยี ง หากในงานมัลติมีเดียมกี ารใชเ้ สียงที่เร้าใจและสอดคล้องกับเนื้อหาใน การนำเสนอจะช่วยใหร้ ะบบมลั ติมีเดยี นนั้ เกิดความสมบูรณ์แบบมากยิ่งขน้ึ นอกจากนี้ ยังชว่ ยสร้างความน่าสนใจและน่า ติดตามในเรอ่ื งราวต่าง ๆ ไดเ้ ปน็ อย่างดี ท้ังนี้ เนื่องจากเสยี งมีอิทธิพลต่อผู้ใชม้ ากกว่าชอ้ ความหรอื ภาพน่ิง ดังนั้น เสียง จงึ เป็นองคป์ ระกอบทีจ่ ำเปน็ สำหรบั มลั ติมเี ดียซึ่งสามารถนำเขา้ เสยี งผา่ นทางไมโครโฟน แผน่ ซดี ี ดวี ดี ี และวทิ ยุ เปน็ ต้น 3.3 ภาพนิ่ง (Stll Image) เป็นภาพที่ไมม่ ีการเคลื่อนไหว เช่น ภาพถ่าย ภาพวาด และภาพลายเส้น เป็นตน้ ภาพนิ่งนับวา่ มีบทบาทตอ่ ระบบงานมัลติมีเดียมากกว่าข้อความหรือตัวอักษร เนื่องจากภาพจะให้ผลในเชิงการเรยี นรู้ หรอื รบั รดู้ ว้ ยการมองเห็นไดด้ ีกว่า นอกจากน้ี ยังสามารถถ่ายทอดความหมายไดล้ กึ ซ้ึงมากกว่าชอ้ ความหรือตัวอักษร ซ่ึง ข้อความหรอื ตวั อกั ษรจะมีข้อจำกัดทางด้านความแตกต่างของแต่ละภาษา แตภ่ าพนัน้ สามารถส่ือความหมายได้กับทุก ชนชาติ ภาพนง่ิ มกั จะแสดงอยูบ่ นสอื่ ชนดิ ตา่ ง ๆ เชน่ โทรทศั น์ หนังสอื พมิ พห์ รือวารสารวชิ าการ เป็นต้น 3.4 ภาพเคลอ่ื นไหว (Animation) ภาพกราฟิกทมี่ ีการเคลอ่ื นไหวเพ่ือแสดงขนั้ ตอนหรือปรากฏการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง เช่น การเคลื่อนที่ของลูกสูบของเครื่องยนต์ เป็นต้น ทั้งนี้ เพื่อสร้างสรรค์จินตนาการให้เกิด แรงจูงใจจากผู้ชม การผลิตภาพเคลื่อนไหวจะต้องใช้โปรแกรมที่มีคุณสมบัติเฉพาะทางซึ่งอาจมีปัญหาเกิดขึ้นอยู่บ้าง เกย่ี วกับขนาดของไฟล์ท่ตี ้องใช้พนื้ ทีใ่ นการจัดเก็บมากกวา่ ภาพน่ิงหลายเทา่ 3.5 วิดีโอ (Video) เป็นองค์ประกอบของมัลติมีเดียที่มีความสำคัญเป็นอย่างมาก เนื่องจากวิดีโอในระบบ ดิจิทัลสามารถนำเสนอข้อความหรือรูปภาพ (ภาพนิ่งหรือภาพเคลื่อนไหว ประกอบกับเสียงได้สมบูรณ์มากกว่า องค์ประกอบๆ อยา่ งไรก็ตาม ปัญหาหลักของการใช้วิดีโอในระบบมลั ติมีเดีย คือ การสิน้ เปลืองทรัพยากรหนว่ ยความจำ เป็นจำนวนมาก เนอื่ งจากการนำเสนอวิดีโอด้วยเวลาที่เกิดขึ้นจรงิ (Real-Time) จะต้องประกอบดว้ ยจำนวนภาพไม่ต่ำ กว่า 30 ภาพต่อวินาที (Frame/Second) ถ้าหากการประมวลผลภาพดังกล่าวไม่ได้ผ่านกระบวนการบีบอัดขนาดของ สัญญาณมากอ่ น การนำเสนอภาพเพียง 1 นาที อาจต้องใช้หน่วยความจำมากกว่า 100 MB ไฟลม์ ีขนาดใหญ่เกินขนาด และมปี ระสิทธภิ าพในการทำงานทีด่ ้อยลง

ห น่ ว ย ท่ี 3 ห ลั ก สำ คั ญ ใ น ก ำ ร อ อ ก แ บ บ สื่ อ ดิ จิ ทั ล ห น้ า | 7 4. เทคนิคการออกแบบภาพกราฟกิ งานออกแบบภาพกราฟิก (Design Graphic) เป็นงานที่มีความละเอียดในส่วนต่าง ๆ เป็นการถ่ายทอด ศิลปะเครื่องมอื การทำงานทีร่ ียกว่าคมพิวเตอร์ ซึง่ สามารถเหน็ งานกราฟกิ จำนวนมากทว่ั โลก ทัง้ กราสื่อสิ่งพมิ พ์ กราฟิก รูปแบบของภาพเคลื่อนไหว กราฟิกในส่วนของเว็บไซค์ แบนเนอร์ โบรชัวร์ต่าง ๆ แต่งานกราฟิกที่มีคุณค่า สื่อ ความหมายนั้นต้องมีคุณสมบัติใดบ้าง ความสวยงามของชิ้นงานเปน็ ส่วนสำคัญ จงึ ต้องมีเทคนคิ ในการออกแบบกราฟิก ดงั นี้ 4.1 กลุ่มเป้าหมาย (Goal) การจัดทำกราฟิกขึ้นแต่ละชิน้ ต้องมีการวางแผนถงึ กลุ่มเป้าหมาย คือ ผู้รับสาร ว่าจะเป็นกลุ่มคนประเภทใด อายุเท่าใด และมีความสนใจในเร่อื งไหน จึงจะสามารถเข้าใจในส่ิงที่ส่อื สารออกไปผ่านรปู ภาพ หรอื ตวั หนงั สือได้ 4.2 สญั ลกั ษณ์ในการสอื่ ความหมาย (Symbols) สัญลักษณ์ คือ การใช้วัตถุ สิ่งของ สัตว์ต่าง ๆ รส ภาพ เข้ามาเป็นตัวแปรในการสื่อความหมายในชิ้นงานนนั้ เปน็ การเพ่ิมลกู เลน่ ชวนให้คนดูคิดตาม มสี ่วนรว่ มไปกบั ชั้นงาน เปน็ ทักษะที่สำคัญที่นักกราฟิกจำเป็นต้องมีเหมือนเป็น การมีช้ันเชงิ ในการออกแบบท่โี ดดเด่นกวา่ บุคคลอน่ื 4.3 ลักษณะการใชส้ ี (Color) การใชส้ ีในการออกแบบงานกราฟิก นักออกแบบกราฟิกควรรู้ความหมายเกยี่ วกบั สีในวรรณะต่าง ๆ ก่อนแล้ว นำมาประยุกต์ใชใ้ ห้เขา้ กบั งาน เพ่อื ใหง้ านช้ินนน้ั สือ่ ความหมายได้อยา่ งชัดเจน การใช้สีในงานแตล่ ะงาน ไมค่ วรเกนิ 3-5 เฉดสี เพื่อเปน็ การคมุ โทนสแี ละมีทิศทางไปในแบบเดยี วกนั ไมใ่ ชส้ มี ากจนเกนิ ไป แตท่ ้ังนี้การใช้สีขึ้นอยู่กับรูปแบบของ งาน เช่น ต้องการแบบคัลเลอรฟ์ ลู (Colorful) การใช้สีจะตอ้ งมีหลากหลาย สีฉดู ฉาด สบี นงานจะตอ้ งดูสดใส 4.4 การใชต้ ัวอักษร (Text) การใช้ตัวอักษรในงานกราฟิกเป็นส่วนทีส่ ื่อความหมายอย่างตรงตัวมากที่สุด ผู้อ่านจะต้องเข้าใจโดยง่ายซ้อน การใช้ฟอนต์ตวั หนังสือเช่นเดียวกันควรเลือฟอนให้เข้ากับลักษณะงาน เช่น งานราชการ งานกึ่งานตามไลฟส์ ไตล์ของ องคก์ รต่าง ๆ 4.5 ลกั ษณะการจัดวางโครงร่าง (Layout) ก่อนสรา้ งงานขึ้นมาได้แต่ละน ต้องมีการวางโครงร่างกอ่ น หากต้องการสร้างบ้านต้องมีการออกแบบโครงร่าง ของบ้าน งานกราฟิกเช่นเดียวกันจำเป็นต้องวางโครงรา่ ง (Layout) ว่าในแต่ละส่วนจะนำอะไรลงไปบ้าง เช่น ในส่วน ของแบนเนอร์ ด้านข้าง ด้านล่าง เพื่อเป็นการตีกรอบไม่ให้งานหลุดออกจากประเดน็ ที่ต้องการจะสื่อ รวมไปถึงการจัด วางของพื้นท่ีไม่ใหร้ กและว่างจนเกินไป 5. กฎสามสว่ น กฎสามส่วน หรอื Rule of Thirds เปน็ ทฤษฎีในการจัดตำแหน่งองค์ประกอบของภาพ ไมใ่ ห้อยตู่ รงกลางภาพ จนทำให้ภาพดแู ข็งไม่นา่ มอง กฎสามสว่ น จึงเป็นตัวช่วยในการจัดวางตำแหนง่ ให้องค์ประกอบอยู่ตรงจุดตัดระหว่างเส้น สำหรับผู้เริ่มต้นไมว่ ่าจะออกแบบหรือถา่ ยภาพ ควรใช้ทฤษฎีต่าง ๆ ที่มีอยู่เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งในกระบวนการคิดงาน การเรยี นรกู้ ฎสามส่วนถอื วา่ เป็นทฤษฎที ใี่ ช้งานได้จริงและใชบ้ ่อยมากในชวี ติ ประจำวัน

ห น่ ว ย ท่ี 3 ห ลั ก สำ คั ญ ใ น ก ำ ร อ อ ก แ บ บ สื่ อ ดิ จิ ทั ล ห น้ า | 8 กฏสามส่วน (Rule of Thirds) คอื การสรา้ งเส้น 4 เส้นข้ึนมาตามสดั ส่วนทก่ี ำหนด จดุ ตดั ของแตล่ ะเส้นนัน้ คือ จดุ ทีค่ วรวางองคป์ ระกอบลงไป จุดประสงคข์ องกฎสามสว่ น (Rule of Thirds) คอื จดุ ท่ชี ว่ ยสรา้ งความสมดุลและความ ลงตัวของภาพเมื่อออกแบบหรือถ่ายภาพ จึงมักจะพบกับเสันกฎสามส่วนได้ที่ช่องมองภาพ (Viewinder) ของกล้อง ถ่ายรปู เสมอ หรือแม้แต่ภาพเคลื่อนไหว (Application) สำหรับการถา่ ยภาพบนโทรศัพทม์ ือถือสามารถพบกฎสามส่วน ได้เช่นเดียวกันการจัดวางตำแหน่งหลักของภาพถ่าย เปน็ องคป์ ระกอบหนึ่งที่สามารถทำให้เกดิ ผลทางด้านแนวความคิด และความร้สู ึกไดก้ ารวางตำแหนง่ ทเ่ี หมาะสมของจดุ สนใจในภาพเป็นอีกส่งิ หน่งึ ที่สำคัญ และทน่ี ยิ มกนั โดยทว่ั ไป คอื กฎ สามส่วน กฎสามส่วนกล่าวไว้ว่า ไม่ว่าภาพจะอยู่แนวตั้งหรือแนวนอนกต็ าม หากแบ่งภาพน้ันออกเปน็ สามส่วน ทั้งตาม แนวตั้งและแนวนอน แล้วลากเส้นแบ่งภาพทั้งสามเสันจะเกิดจุดตัดกันทั้งหมด 4 จุด ซึ่งจุดตัดของเส้นทั้งสี่นี้ เป็น ตำแหน่งท่ีเหมาะสมสำหรับการจดั วางวัตถุที่ต้องการเน้นใหเ้ ปน็ จดุ เด่นหลกั สว่ นรายละเอยี ดอนื่ ๆ นัน้ เป็นส่วนสำคญั ที่ รองลงมา หลักการของการจัดวางตำแหน่งของภาพ อาจแบ่งไดด้ งั นี้ 1) การจดั วางตำแหนง่ จดุ เด่นหลกั ไมจ่ ำเป็นตอ้ งจำกดั มากนกั อาจกำหนดบรเิ วณใกล้เคยี งทั้งสีจ่ ุดน้ี 2) การจัดวางบริเวณจุดตัดทั้งหมด จุดสนใจของรูปภาพส่วนใหญ่จะอยู่บริเวณจุดตัด ซึ่งจะทำให้ภาพดู สมบรู ณ์ 3) การใชแ้ นวเสน้ แบง่ 1 : 3 ซึง่ สามารถใชแ้ นวเส้นแบ่ง 3 เสน้ นีเ้ ปน็ แนวในการจัดสัดสว่ นการจัดวางเส้นขอบ ฟ้าให้อยใู่ นแนวเสน้ แบ่ง โดยใหส้ ว่ นพืน้ ดินและท้องฟ้าอย่ใู นอัตราสว่ น 3 : 1 หรอื 1 : 3 แตไ่ ม่ควรแบง่ 1 : 1 4) การจัดวางตำแหน่งตรงจุดสนใจ ซึ่งจะอยู่เฉพาะบริเวณจุดตัดใดจุดตัดหนึ่ง ทำให้ภาพดูสมบูรณ์ และ น่าสนใจย่ิงขน้ึ และยังสามารถนำไปประยกุ ต์ใช้ในการจัดองคป์ ระกอบภาพอื่น ๆ โดยใชห้ ลกั การเดียวกัน 6. ความรูพ้ ืน้ ฐานเกีย่ วกับสี ความหมายของสี สี (Color) หมายถึง ลกั ษณะกระทบต่อสายตาใหเ้ ห็นเป็นสี มผี ลตามจิตวทิ ยา คือ มอี ำนาจใหเ้ กดิ ความเขม้ ของ แสงที่อารมณ์และความรู้สึกได้ การที่ได้เห็นสีจากสายตาจะส่งความรู้สึกไปยังสมองทำให้เกิดความรู้สึกต่าง ๆ ตาม อิทธิพลของสี เช่น สดชื่น ร้อน ตื่นเต้น เศร้า สีมีความหมายอย่างมากเพราะศิลปินต้องการใช้สีเป็นสื่อสร้างความ ประทบั ใจในผลงานของศลิ ปะและสะท้อนความประทบั ใจนน้ั ใหบ้ ังเกดิ แก่ผดู้ ู มนษุ ยเ์ กยี่ วช้องกบั สีต่าง ๆ อยู่ตลอดเวลา เพราะทุกสิ่งที่อยู่รอบตัวนั้นล้วนแต่มีสีสันแตกต่างกัน สีเป็นสิ่งที่ควรศึกษาเพื่อประโยชน์กับตนเองและผู้สร้างงาน จิตรกรรมเพราะเร่อื งราวของสนี นั้ มีหลักวชิ าเปน็ วิทยาศาสตร์ จงึ ควรทำความเขา้ ใจวทิ ยาศาสตร์ของสีเพราะจะส่งผลให้ การใช้สีจุผลสำเรจ็ ในงานมากข้ึน หากยังไมเ่ ขา้ ใจเรอ่ื งสีดพี อสมควร ถ้ไดศ้ ึกษาองสีดีแล้ว งานศลิ ปะจะประสบความเป็น อย่างย่ิง คณุ ลักษณะของสี

ห น่ ว ย ท่ี 3 ห ลั ก สำ คั ญ ใ น ก ำ ร อ อ ก แ บ บ ส่ื อ ดิ จิ ทั ล ห น้ า | 9 1) สีแท้ (Hue) คอื สที ี่ยังไมถ่ กู สอี ่ืนเขา้ ผสม เปน็ ลักษณะของสแี ท้ที่มีความสะอาดสดใส เช่น สแี ดง สเี หลือง สี น้ำเงิน 2) สีออ่ นหรือสจี าง (Tint) ใชเ้ รียกสแี ท้ทถี่ กู ผสมด้วยสขี าว เชน่ สีเทา สชี มพู 3) สีแก่ (Shade) ใช้เรียกสแี ท้ที่ถูกผสมดว้ ยสีดำ เช่น สนี ำ้ ตาล ทฤษฎสี ี ทฤษฎีสี (Theory of Color) หมายถึง ทฤษฎีของแม่สีที่เป็นต้นกำเนิดของการผสมสีเพื่อให้เกิดเป็นสีแล้ว นำไปใชส้ รา้ งงานศิลปะหรอื งานออกแบบแขนงตา่ ง ๆ แมส่ ี (Primaries) สตี า่ ง ๆ นน้ั มอี ยูจ่ ำนวนมากแหลง่ กำเนดิ ของสีและวธิ ีการผสมของสีตลอดจนความรู้สึกท่ีมี ต่อสีของมนุษย์แต่ละกลุ่มย่อมมีความแตกต่างกัน สีต่าง , ที่ปรากฎย่อมเกิดขึ้นจากแม่สีในลักษณะที่แตกต่างกันตาม ชนิดและประเภทของสนี นั้ แม่สี คือ สีที่นำมาผสมกันแล้วทำใหเ้ กิดสใี หมท่ มี่ ีลกั ษณะแตกต่างไปจากสเี ดมิ แมส่ ี มีอยู่ 2 ชนิด คอื 1) แม่สขี องแสง เกดิ จากการหกั เหของแสงผ่านแทง่ แกว้ ปรซิ มึ มี 3 สี คอื สีแดง สเี หลอื ง และสนี ำ้ เงนิ อย่ใู นรปู ของแสงรังสี ซึง่ เป็นพลังงานชนดิ เดียวที่มีสี คุณสมบัติของแสงสามารถนำมาใช้ในการถ่ายภาพ ภาพโทรทัศนก์ ารจัดแสง สใี นการแสดงตา่ ง ๆ ฯลฯ 2) แมส่ วึ ตั ถุธาตุ เปน็ สที ่ีได้มาจากธรรมชาติ และจากการสังเคราะห์โดยกระบวนการทางเคมี มี 3 สื คือ สีแดง สเี หลือง และสนี ำ้ เงิน แมส่ ีวตั ถธุ าตุเป็นแม่สีที่นำมาใช้งานกันอย่างกว้างขวางในวงการศิลปะ วงการอุตสาหกรรม ฯลฯ แมส่ ีวัตถธุ าตุ เม่ือนำมาผสมกนั ตามหลักเกณฑ์จะทำใหเ้ กดิ วงจรสี ซ่ึงเป็นวงสีธรรมชาติเกิดจากการผสมกนั ของ แม่สวี ัตถธุ าตุ ซงึ่ เป็นสหี ลกั ท่ีใชง้ านกันท่วั ไป ในวงจรสจี ะแสดงสตี า่ ง ๆ ดังตอ่ ไปน้ี สขี ้นั ท่ี 1 คอื แมส่ ี ไดแ้ ก่ สีแดง สีเหลือง สีนำ้ เงิน สีขนั้ ที่ 2 คือ สที เี่ กดิ จากสขี ัน้ ท่ี 1 หรอื แมส่ ผี สมกันในอัตราสว่ นท่เี ท่ากัน จะทำให้เกิดสีใหม่ 3 สี ไดแ้ ก่ สีแดง + สเี หลอื ง = สัสม้ สีแดง + สีนำ้ เงนิ = สมี ว่ ง สเี หลอื ง + สีน้ำเงนิ = สีเขยี ว สีข้นั ที่ 3 คอื สที ีเ่ กิดจากสชี นั้ ที่ 1 ผสมกับสชี ั้นที่ 2 ในอัตราส่วนท่ีเทา่ กัน จะไดส้ ีอืน่ ๆ อีก 6 สี ไดแ้ ก่ สีแดง + สีส้ม = สีแดงสม้ สแี ดง + สมี ่วง = สีแดงม่วง สีเหลือง + สเี ขียว = สเี หลืองเขยี ว สีนำ้ เงนิ + สเี ขียว = สีน้ำเงินเขียว สีน้ำเงนิ + สีมว่ ง = สนี ้ำเงนิ ม่วง

ห น่ ว ย ที่ 3 ห ลั ก สำ คั ญ ใ น ก ำ ร อ อ ก แ บ บ สื่ อ ดิ จิ ทั ล ห น้ า | 10 สเี หลือง + สสี ้ม = สีเหลอื งส้ม ระบบสี RGB ระบบสี RGB เป็นระบบสขี องแสง ซึง่ เกดิ จากการหักเหของแสงผ่านแทง่ แกว้ ปริซมึ จนเกิดแถบสีที่เรยี กว่า สีรุ้ง (Spectrum) โดยแยกสตี ามท่ีสายตามองเหน็ ได้ 7 สี คือ แดง แสด เหลือง เขยี ว นำ้ เงนิ คราม ม่วง ซ่งึ เป็นพลังงานอยู่ ในรปู ของรังสีทีม่ ีช่วงคลนื่ ท่ีสายตาสามารถมองเหน็ ได้ แสงสีม่วงมคี วามถี่คลืน่ สูงที่สุด คลื่นแสงที่มีความถ่ีสูงกว่าแสงสี ม่วง เรียกว่า อัลตราไวโอเลต (UItra Violet) และคลื่นแสงสีแดง มีความถี่คลื่นต่ำที่สุด คลื่นแสงที่ต่ำกว่าแสงสีแดง เรียกวา่ อินฟราเรด (Infrared) คลืน่ แสงท่มี ีความถี่สงู กว่าสีมว่ งและตำ่ กวา่ สีแดงน้ัน สายตาของมนุษยไ์ ม่สามารถรบั ได้ เมื่อศึกษาแล้วพบวา่ แสงสที งั้ หมดเกิดจากแสงสี 3 สี คือ สีแดง (Red) สนี ้ำเงิน (Blue) และสีเขียว (Green) ทั้ง สามสีถือเป็นแมส่ ขี องแสง เมือ่ นำมาฉายรวมกนั จะทำให้เกดิ สึใหมอ่ กี 3 สี คือ สแี ดงมาเจนตา สฟี า้ ไซแอน และสเี หลือง และถา้ ฉายแสงสีท้งั หมดรวมกันจะไดแ้ สงสขี าว จากคณุ สมบัติของแสงนี้ไดน้ ำมาใชป้ ระโยชน์ท่วั ไปในการฉายภาพยนตร์ การบันทึกภาพวิดีโอ ภาพโทรทัศน์ การสร้างภาพเพื่อการนำเสนอทางจอคอมพิวเตอร์ และการจัดแสงสีในการแสดง ฯลฯ รหสั สี รหสั คา่ สที ีใ่ ชก้ บั เว็บไซคห์ รือคอมพิวเตอร์ จะถกู แบ่งออกเป็นชุด โดยมี 3 ชดุ ซงึ่ ทง้ั 3 ชุดถกู แบง่ ออกตามระบบ แมส่ ี RGB ดงั นี้ 1) ชุดเลข 2 ตัวแรก จะบอกถงึ สแี ดง (R) 2) ชุดเลข 2 ตวั กลาง จะบอกถงึ สเี ขยี ว (G) 3) ชดุ เลข 2 ตวั สดุ ท้าย จะบอกถึงสีนำ้ เงนิ (B) และตามหลักการการเขยี นโค้ดรหสั สนี ้ัน ทหี่ น้ารหัสค่าสีจะต้องข้ึนตันด้วยเครอ่ื งหมายชารป์ (#) จากตวั อยา่ งคา่ สขี ้างต้นเปน็ การเขยี นและบอกถึงค่าสีต่าง ๆ ดังน้ี #FF0000 เป็นรหัสค่าสีของสแี ดง (Red) เนื่องจากกำหนดให้เลข 2 ตัวแรกเป็น FF ซึ่งเป็นตัวเลขสูงที่สุดใน ระบบเลขฐาน 16 และกำหนดให้สใี นชดุ อนื่ ๆ มคี า่ น้อยที่สุด โดยกำหนดเป็นเลข 0 ทำใหส้ ที ีแ่ สดงออกมาเปน็ \"สีแดง\" #0OFF0O เป็นรหัสค่าสขี องสเี ชยี ว (Green) เน่ืองจากกำหนดให้เลข 2 ตวั กลางเป็น FF ซึ่งเป็นตัวเลขสูงท่ีสุด ในระบบเลซฐาน 16 และกำหนดให้สีในชุดอื่น ๆ มีค่าน้อยที่สุด โดยกำหนดเป็นเลข 0 ทำให้สีที่แสดงออกมาเป็น \"สี เขียว\" #0000FF เป็นรหสั ค่าสขี องสีเขยี ว (Blue) เนอื่ งจากกำหนดใหเ้ ลข 2 ตัวสดุ ทา้ ยเป็น FF ซ่งึ เป็นตัวเลขสูงที่สุด ในระบบเลชฐาน 16 และกำหนดใหส้ ใี นชุดอื่น ๆ มีค่าน้อยท่สี ุด โดยกำหนดเป็นเลข 0 ทำให้สีทแี่ สดงออกมาเป็น \"สีน้ำ เงิน\" #000000 เป็นรหัสสีของสีดำ (Black) เน่ืองจากค่าสใี นระบบ RGB ท้ัง 3 ถกู กำหนดให้มีคา่ ตำ่ ท่ีสุดน้ัน คอื เลข 0 ทำใหแ้ สงทีจ่ ะมาผสมเปน็ ค่าสนี ัน้ มีความมืดทึบ ซึง่ ความมดื ทึบน้ัน คือ \"สีดำ\" #FFFFFF เปน็ รหสั คา่ สีของสขี าว (White) เนื่องจากคา่ สใี นระบบ RGB ทั้ง 3 ถูกกำหนดให้มีค่าสูงทส่ี ดุ นั้น คือ เลข F ทำใหแ้ สงที่จะมาผสมเปน็ ค่าสีนั้น มคี วามสวา่ งมากทีส่ ุด จงึ เกดิ เปน็ \"สขี าว\" ข้ึน การผสมกันของรหัสสี ระบบสี CMYK ระบบสี CMYK ซึ่งเป็นสีที่ใช้กับเครื่องพิมพ์ CMYK ย่อมาจาก Cyan (ฟ้า) Magenta (แดงอมม่วง) Yellow (เหลือง) Key (สดี ำ ไม่ไดใ้ ช้ B Black) ระบบสี CMYK น้ัน เหมาะสำหรับงานพิมพ์ เช่น หนังสอื โปสเตอร์ แผ่นพับหรือ งานไวนลิ ทั่วไป สรปุ คอื งานทุกอยา่ งท่ตี อ้ งพิมพ์ออกมาจะใชร้ ะบบสเี ปน็ CMYK

ห น่ ว ย ที่ 3 ห ลั ก สำ คั ญ ใ น ก ำ ร อ อ ก แ บ บ ส่ื อ ดิ จิ ทั ล ห น้ า | 11 สีทใ่ี ช้ในการออกแบบ สีทเ่ี หมาะสำหรบั การออกแบบจะแยกเปน็ ชดุ เพอื่ ใหส้ ามารถนำไปใชง้ านได้อยา่ งถกู ตอ้ งและสวยงาม ดังนี้ Web Guide http://www.krukikz.com/3-color-mode https://www.marketingoops.com/campaigns/design/color-schemes-marketing-design- psychology/ https://bit.ly/3yQKyv8 เกรด็ ความรู้ สอ่ื ดจิ ทิ ัลในรปู แบบสง่ิ พมิ พ์ดิจิทลั ท่พี บเหน็ บอ่ ยทีส่ ดุ อาจแบ่งได้ 3 รปู แบบ ไดแ้ ก่ 1. Interactive PDF คือ สิ่งพิมพ์ในรูปแบบ PDF ที่ถูกเพิ่มเติมคุณสมบัติให้กับเนื้อหา อาทิ ภาพเคลื่อนไหว เสยี งหรอื ลงิ ก์ทเ่ี ชื่อมต่อรา้ นค้าออนไลนใ์ หพ้ รอ้ มชว่ ยปิดการขายไดท้ ันที

ห น่ ว ย ที่ 3 ห ลั ก สำ คั ญ ใ น ก ำ ร อ อ ก แ บ บ สื่ อ ดิ จิ ทั ล ห น้ า | 12 2. Mobile Publishing คอื การจัดพมิ พ์ทีม่ ุ่งเผยแพร่เน้อื หาใหก้ ับกลุ่มผ้ใู ชเ้ ท็บเล็ตและสมาร์ตโฟน ใช้งานผ่าน โมไบสแ์ อปซ่ึงพฒั นาให้รองรบั iOS หรอื Android หรือท้ังคู่ 3.Web Publishing คือ การจัดพิมพ์ที่มุ่งเผยแพร่เนื้อหาให้กับกลุ่มผู้ใช้อุปกรณ์พกพา ใช้งานผ่านเว็บ เบราว์เซอรเ์ ท่าน้ันทุกเน้ือหาเขา้ ถึงไดท้ ุกท่ที ุกเวลาทม่ี ีสญั ญาณอินเทอรเ์ น็ต สรุปประเดน็ สำคัญ สื่อดิจิทัล (Digital Meda) หมายถึง สื่อที่มีการนำเอาข้อความ กราฟิก ภาพเคลื่อนไหว เสียง และวิดีโอ มาแปลงสภาพและเชื่อมโยงเขา้ ด้วยกัน โดยอาศัยเทคโนโลยีความเจรญิ กัาวหน้าทางด้านคอมพิวเตอร์ เพื่อประโยชน์ ในการใช้งาน ประเภทของการออกแบบสื่อดจิ ทิ ลั แบ่งได้ดงั น้ี 1. Communication Arts 2. Visual Communication 3. Digital Media Design องค์ประกอบของสือ่ ดจี ทิ ัล ประกอบด้วยพื้นฐาน 5 ชนดิ ได้แก่ 1. ขอ้ ความ (Text) 2. เสยี ง (Audio) 3. ภาพนง่ิ (Still Image) 4. ภาพเคลอื่ นไหว (Animation) 5. วิดโี อ (Video) เทคนิคในการออกแบบกราฟิก มีดังนี้ 1. กลมุ่ เปา้ หมาย (Goal) 2. สญั ลักษณใ์ นการส่อื ความหมาย (Symbols) 3. ลกั ษณะการใชส้ ี (Color) 4. การใช้ตัวอักษร (Text) 5. ลกั ษณะการจดั วางโครงรา่ ง (Layout) กฎสามสว่ น (Rule of Thirds) คือ การสร้างเสัน 4 เสน้ ขึน้ มาตามสัดส่วนทกี่ ำหนด จดุ ตัดของแต่ละเส้นน้ัน คอื จุดท่ีควรวางองคป์ ระกอบลงไป สี (Color) หมายถึง ลักษณะกระทบต่อสายตาให้เหน็ เปน็ สีมีผลถึงจิตวิทยา คือ มีอำนาจใหเ้ กิดความเข้มของ แสงที่อารมณ์และความรู้สึกได้ การที่ได้เห็นสีจากสายตาจะส่งความรู้สึกไบยังสมองทำให้เกิดความรู้สึกต่าง ๆ ตาม อิทธิพลของสี กิจกรรมเสนอแนะ 1. ให้ผเู้ รยี นแบ่งกล่มุ กลมุ่ ละเทา่ ๆ กนั จำนวน 3-5 กลมุ่ คน้ ควา้ หาความรู้เกยี่ วกบั ทฤษฎีสี แล้วนำเสนอหน้า ชัน้ เรียน

ห น่ ว ย ท่ี 3 ห ลั ก สำ คั ญ ใ น ก ำ ร อ อ ก แ บ บ สื่ อ ดิ จิ ทั ล ห น้ า | 13 2. ให้ผเู้ รียนบอกจติ วิทยาสึ คนละ 1 สี แล้วนำเสนอหนา้ ชั้นเรียน กรณศี กึ ษา นายสมชายเป็นคนเรียนแก่ง แต่ไม่ค่อยชอบการเล่นกีฬา เพื่อน ๆ มักจะชวนให้เล่น นายสมชายไปร่วมด้วย ความรู้สึกที่ไม่ค่อยจะเต็มใจเท่าใดนัก ทุกครั้งที่ไปเล่นจะเห็นเพื่อน ๆ มีความสุข แต่สังเกตว่า ชุดกีฬาของเพื่อนแตล่ ะ คน ไม่สวย ไมเ่ ป็นทป่ี ระทับใจ จึงคดิ ท่ีจะออกแบบเส้ือกฬี าให้เพือ่ น ๆ การวิเคราะห์ 1. นิสัยของนายสมชายเป็นคนอยา่ งไร 2. การออกแบบเสือ้ กฬี าของนายสมชาย ควรมีหลกั เกณฑ์ะไรบา้ งท่จี ะทำให้เสือ้ กฬี าออกมาสวยงาม 3. ให้ผู้เรียนช่วยนายสมชายออกแบบเสื้อที่ฬา โดยร่างแบบในกระดาษ A4 ระบายสีให้สวยงาม เพือ่ ทจ่ี ะเป็นแนวทางให้นายสมชายได้ออกแบบ ใบงาน หน่วยท่ี 3 หลักสำคัญในการออกแบบสื่อดิจทิ ลั ตอนที่ 1 จงตอบคำถามต่อไปน้ีใหไ้ ด้ใจความสมบรู ณ์ 1. Communication Arts คอื 2. Visual Communication คือ 3. Digital Media Design คอื

ห น่ ว ย ที่ 3 ห ลั ก สำ คั ญ ใ น ก ำ ร อ อ ก แ บ บ ส่ื อ ดิ จิ ทั ล ห น้ า | 14 4. ผลงานการออกแบบสงิ่ พิมพ์ดว้ ยสื่อดจิ ิทลั ไดแ้ ก่ 5. ผลงานการออกแบบเพ่ือนำไปใช้สื่อดิจิทัลโดยตรง ได้แก่ 6. สญั ลกั ษณ์ (Symbols) คือ 7. กฎสามส่วน หรอื (Rule of Thirds) คอื 8. สี (Color) คอื 9. ระบบสี RGB คือ 10. ระบบสี CMYK คอื

ห น่ ว ย ที่ 3 ห ลั ก สำ คั ญ ใ น ก ำ ร อ อ ก แ บ บ ส่ื อ ดิ จิ ทั ล ห น้ า | 15 ใบงาน หน่วยท่ี 3 หลกั สำคญั ในการออกแบบส่อื ดิจิทัล ตอนที่ 1 จงจับคู่ข้อความต่อไปน้ใี หส้ ัมพันธก์ ัน A. ภาพโฆษณา 1. ……… Book B. วงจรสี C. รหัสสี 2. ……… Magazine D. บรรจภุ ณั ฑ์ 3. ……… Periodical E. หนังสอื 4. ……… Poster F. เครอื่ งหมายการคา้ 5. ……… Trademark 6. ……… Logo G. นติ ยสาร H. สีรุง้ 7. ……… Packaging 8. ……… Primaries I. สีแด J. แมส่ ี 9. ……… Color Circle K. สญั ลกั ษณ์ 10. ……... Spectrum L. วารสาร

ห น่ ว ย ท่ี 3 ห ลั ก สำ คั ญ ใ น ก ำ ร อ อ ก แ บ บ ส่ื อ ดิ จิ ทั ล ห น้ า | 16 แบบทดสอบ หลงั เรยี น หนว่ ยท่ี 3 หลักสำคญั ในการออกแบบสอื่ ดิจิทลั ตอนที่ 1 จงทำเคร่อื งหมายกากบาท (X) ลงหน้าข้อที่ถูกต้องที่สุด 1. การรบั รูท้ างสายตาของมนุษย์มีกเี่ ปอรเ์ ซ็นต์ ก. 11% ข. 25% ค. 32% ง. 67% จ. 83% 2. การรับรทู้ างหูของมนุษย์มกี ่ีเปอร์เซน็ ต์ ก. 11% ข. 25% ค. 32% ง. 67% จ. 83% 3. Communication Arts หมายถงึ ศิลปะด้านใด ก. การมองเห็น ข. การออกแบบ ค. การสื่อสาร ง. การสร้างสรรค์ จ. การพัฒนา 4. Visual Communication หมายถึงศิลปะด้านใด ก. การมองเห็น ข. การออกแบบ ค. การสอื่ สาร ง. การสรา้ งสรรค์ จ. การพฒั นา 5. โปรแกรมใดที่จัดวา่ เป็นโปรแกรมประมวลผลคำ ก. Maya ข. Microsoft Excel ค. Microsoft PowerPoint ง. Adobe Photoshop จ. NotePad 6. ขอ้ ใดไมใ่ ช่ Still Image ก. ภาพน่งิ ข. ภาพถา่ ย ค. ภาพเคลอื่ นไหว ง. ภาพลายเสน้ จ. ภาพวาด

ห น่ ว ย ที่ 3 ห ลั ก สำ คั ญ ใ น ก ำ ร อ อ ก แ บ บ ส่ื อ ดิ จิ ทั ล ห น้ า | 17 7. การแสดงการเคลอื่ นทีข่ องลกู สูบรถยนต์ จดั เป็นองค์ประกอบใดของสื่อดจิ ิทลั ก. Text ข. Audio ค. Still Image ง. Animation จ. Video 8. การสำรวจวา่ ลูกคา้ แต่ละคนมีอายุเท่าไร เป็นเทคนิคในการออกแบบภาพกราฟิกแบบใด ก. Goal ข. Symbols ค. Color ง. Text จ. Layout 9. การวางโครงร่างเป็นเทคนคิ ในการออกแบบข้อใด ก. Goal ข. Symbols ค. Color ง. Text จ. Layout 10. กฎสามส่วนจะประกอบด้วยเสน้ ก่เี ส้น ก. 2 เส้น ข. 3 เส้น ค. 4 เสน้ ง. 6 เส้น จ. 9 เส้น