Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ระบำโบราณคดี

ระบำโบราณคดี

Published by Phassara Moonsa, 2021-01-11 04:15:35

Description: ระบำโบราณคดี

Keywords: ป.6 โรงเรียนบ้านทุ่งคา

Search

Read the Text Version

การแสดงชุดนีเ้ กดิ จากแนวคดิ ริเริ่มสร้างสรรค์ของนายธนติ อยู่โพธ์ิ อดตี อธิบดกี รมศิลปากร ที่มี วตั ถุประสงค์จะจูงใจให้ผ้ดู ูผู้ชมศึกษาความรู้จากโบราณวตั ถุสถานให้แพร่หลายออกไป โดยอาศัย ภาพป้ัน หล่อจาหลกั ของศิลปะโบราณวตั ถุสมยั ต่างๆ ได้แก่ สมยั ทวาราวดี สมยั ศรีวชิ ัย สมยั ลพบรุ ี สมยั เชียงแสน สมยั สุโขทยั มาเป็ นหลกั ในการวงแนวสร้างระบาประจาสมยั ของศิลปะโบราณวตั ถุ แต่ละชุดขึน้ ซ่ึงมี ท้งั หมด 5 ชุด คือ ระบาทวาราวดี ระบาศรีวชิ ัย ระบาลพบุรี ระบาเชียงแสน ระบาสุโขทัย ครูภัสสรา มูลสา ตาแหนง่ ครู โรงเรยี นบา้ นทงุ่ คา

ระบาชุดนีส้ ร้างขนึ้ ตามศิลปะโบราณวัตถุสถานสมัยอาณาจกั รสุโขทยั ซึ่งมีพระพุทธรูปปนู ป้ันและหล่อสัมฤทธ์ิ โดยเฉพาะพระพทุ ธรูปปางลลี า ด้วยลลี าแช่มช้อยงดงาม ได้รับการยกย่องว่า เป็ นแบบอย่างศิลปกรรมทง่ี ดงามอย่างยง่ิ ดนตรี ท่ารา และการแต่งกายในระบาชุดนจี้ ึงสร้างขนึ้ ตาม ความรู้สึกของแนวสาเนียงถ้อยคาไทย ในศิลาจารึกประกอบลลี าภาพป้ันหล่อในสมยั นน้ั ผ้ปู ระดษิ ฐ์ ท่าราคือ ท่านผ้หู ญิงแผ้ว สนิทวงศ์เสนี

ระบาชุดนีส้ ร้างขนึ้ ตามศิลปะโบราณวตั ถุสถานสมยั เชียงแสน ซึ่งมเี มืองหลวงชื่อน้ัน ต้ังอยู่ฝ่ังขวามือของแม่นา้ โขงทางตอนเหนือของประเทศไทย ในท้องท่ีอาเภอเชียงแสน จงั หวดั เชียงราย ศิลปะแบบเชียงแสน ได้แพร่หลายไปท่ัว ดนิ แดนภาคเหนือของไทย ซึ่งในสมัยโบราณเรียกว่า อาณาจกั รลานนา ต่อมาศิลปะเชียงแสนได้แพร่หลายลงมาตามลุ่มแม่น้า โขง เข้าไปในพระราชอาณาจักรลาว ที่เรียกว่า ลานช้าง ดังน้ันท่าราและดนตรีตลอดจนเครื่องแต่งกายจงึ มลี ักษณะและลีลา เป็ นแบบไทยภาคเหนือและไทยภาคอีสาน ผู้ประดษิ ฐ์ท่ารา คือ คุณครูลมุล ยมะคุปต์และคุณครูเฉลย ศุขะวณชิ

ระบาชุดนีส้ ร้างขนึ้ จากหลักฐานทางโบราณวตั ถุและโบราณสถานสมยั หนึ่ง ซึ่งสร้างขนึ้ ตามศิลปะแบบขอม เช่น พระปรางค์สามยอดที่จงั หวดั ลพบุรี ปราสาทหินพมิ ายที่จงั หวดั นครราชสีมาปราสาทหินพนมรุ้งท่ีจงั หวดั บุรีรัมย์ เป็ นต้น นักปราชญ์ทางโบราณคดกี าหนดเรียกว่า ศิลปะลพบุรี ด้วยเหตุนีท้ านองเพลงจงึ มีสาเนียงเป็ นเขมร เคร่ืองแต่ง กายและลลี าท่าราประดิษฐ์ขึน้ จากรูปหล่อโลหะศิลปะสมัยลพบุรี ผู้ประดิษฐ์ท่ารา คือ คุณครูลมุล ยมะคุปต์ และคุณครู เฉลย ศุขะวณิช

ระบาชุดนีส้ ร้างขนึ้ จากการสอบสวนค้นคว้าและประดิษฐ์ท่ารา เคร่ืองแต่งกายจากภาพป้ันและภาพจาหลักที่ ขุดพบ ณ โบราณสถานสมยั ทวาราวดี เช่น คูบัว อู่ทอง นครปฐม เป็ นต้น นักปราชญ์ทางโบราณคดีร่วมกนั วนิ ิจฉัยตาม หลักฐานว่า ประชาชนชาวทวาราวดีเป็ นมอญหรือเผ่าชนท่ีพดู ภาษามอญ ดังน้ันดนตรีและท่าราในระบาชุดนีจ้ ึงมี สาเนียงและลลี าเป็ นมอญ ผู้ประดษิ ฐ์ท่ารา คือ คุณครูลมุล ยมะคุปต์ และคุณครูเฉลย ศุขะวณชิ

ระบาชุดนีเ้ กิดขนึ้ จากวนิ ิจฉัยของนักปราชญ์ทางโบราณคดี ส่วนใหญ่ลงความเห็นว่าสมยั ศรีวชิ ัยอยู่ใน ระหว่างพทุ ธศตวรรษที่ 13 - 18 มอี าณาเขตต้ังแต่ตอนใต้ของประเทศไทยลงไปถึงดินแดนบางส่วนของมาเลเซียและ อนิ โดนีเซีย เครื่องแต่งกายและท่าราประดิษฐ์ขนึ้ จากการสอบหลักฐานศิลปกรรมและภาพจาหลกั ที่พระพุทธสถปู บุโร พทุ โธในเกาะชวา สันนิษฐานว่าอยู่ในสมัยราชวงศ์ไศเลนทร ร่วมสมัยศรีวชิ ัย ด้วยเหตุนีล้ ลี าท่าราและสาเนียงเพลงจึง เป็ นเพลงไปทางชวา ผู้ประดิษฐ์ท่ารา คือ คุณครูลมุล ยมะคุปต์ และคุณครูเฉลย ศุขะวณิช

ครูภัสสรา มูลสา ตาแหนง่ ครู โรงเรยี นบา้ นทงุ่ คา แบบฝกึ หัด •1. การแสดงชดุ ใดไดม้ าจาก พระพทุ ธรปู ปางลลี า •2. การแสดงชดุ ใดท่ีมีลลี าท่าราและสาเนียงเพลงจึงเป็ นเพลง ไปทางชวา •3. การแสดงชดุ ใดไดม้ าจาก พระปรางคส์ ามยอดที่จงั หวดั ลพบรุ ี •4. ระบาเชียงแสนใครเป็ นผคู้ ิดประดิษฐท์ ่ารา •5. การแสดงชดุ ใด เครอ่ื งแต่งกายและลลี าเป็ นแบบไทย ภาคเหนือและไทยภาคอีสาน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook