Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เอกสารประกอบการเรียนดนตรี หน่วยที่ 1 อารมณ์ของบทเพลง ม.1

เอกสารประกอบการเรียนดนตรี หน่วยที่ 1 อารมณ์ของบทเพลง ม.1

Published by panuchak.golf, 2020-05-07 13:13:00

Description: เอกสารประกอบการเรียนการสอน ดนตรี หน่วยที่ 1 อารมณ์ของบทเพลง ม.1

Search

Read the Text Version

เ อ ก ส า ร ป ร ะ ก อ บ ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น ร า ย วิ ช า ด น ต รี | 1 MUSIC EDUCA TION ชั้ น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 1 ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ ศิ ล ป ะ ร ะ ดั บ มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ต อ น ต้ น หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 1 อารมณ์ของบทเพลง เร่ือง อารมณ์ของบทเพลง โ ร ง เ รี ย น บ้ า น ห ม า ก แ ข้ ง สำ นั ก ง า น เ ข ต พ้ื น ที่ ก า ร ศึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า อุ ด ร ธ า นี เ ข ต 1

เ อ ก ส า ร ป ร ะ ก อ บ ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น ร า ย วิ ช า ด น ต รี | 2 MUSIC EDUCA TION ช้ั น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ท่ี 1 ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ ศิ ล ป ะ ร ะ ดั บ มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ต อ น ต้ น เอกสารประกอบการเรียนการสอน ดนตรี รายวิชาดนตรี - นาฏศิลป์ รหัสวิชา ศ 21102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จัดทำเพื่อใช้ประกอบการจัดการเรียนการสอนใน รายวิชาดังกล่าว เพื่อให้นักเรียนได้เกิดการเรียนรู้ ตามหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียน บ้านหมากแข้ง กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น พุทธศักราช 2563 หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 เอกสารประกอบการเรียนการสอนนี้ ประกอบด้วยเนื้อหา แบบทดสอบก่อน เรียน แบบฝึกทักษะหน่วยการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ และแบบทดสอบหลังเรียน ระดับ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 ประกอบด้วยหนว่ ยการเรยี นรู้ ดังน้ี หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 1 สุนทรีดนตรรี ส หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 2 ดนตรีคูว่ ฒั นธรรม หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 3 โน้ตดนตรมี หศั จรรย์ หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 4 ลำนำร้องเล่นเป็นเพลง นกั เรยี นจะได้รบั ความรคู้ วามเขา้ ใจองคป์ ระกอบดนตรแี สดงออกทางดนตรีอย่าง สร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่าดนตรี ถ่ายทอดความรู้สึก ทางดนตรีอย่างอิสระ ชื่นชมและประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรี ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่าดนตรีที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทย และสากล ร้องเพลง และเล่นดนตรีในรูปแบบต่าง ๆ แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเสียงดนตรี แสดงความรู้สึกที่มีต่อดนตรีในเชิงสุนทรียะ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรีกับประเพณี วฒั นธรรม และเหตุการณใ์ นประวตั ิศาสตร์ จักรกฤษณ์ มหาวิจติ ร โ ร ง เ รี ย น บ้ า น ห ม า ก แ ข้ ง สำ นั ก ง า น เ ข ต พ้ื น ที่ ก า ร ศึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า อุ ด ร ธ า นี เ ข ต 1

เ อ ก ส า ร ป ร ะ ก อ บ ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น ร า ย วิ ช า ด น ต รี | 3 MUSIC EDUCA TION ช้ั น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ท่ี 1 ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ ศิ ล ป ะ ร ะ ดั บ มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ต อ น ต้ น หน่วยการเรยี นรู้ที่ 1 สุนทรดี นตรรี ส เรอ่ื ง อารมณข์ องบทเพลง หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี 2 ดนตรคี ู่วัฒนธรรม เรื่อง เปรียบเทยี บเสยี งร้องและเสยี งเครอ่ื งดนตรีที่มาจากวฒั นธรรมต่าง ๆ เร่อื ง วงดนตรไี ทย (วงป่พี าทย์) เรอ่ื ง วงดนตรไี ทย (วงเครอ่ื งสายและวงมโหร)ี เรือ่ ง วงดนตรีสากล เรือ่ ง วงดนตรพี นื้ บา้ น หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 3 โน้ตดนตรีมหัศจรรย์ เรื่อง บรรทัด 5 เส้น เรื่อง ค่าตัวโนต้ และตัวหยุดโน้ต เรือ่ ง บันไดเสียง C Major และกญุ แจประจำหลกั เรอ่ื ง การอา่ น รอ้ ง โนต้ สากล เรอ่ื ง เคร่ืองหมายและสัญลักษณ์ทางดนตรี หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 4 ลำนำรอ้ งเล่นเป็นเพลง เรอ่ื ง บทเพลงสำหรับการฝกึ ร้องและการบรรเลงเครื่องดนตรปี ระกอบ การร้องเพลง เรอื่ ง บทเพลงต่างวฒั นธรรม เรื่อง ขบั ร้องประสานเสยี ง 2 แนว เรอ่ื ง การใช้และบำรุงเครือ่ งดนตรไี ทย เรือ่ ง การใช้และบำรงุ เครอ่ื งดนตรีสากล เรอ่ื ง การประเมินคุณภาพของบทเพลง โ ร ง เ รี ย น บ้ า น ห ม า ก แ ข้ ง สำ นั ก ง า น เ ข ต พ้ื น ท่ี ก า ร ศึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า อุ ด ร ธ า นี เ ข ต 1

เ อ ก ส า ร ป ร ะ ก อ บ ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น ร า ย วิ ช า ด น ต รี | 4 MUSIC EDUCA TION ช้ั น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ท่ี 1 ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ ศิ ล ป ะ ร ะ ดั บ มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ต อ น ต้ น หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 1 สนุ ทรดี นตรรี ส เร่ือง อารมณข์ องบทเพลง สาระสำคัญ/ความคิดรวมยอด บทเพลงแต่ละบทเพลงมกี ารถ่ายทอดอารมณโ์ ดยอาศยั องคป์ ระกอบต่าง ๆ เช่น จังหวะ ความดัง-เบา ของเสยี ง เป็นต้น เม่อื บทเพลงมกี ารเปลยี่ นแปลงจงั หวะหรอื ความดัง-เบา ของเสียงก็สามารถทำให้เกดิ ความแต่งต่างทางด้านอารมณ์ได้ ตัวช้วี ดั /จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ ดา้ นความรู้ วิเคราะห์ว่าเพลงที่มจี ังหวะทตี่ ่างกนั เพลงท่มี เี สียงดังเบาตา่ งกัน และสามารถสื่อ อารมณต์ ่าง ๆ ไดอ้ ภิปรายลกั ษณะการถ่ายทอดอารมณ์ของบทเพลงท่ีสนใจคดิ ประดิษฐ์ท่าทาง เก่ียวกบั เสยี งดงั และเบาได้ ดา้ นทักษะและกระบวนการ นําบทเพลงไปประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ติ ประจําวันไดป้ ฏบิ ัติท่าทางท่ีคิดข้ึนตามระดบั เสียงดัง และเบาไดน้ าํ เสนอผลงานโดยวิธกี ารร้องหรือวิธกี ารอ่นื ๆ ไดอ้ ย่างเหมาะสม ดา้ นเจตคติ ปฏิบตั ิกจิ กรรมดนตรดี ้วยความสนุกสนานและมนั่ ใจ การวดั ผลและประเมนิ ผล ดา้ นความรู้ แสดงความคดิ เห็นตอ่ บทเพลงท่มี คี วามเรว็ ของจงั หวะ และความดัง-เบาแตกต่างกนั ด้านทักษะ/กระบวนการ เปรียบเทยี บอารมณ์บทเพลงทม่ี คี วามเรว็ ของจงั หวะและความดัง-เบา แตกตา่ งกนั ด้านคุณลกั ษณะ เห็นคุณค่า ซาบซง้ึ บทเพลง โ ร ง เ รี ย น บ้ า น ห ม า ก แ ข้ ง สำ นั ก ง า น เ ข ต พื้ น ท่ี ก า ร ศึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า อุ ด ร ธ า นี เ ข ต 1

เ อ ก ส า ร ป ร ะ ก อ บ ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น ร า ย วิ ช า ด น ต รี | 5 MUSIC EDUCA TION ช้ั น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 1 ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ ศิ ล ป ะ ร ะ ดั บ มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ต อ น ต้ น ให้นักเรยี นฟงั เพลงน้ี แลว้ บรรยายความรู้สึกที่ ได้จากการฟังเพลง ผ่านการเขียนบรรยาย หรือ วาดภาพ ตามความถนดั ของนักเรยี น เพลง A Quiet Thought เพลง The Farmer in the dell กิจกรรมนี้นักเรียนสามารถใช้โทรศัพท์มือถือของงนักเรียน SCAN QR CODE เพ่อื รบั ฟังบทเพลงและทำกจิ กรรมดงั กล่าวได้นะครบั ขอขอบคุณ เพลง A Quiet Thought https://www.youtube.com/audiolibrary/music 1-05-62 Wayne Jones ขอขอบคณุ เพลง The Farmer in the dell https://www.youtube.com/watch?v=1fjaT615Lho โ ร ง เ รี ย น บ้ า น ห ม า ก แ ข้ ง สำ นั ก ง า น เ ข ต พื้ น ท่ี ก า ร ศึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า อุ ด ร ธ า นี เ ข ต 1

เ อ ก ส า ร ป ร ะ ก อ บ ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น ร า ย วิ ช า ด น ต รี | 6 MUSIC EDUCA TION ช้ั น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 1 ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ ศิ ล ป ะ ร ะ ดั บ มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ต อ น ต้ น จงั หวะกบั อารมณ์ ของบทเพลง การถ่ายทอด ความดัง - เบา อารมณข์ องเพลง กับอารมณข์ องบทเพลง จงั หวะกบั อารมณ์ ของบทเพลง โ ร ง เ รี ย น บ้ า น ห ม า ก แ ข้ ง สำ นั ก ง า น เ ข ต พ้ื น ที่ ก า ร ศึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า อุ ด ร ธ า นี เ ข ต 1

เ อ ก ส า ร ป ร ะ ก อ บ ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น ร า ย วิ ช า ด น ต รี | 7 MUSIC EDUCA TION ชั้ น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 1 ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ ศิ ล ป ะ ร ะ ดั บ มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ต อ น ต้ น จังหวะกบั อารมณ์ของบทเพลง จังหวะ (Rhythm) หมายถงึ การเคลอ่ื นไหวท่สี มำ่ เสมอ อาจกำหนดไวเ้ ปน็ ความ ช้าเร็วต่าง ๆ กัน เช่น เพลงจังหวะช้า เพลงจังหวะเร็ว ในทางดนตรี การกำหนดความสั้นยาว ของเสียงท่ีมสี ว่ นสัมพันธก์ บั ระยะเวลาในการร้องเพลงหรือเล่นดนตรีจะต้องมจี ังหวะเป็นเกณฑ์ ถา้ รอ้ งเพลงหรอื เล่นดนตรไี มต่ รงจังหวะ ก็จะไมม่ ีความไพเราะเทา่ ทค่ี วร ในกรณที ี่รอ้ งเพลงหรือ เล่นดนตรีหลายคนในเพลงเดียวกัน และต้องการร้องเพลงหรือเล่นดนตรีพร้อมกัน ต้องใชจ้ ังหวะเปน็ ตวั กำกบั เพ่อื ทจี่ ะใหก้ ารรอ้ งเพลงหรอื การเลน่ ดนตรีออกมาในลกั ษณะท่ีพร้อม เพรียงกนั และผสมกลมกลนื ไดอ้ ย่างเหมาะสม ดนตรีจะมลี ีลาจังหวะเป็นองค์ประกอบท่ีสำคญั เช่น ความช้า – เร็วของจังหวะ ความหนัก – เบาของจังหวะ ลีลาของกระสวนจงั หวะ เปน็ ตน้ องค์ประกอบต่าง ๆ เหล่านี้ ล้วนแต่ท าให้เกิดความรู้สึก หรืออารมณ์ต่าง ๆ รวมทั้งทำให้ดนตรีมคี วามไพเราะท่ีแตกต่างกันได้ และมีส่วนทำให้ทำนองเพลงมีความไพเราะ และถ่ายทอดอารมณ์ได้เช่นเดียวกับองค์ประกอบอื่น ๆ เช่น เพลงที่มีจังหวะช้า สามารถ ถ่ายทอดอารมณ์เศร้า อ่อนหวาน หรือความท้อแท้ และสิ้นหวัง เพลงที่มีจังหวะค่อนข้างเร็ว สามารถส่ือถึงอารมณ์ สนุกสนาน คร้ืนเครง หรอื ความคกึ คะนอง เปน็ ตน้ โ ร ง เ รี ย น บ้ า น ห ม า ก แ ข้ ง สำ นั ก ง า น เ ข ต พ้ื น ท่ี ก า ร ศึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า อุ ด ร ธ า นี เ ข ต 1

เ อ ก ส า ร ป ร ะ ก อ บ ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น ร า ย วิ ช า ด น ต รี | 8 MUSIC EDUCA TION ช้ั น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ท่ี 1 ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ ศิ ล ป ะ ร ะ ดั บ มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ต อ น ต้ น ความดงั – เบา กับอารมณ์ของบทเพลง ระดับเสยี ง (Pitch) ระดับเสียง หมายถึง ความสูงต่ำของเสียงในเชิงภายภาพ หากความถี่ของการ ส่ันสะเทือนเปน็ ไปอย่างรวดเรว็ จะทำใหเ้ กดิ เสียงสูง ถา้ ความถข่ี องการส่นั สะเทือนเป็นลักษณะ ช้า จะทำให้เกิดเสียงต่ำ หูของมนุษย์สามารถแยกเสียงตั้งแต่ระดับความถี่ของการสั่นสะเทือน 16 ครั้ง / วินาที จนถงึ 20,000 คร้งั / วนิ าที ความส้นั - ยาวของเสียง (Duration) เสียงดนตรีจะมีความแตกต่างกันในเรื่องของความสั้น ยาวของเสียง กล่าวคือ บางครั้งเราจะได้ยินลักษณะของการลากเสียงยาวๆ หรือบางครั้งก็จะเป็นลักษณะห้วนๆสั้นๆ ความแตกต่างกันในลกั ษณะนีเ้ รยี กว่า ความส้ัน - ยาวของเสียง ความดัง - เบาของเสียง (Dynamics) เสียงดนตรีจะมีความแตกต่างกันในเรื่องของความดัง - เบาของเสียงเช่นกัน กลา่ วคอื บางครัง้ เราจะได้ยินการบรรเลงเพลงท่ีมีเสยี งดงั อกึ ทกึ ครกึ โครม ตรงกนั ข้ามบางครั้งก็ จะได้ยินเสียงดนตรีที่นุม่ นวล หรือแผ่วเบา ลักษณะของการเกิดเสียงแบบนี้เรียกว่า ความดัง - เบาของเสียง ความดัง - เบาของเสียง อาจจะเกิดขึ้นในลักษณะเบาหรือดังขึ้นทันทีทันใด หรือ อาจจะเป็นลักษณะค่อยๆเบาลงหรือค่อยๆดังขึ้น ในดนตรีตะวันตกจะมีการบอกหรือแสดง เครื่องหมายไว้อย่างชัดเจนว่าจะต้องบรรเลง อย่างไร โดยใช้อักษรย่อจากคำเต็มในภาษาอิตา เลยี น ไดแ้ ก่ fff มาจากคำเตม็ ว่า fortississimo หมายถึง ดังที่สดุ ff มาจากคำเตม็ ว่า fortissimo หมายถึง ดงั มาก f มาจากคำเตม็ ว่า forte หมายถึง ดงั mf มาจากคำเตม็ วา่ mezzo forte หมายถึง ปานกลางค่อนขา้ งดัง mp มาจากคำเตม็ ว่า mezzo piano หมายถงึ ปานกลางคอ่ นข้างเบา โ ร ง เ รี ย น บ้ า น ห ม า ก แ ข้ ง สำ นั ก ง า น เ ข ต พ้ื น ท่ี ก า ร ศึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า อุ ด ร ธ า นี เ ข ต 1

เ อ ก ส า ร ป ร ะ ก อ บ ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น ร า ย วิ ช า ด น ต รี | 9 MUSIC EDUCA TION ช้ั น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 1 ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ ศิ ล ป ะ ร ะ ดั บ มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ต อ น ต้ น p มาจากคำเตม็ วา่ piano หมายถงึ เบา pp มาจากคำเต็มว่า pianissimoหมายถงึ เบามาก ppp มาจากคำเต็มวา่ pianississimo หมายถงึ เบาทส่ี ดุ และยังมีสญั ลกั ษณท์ แี่ สดงถงึ ลกั ษณะเสียงท่ีค่อยๆดงั ขน้ึ เรียกวา่ Crescendo และค่อยๆเบาลง เรียกว่า Decrescendo อีกด้วย ในวัฒนธรรมดนตรีอื่น ๆอาจจะไม่ได้มี เครื่องหมายแสดง ลักษณะเสียงที่ชัดเจน แต่การบรรเลงจะเป็นไปในลักษณะของการใช้ ความรสู้ กึ เปน็ ตัวกำหนด เสียงดนตรีไม่ว่าจะเกดิ จากเสียงของเคร่ืองดนตรีหรือเสียงรอ้ งของคนเราก็ตาม ย่อมมีลักษณ ะของเสียงที่แตกต่างกันบทเพลงที่เกิดจากการร้องหรือเกิดจากการบรรเลงของ เครอื่ งดนตรีทมี่ ีความหนักแนน่ สามารถถ่ายทอดอารมณ์เพลงไดเ้ ป็นอยา่ งดี ส่งิ ท่ีสามารถทำให้ บทเพลงมคี วามหนกั แน่นก็คอื ลักษณะความดงั – เบาของเสยี งร้อง หรือเสยี งของเครอื่ งดนตรี เชน่ เพลงทมี่ กี ารรอ้ งโดยใชเ้ สียงดัง ๆ กจ็ ะทำให้เพลงทีถ่ ่ายทอดนน้ั มอี ารมณ์ที่ดุดัน เขม้ แข็ง เพลงที่มีการร้องโดยใช้เสียงที่เบานุ่มนวล ก็จะทำให้เพลงมีอารมณ์ที่อ่อนโยน และโศกเศร้า เปน็ ตน้ โ ร ง เ รี ย น บ้ า น ห ม า ก แ ข้ ง สำ นั ก ง า น เ ข ต พื้ น ที่ ก า ร ศึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า อุ ด ร ธ า นี เ ข ต 1

เ อ ก ส า ร ป ร ะ ก อ บ ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น ร า ย วิ ช า ด น ต รี | 10 ช้ั น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 1 ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ ศิ ล ป ะ ร ะ ดั บ มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ต อ น ต้ น ความดัง – เบา กบั อารมณข์ องบทเพลง MUSIC EDUCA TION อารมณเ์ พลงเป็นสงิ่ ท่ีเกดิ ขน้ึ ภายในความรูส้ ึกของคนเรา และสามารถเกิดขึ้น จากความไพเราะหรือไม่ไพเราะของบทเพลงก็ได้ เช่น เพลงช้าสามารถให้อารมณ์ความรู้สึก ตา่ ง ๆ ได้ ทงั้ ความโศกเศร้า เสียใจ ความสขุ ทั้งนเ้ี พลงจะใหค้ วามรู้สกึ เชน่ ไรนนั้ ขนึ้ อยู่กบั เนื้อห หรอื เนอ้ื ร้องของบทเพลงเป็นสว่ นสำคัญ เพราะเน้ือหาหรอื เน้ือร้องของบทเพลงเปน็ สิ่งท่ีคนเรา เข้าใจได้ง่ายกวา่ องค์ประกอบอื่น อารมณ์เพลงที่เกิดข้ึนจากการฟังเพลงมีมากมายและมีความ แตกตา่ งกันออกไป เชน่ ความแตกต่างของอารมณ์เพลง อารมณ์เศร้า อารมณ์ดใี จ อารมณอ์ ่อนหวาน อารมณ์สนุกสนาน อารมณ์เหงา อารมณโ์ กรธ อารมณร์ ่นื เรงิ อารมณแ์ จม่ ใส คนเราเม่อื รับรู้สง่ิ ใดก็ตามมกั จะแสดงให้เหน็ ว่ามีความพึงพอใจหรือไม่พึง พอใจกบั สงิ่ ทร่ี บั รู้ ถา้ มีความพึงพอใจก็จะแสดงอาการต่าง ๆ ให้เหน็ เช่น ผงกศีรษะตามเพลง เคาะจังหวะตามเพลง รอ้ งคลอตามเพลง เป็นตน้ โ ร ง เ รี ย น บ้ า น ห ม า ก แ ข้ ง สำ นั ก ง า น เ ข ต พ้ื น ท่ี ก า ร ศึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า อุ ด ร ธ า นี เ ข ต 1

เ อ ก ส า ร ป ร ะ ก อ บ ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น ร า ย วิ ช า ด น ต รี | 11 MUSIC EDUCA TION ชั้ น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ท่ี 1 ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ ศิ ล ป ะ ร ะ ดั บ มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ต อ น ต้ น โ ร ง เ รี ย น บ้ า น ห ม า ก แ ข้ ง สำ นั ก ง า น เ ข ต พื้ น ที่ ก า ร ศึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า อุ ด ร ธ า นี เ ข ต 1