Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 3การขี้นรูปด้วยเครื่องมือกลอัตโนมัติ

3การขี้นรูปด้วยเครื่องมือกลอัตโนมัติ

Published by kroojira, 2020-05-08 01:15:45

Description: 3การขี้นรูปด้วยเครื่องมือกลอัตโนมัติ

Search

Read the Text Version

การข้ึนรปู ด้วยเครื่องมือกลอตั โนมัติ 20102-2007 <<<<<<<< Jirayut Chotikul @ Sisaket Technical College >>>>>>>>

หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 3 การขนึ้ รปู ด้วยเคร่ืองมือกลอัตโนมัติ สาระสาคัญ การผลิตช้ินส่วนนอกจากจะใช้เคร่ืองมือกลพ้ืนฐานแล้ว ในปัจจุบันได้มีการใช้ เครอื่ งมอื กลอตั โนมตั เิ นอื่ งจากสามารถผลติ ช้ินงานไดม้ คี วามถูกตอ้ งและเทย่ี งตรงสูง ผลิต ชิน้ งานทีม่ ีลักษณะเชน่ เดียวกันได้ครงั้ ละมากๆ มีความรวดเรว็ ในการผลิต ทาให้มีผลผลิต สงู คุณภาพสม่าเสมอทุกชิ้น เม่ือเทียบกับเครื่องมือกลพ้ืนฐาน ซ่ึงในงานอุตสาหกรรมเป็น ท่ีนิยมใช้กันอย่างแพร่หลาย ดังน้ีผู้เรียนจึงต้องศึกษารายละเอียดต่างๆ เก่ียวกับการข้ึน รูปช้ินส่วนดว้ ยเคร่ืองมอื กลอตั โนมตั ใิ ห้เขา้ ใจ <<<<<<<< Jirayut Chotikul @ Sisaket Technical College >>>>>>>>

หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 การข้นึ รปู ด้วยเครอ่ื งมือกลอัตโนมัติ บทนา กรรมวิธีการข้ึนรูปด้วยเครื่องมือกลอัตโนมัติ (Automatic machine tool process) เป็นกรรมวิธีการข้ึนรูปด้วยเคร่ืองมือกลที่ควบคุมด้วยคอมพิวเตอร์ซึ่งนับเป็น กรรมวธิ ีการผลิตแบบเสียเศษหรอื กรรมวธิ ีการข้ึนรปู โดยการตัดเฉือนวัสดอุ อก (Material removal process) อีกวธิ หี น่งึ กรรมวิธีการขนึ้ รูปด้วยเคร่ืองมือกลที่ควบคมุ ด้วยคอมพิวเตอรห์ รือทนี่ ิยมเรียกว่า เครื่องซีเอ็นซี (Computer numerical control : CNC) เป็นกรรมวิธีท่ีได้รับความนิยม มากในปัจจุบันเน่ืองจากเคร่ืองซีเอ็นซีสามารถผลิตช้ินงานได้มีความถูกต้องและเท่ียงตรง สูงผลิตชิ้นงานท่ีมีลักษณะเช่นเดียวกันได้คร้ังละมากๆ มีความรวดเร็วในการผลิตทาให้มี ผลผลิตสูงคุณภาพสม่าเสมอทุกช้ินเม่ือเทียบกับเคร่อื งมือพื้นฐานเครื่องมือกลซีเอ็นซีท่ีใช้ งานกนั โดยทว่ั ไป ได้แก่ เครื่องกลึง เครอ่ื งกดั เครือ่ งเจยี ระไน และเครื่องเจาะดงั รปู ที่ 3.1 รปู ท่ี 3.1 แสดงเครื่องจักรกลซีเอน็ ซี <<<<<<<< Jirayut Chotikul @ Sisaket Technical College >>>>>>>>

3.1 ความเป็นมาของเครอื่ งมือกลซีเอ็นซี การควบคุมการทางานของเคร่ืองมือกลโดยใช้ตัวเลข (Number) การทางานได้ เริ่มข้ึนเม่ือปี พ.ศ.2268 ในประเทศอังกฤษ โดยใช้แผ่นกระดาษเจาะเป็นรู (Punched card) ในการควบคุมการตัดแบบเสื้อผ้า ในปี พ.ศ.2496 ชาวสวิตเซอรแ์ ลนด์ ใช้กระดาษ เจาะเป็นสื่อในการควบคุมตาแหนง่ การเคล่ือนที่และความเร็วของเคร่อื งกลงึ อัตโนมตั ิ จดุ เร่ิมต้นของเคร่ืองมอื กลซีเอ็นซี (NC ย่อมาจาก Numerical Control) ในการ ควบคุมเคร่ืองมือกลการผลิต(Machine tool) เร่ิมจากปี พ.ศ.2491 จากความต้องการ ของกองทัพอากาศสหรัฐอเมริกา ในการใช้เครื่องกัด 3 แกน ผลิตช้ินส่วนเคร่ืองบินท่ีมี ความแม่นยา ความสม่าเสมอและรวดเร็ว ต่อมาในปี พ.ศ.2495 เคร่ืองเอ็นซีเคร่ืองแรก พัฒนาโดยทีมนักวิจัยจากสถาบันเทคโนโลยีแมสซาซูเซตส์(Massachusetts Institute of Technology หรือ MIT) ได้รับการทดสอบการใช้งาน และในปี พ.ศ.2498 เคร่อื งเอ็น ซี 100 เครื่องแรกได้ถูกสั่งผลิตจากกองทัพอเมริกาโดยเคร่ืองเอน็ ซีมีชดุ ควบคุมเคร่ืองจักร (Machine Control Unit หรือ MUC) สาหรับการอ่านข้อมูลหรือโปรแกรมจากแผน่ เทป กระดาษเจาะรู (Punch Tape) และการควบคุมการทางานของเครื่องจักร ดังน้ันทุกคร้ัง ท่ีต้องการผลติ ชน้ิ งานแตล่ ะช้ินจึงต้องปอ้ นแผน่ เทปใหม่ทุกครง้ั รปู ที่ 3.2 เคร่ืองซีเอน็ ซีเครอ่ื งแรกท่สี ถาบนั เทคโนโลยีแมสซาซเู ซตส์ <<<<<<<< Jirayut Chotikul @ Sisaket Technical College >>>>>>>>

ในปี พ.ศ.2509 ได้มีการเริ่มนาคอมพิวเตอร์มาใช้ส่ังโปรแกรมไปท่ีชุดควบคุม เครื่องจักร ของเคร่ืองเอ็นซีโดยผ่านสายโทรศัพท์ ซ่ึงมีระยะห่างประมาณ 100 เมตร หลักการนี้เรียกว่า DNC หรือ Numerical Control โดยคอมพิวเตอร์ 1 เคร่ืองสามารถ ใชไ้ ดก้ ับเครือ่ งจกั รเอ็นซไี ดห้ ลายเครอื่ งและหลายประเภท เคร่ืองจักรซีเอ็นซี (CNC Computer Numerical Control) เครื่องแรกเปิดตัว ในปี พ.ศ.2519 โดยมีไมโครโปรเซสเซอร์(Microprocessor) หรือคอมพิวเตอร์เป็น อุปกรณ์หลักในชุดควบคุม (Controller) ติดตั้งบนเครื่องทาให้สามารถจัดเก็บโปรแกรม ได้จานวนมาก สามารถแก้ไขและดัดแปลงโปรแกรมได้ ทาให้เรียกโปรแกรมใช้งานได้ ทันที ไมต่ อ้ งปอ้ นซ้าเม่อื ต้องการชน้ิ งานใหม่เพราะมหี นว่ ยความจาในชุดควบคมุ 3.2 หลักการทางานของเครือ่ งมอื กลซีเอน็ ซี หลักการทางานของเครื่องมือกลซีเอ็นซีจะคล้ายกับเครื่องมือกลพ้ืนฐานทั่วไปคือ พ้ืนฐานเบ้ืองต้นของการทางานจะทาการผลิตชิ้นงานเหมือนกันแต่จะแตกต่างกันที่การ ควบคุมการทางาน โดยเครื่องมือกลซีเอ็นซีจะใช้คอมพิวเตอร์ควบคุมการทางานใน ขนั้ ตอนต่างๆ สว่ นเครื่องมอื กลพ้ืนฐานทั่วๆ ไป จะใช้ชา่ งควบคุมเคร่ือง ระบบการควบคุมของเคร่ืองจักรจะรับข้อมูลที่เป็นภาษาที่ระบบควบคุมสามารถ เข้าใจได้ จะต้องป้อนโปรแกรมเข้าไปในระบบควบคุมเคร่ืองผ่านแป้นพิมพ์ (Keyboard)เมื่อระบบควบคุมอ่านข้อมูลท่ีป้อนเข้าไปแล้วก็จะเปล่ียนรหัสโปรแกรมน้ัน ให้เป็นสัญ ญ าณ ทางไฟฟ้าและส่งไปยังภาคขยายสัญ ญ าณ ของระบบขับ และส่งไปยัง มอเตอร์ป้อนแนวแกนที่ต้องการเคล่ือนที่ ความเร็วและระยะทางการเคล่ือนที่ของแท่น จะถูกควบคุมโดยระบบวัดขนาด (Measuring System) ซ่ึงประกอบด้วยสเกลแนวตรง (Linear Scale) มีจานวนเท่ากับจานวนแนวแกนของการเคล่ือนที่ ในการเคลื่อนที่ของ เครื่องจักรกลทาหน้าท่ีส่งสัญญาณไฟฟา้ ที่สัมพันธ์กับระยะทางที่แทน่ เลื่อนเคลื่อนที่ไปยัง ระบบควบคมุ ทาให้ระบบควบคมุ รวู้ า่ แท่นเลอ่ื นเคลือ่ นทเี่ ปน็ ระยะทางเท่าไรดังรูปท่ี 3.3 <<<<<<<< Jirayut Chotikul @ Sisaket Technical College >>>>>>>>

รูปท่ี 3.3 หลกั การทางานของเคร่อื งมอื กลซีเอ็นซี 3.3 องค์ประกอบของเครอ่ื งมือกลซเี อน็ ซี องค์ประกอบของเคร่ืองมือกลซีเอ็นซีโดยส่วนใหญ่มีองค์ประกอบ 3 ส่วนหลักๆ คือ ชุดควบคุมการทางาน (Control) ระบบกลไกในการเคล่ือนท่ี (Drive Mechanisms) และตวั เครือ่ งจักร (Machine Body) 3.3.1 ชุดควบคมุ การทางาน ชุดควบคุมหรือ “คอนโทรลเลอร์” (CNC Controller) หรือหน่วย ควบคุมเครื่องจักร (MCU) ของเครื่องซีเอ็นซีเป็นระบบคอมพิวเตอร์ที่สามารถจัดเก็บ (Store) โปรแกรม และแก้ไขดัดแปลง (Edit) โปรแกรมได้ โปรแกรมท่ีป้อนและทาการ ควบคุมเครอื่ งจักรให้ทางานตามคาสัง่ ในโปรแกรมเอ็นซี (NC Program) นอกจากน้ียงั ทา การประมวล คานวณข้อมูลและโค้ด (Code) และควบคุมการทางานโดยผ่านระบบ เช่ือมโยง (Interface) <<<<<<<< Jirayut Chotikul @ Sisaket Technical College >>>>>>>>

รูปที่ 3.4 ชุดควบคุมเคร่ืองมือกลซเี อน็ ซี 3.3.2 ระบบกลไกในการเคลอ่ื นที่ กลไกการเคลื่อนที่ได้แก่ มอเตอร์สาหรับป้อนตัด (Feed Motor) ซ่ึงเป็นเซอร์โว มอเตอร์ (Servo Motor) ควบคุมการเคลื่อนที่ของแกนต่างๆ โดยใช้บอลสกรู (Ball Screw) เปล่ียนการเคลื่อนที่เชิงมุม (Angular Motion) เป็นการเคล่ือนที่เชิงเส้น (Linear Motion) โดยมีตาแหน่งหรือระยะทางการเคล่ือนท่ีและความเร็วถูกควบคุมโดย รับสัญญาณจากคอนโทรเลอร์ นอกจากนี้จะมีรางนาทาง (Guide Way) รองรับการ เคลอื่ นท่ีที่แกนตา่ งๆ ของเคร่อื งจกั รดังรปู ท่ี 3.5 รูปท่ี 3.5 กลไกการเคลื่อนที่ของเคร่ืองมือกลซีเอน็ ซี <<<<<<<< Jirayut Chotikul @ Sisaket Technical College >>>>>>>>

3.3.3 ตัวเครื่องจักร ตวั เครอ่ื งจกั ร คอื โครงสร้างที่ประกอบเปน็ รปู ร่างท่เี หมาะสมสาหรบั การใช้งานตามประเภทของเครื่องจกั รนน้ั ๆ ตัวเคร่ืองจักรมีสว่ นประกอบหลกั เช่น แท่น เครอื่ งโต๊ะวางช้นิ งาน แทน่ ตดิ ตั้งสปินเดิล (Spindle Head) และมอเตอร์สปินเดลิ (Spindle Motor) เป็นต้น ส่วนประกอบดังกล่าวเปน็ อปุ กรณ์พน้ื ฐานในเคร่อื งจักรกล ธรรมดาทใ่ี ชม้ ือควบคุม (Conventional Machine) ดังรูปที่ 3.6 รูปท่ี 3.6 โครงสรา้ งเคร่ืองมอื กลซเี อน็ ซี 3.4 ประเภทของเครือ่ งมือกลซเี อ็นซี ปจั จบุ นั เคร่ืองมอื กลซีเอ็นซีได้ถกู นามาประยุกตใ์ ช้ในงานอตุ สาหกรรมการผลติ หลายชนิดดว้ ยกันโดยท่วั ไปสามารถจาแนกประเภทของเครื่องมือกลซีเอ็นซีไดด้ ังน้ี 3.4.1 งานตัดเฉือนผิวโลหะ (Metal Cutting) เป็นประเภทงานท่ีใช้สาหรับขึ้น รูปชิ้นงานโดยการตัดเฉือนหรือการผลิตแบบเสียเศษ โดยเครื่องมือกลซีเอ็นซีของงานตัด เฉือนผิวโลหะประกอบด้วย เครื่องกลึงซีเอ็นซี(CNC Turning Machine หรือ CNC Lathe) ใช้สาหรับกลึงงานรูปทรงกระบอก เครื่องกัด (CNC Milling Machine) และแม ชชีนน่ิงเซนเตอร์ (Machining Center) สาหรับงานกัดช้ินงาน 3 มิติ เครื่องเจาะ (CNC Drilling Machine) สาหรับเจาะรูกลมและทาเกลียวชิ้นงาน และเคร่ืองคว้าน (CNC <<<<<<<< Jirayut Chotikul @ Sisaket Technical College >>>>>>>>

Boring Machine) สาหรับคว้านรูกลมของช้ินงานสาหรับผิวงานละเอียดสาหรับช้ินงาน ขนาดใหญด่ ังรูปท่ี 3.7 รูปท่ี 3.7 เครอื่ งซีเอน็ ซีประเภทงานตัดเฉือนผิวโลหะ 3.4.2 งานเจยี ระไน งานเจียระไน (Grinding) เป็นงานอีกประเภทหนึ่งที่นาระบบซีเอ็นซีมา ใช้งานมาก รองมาจากงานตัดเฉือนผิวโลหะ โดยเครื่องเจียระไนซีเอ็นซี (CNC Grinding Machine) ใช้สาหรับเจียระไนให้ได้ผิวงานละเอียด เรียบ มันวาว โดยแยกเป็นการ เจียระไนราบ (Surface Grinding) และการเจียระไนกลม (Cylindrical Grinding) ดังรูป ที่ 3.8 <<<<<<<< Jirayut Chotikul @ Sisaket Technical College >>>>>>>>

รูปที่ 3.8 เครอ่ื งซีเอ็นซปี ระเภทงานเจยี ระไน 3.4.3 งานขน้ึ รูปด้วยวิธีพิเศษ งานข้ึนรูปด้วยวิธีพิเศษ (Unconventional Machine) เป็นการข้ึนรูป ที่นิยมเรียกว่า การผลิตแบบไม่คายเศษ (Non Traditional Machine : NTM) ซ่ึง แตกตา่ งจากการใช้เครือ่ งมอื กลพื้นฐานและเครอ่ื งมือกลซีเอน็ ซีคือ เป็นการกาจดั เนือ้ วัสดุ ออกด้วยเทคนิคพิเศษต่างๆ เช่น การใช้กรรมวธิ ีทางกล การใช้ความร้อน การใช้สารเคมี หรือพลังงานไฟฟ้าเข้ามาช่วยในการปฏิบัติการ โดยเครื่องมือกลที่ใช้ในงานประเภทนี้ ประกอบด้วย 1. เคร่ืองตัดข้ึนรูปโลหะด้วยลวดไฟฟ้า (Wire Cutting Machine) ใช้สาหรับตัด แผ่นโลหะหนาด้วยลวดท่ีมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่าน เปน็ ผลให้วสั ดหุ ลอมเหลวหลดุ ออกไปได้ ตามแบบทีต่ ้องการ ดงั รปู ท่ี 3.9 รูปท่ี 3.9 เคร่อื งตัดโลหะด้วยลวดนาไฟฟ้าและการตัดดว้ ยลวดนาไฟฟ้า <<<<<<<< Jirayut Chotikul @ Sisaket Technical College >>>>>>>>

2. เครื่องกัดเซาะโลหะด้วยอิเล็กโทรด (Electrical Discharge Machine หรือ EDM) ใช้สาหรับกัดช้ินงาน 3 มิติ โดยใช้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านอิเล็กโทรดเพื่อทาการข้ึน รูปชิ้นงานตามแบบที่กาหนดดงั รูปที่ 3.10 รปู ท่ี 3.10 เคร่ืองกดั เซาะข้นึ รูปโลหะดว้ ยอิเล็กโทรดและการกัดขึ้นรปู โลหะด้วย อเิ ลก็ โทรด 3. เครื่องตัดข้ึนรูปแผ่นโลหะ (Sheet Metal Cutting) ใช้สาหรับตัดแผ่นโลหะ ตามรูปแบบที่ต้องการและช้ินงานที่ไม่หนามาก แยกประเภทได้ตามวิธีการตัดคือ ลาแสงเลเซอร(์ Laser) พลาสมา (Plasma) และลาน้า (Water Jet) ดงั รปู ที่ 3.11 รูปที่ 3.11 เคร่อื งตดั ขน้ึ รูปแผ่นโลหะแบบพิเศษควบคุมดว้ ยคอมพวิ เตอร์ <<<<<<<< Jirayut Chotikul @ Sisaket Technical College >>>>>>>>

3.4.4 งานตัดเจาะและพับขน้ึ รปู งานตัดเจาะและพับขึ้นรูป (Fabrication) เป็นการขึ้นรูปโลหะแผ่น ควบคุมดว้ ยคอมพวิ เตอร์อกี แบบโดยงานตัดเจาะและพบั ขนึ้ รปู จะประกอบด้วย 1. เคร่ืองเจาะกระแทกซีเอ็นซี (CNC Punching Machine) ใช้สาหรับตัดและ เจาะแผ่นโลหะให้เป็นรูปทรงตา่ งๆ โดยใช้เคร่ืองมือตัดกระแทกแผ่นโลหะให้ขาด ดังรูปที่ 3.12 รูปที่ 3.12 เคร่ืองเจาะกระแทกซีเอ็นซี 2. เคร่ืองพับแผ่นโลหะซีเอ็นซี (CNC Press Brake หรือ CNC Bending Machine) ใช้สาหรับพับแผ่นโลหะให้เป็นรูปทรง 3 มิติ หรือรูปทรงอื่นท่ีต้องการดังรูปท่ี 3.13 รปู ที่ 3.13 เคร่อื งพบั โลหะแผ่นซีเอ็นซี <<<<<<<< Jirayut Chotikul @ Sisaket Technical College >>>>>>>>

3.4.5 งานประยุกต์ใช้สาหรับวัตถปุ ระสงค์พเิ ศษ งานประยุกต์ใช้สาหรับวัตถุประสงค์พิเศษ (Special Purpose Application) เป็นเครื่องซีเอ็นซีท่ีผลิตมาเพื่อใช้สาหรับงานเฉพาะอย่าง เช่น เคร่ืองวัด โคออร์ดิเนต (Coordinate Measuring Machine หรือ CMM) หรือเรียกว่า เครื่องวัด 3 แกน เป็นเคร่ืองมือท่ีใช้ในการวัดขนาดรูปร่าง และพิกัดของช้ินงานเม่ือต้องการความ เท่ียงตรงสงู โดยสามารถวัดช้นิ งานได้ที่ความระเอียดประมาณ 2 ไมโครเมตร การส่ังงาน และรับผลข้อมูลตัวเลขที่ได้จากการวัดกลับมาแสดงอีกคร้ังที่บนหน้าจอคอมพิวเตอร์ ดัง รูปที่ 3.14 รปู ท่ี 3.14 เครอ่ื งวดั โคออร์ดิเนต 3.5 ข้อดแี ละข้อเสียของเครอ่ื งมอื กลซีเอน็ ซี ขอ้ ดีและข้อเสยี ของเครื่องมือกลซีเอน็ ซีเมอ่ื เปรยี บเทยี บกับเครอื่ งมือกลพื้นฐาน ทีค่ วบคุมดว้ ยมนุษยม์ ีดังน้ี <<<<<<<< Jirayut Chotikul @ Sisaket Technical College >>>>>>>>

3.5.1 ขอ้ ดีของเคร่อื งมือกลซีเอน็ ซี 1. มคี วามเที่ยงตรงสูง 2. คุณภาพสม่าเสมอทกุ ชิ้น 3. โอกาสเกิดความเสียหายหรือตอ้ งแก้ไขชน้ิ งานมีน้อย 4. สามารถทางานไดต้ ลอด 24 ช่วั โมงโดยไมห่ ยุด 5. มคี วามรวดเรว็ ในการผลติ ทาให้มีผลผลติ สูง 6. สามารถคาดคะเนและวางแผนการผลิตได้อย่างแมน่ ยาเพราะเวลา ไมข่ นึ้ อยกู่ บั แรงงาน 7. สามารถสลับเปล่ยี นชิน้ งานได้หลากหลายรูปทรงสะดวกและ รวดเร็ว 8. เมือ่ เปรียบเทยี บจานวนผลผลติ ท่ีเท่ากนั เครื่องจักรกลซีเอน็ ซใี ช้ พน้ื ทน่ี ้อยกว่า และลดพน้ื ที่ของการจัดเกบ็ ชิ้นงาน 9. มคี วามสะดวกสาหรบั ใช้ในการผลิตช้นิ งานตน้ แบบทีม่ ีการแกไ้ ข บอ่ ย 10. ช้นิ งานทีม่ คี วามซับซอ้ นสงู และมหี ลายขนั้ ตอนการผลิต สามารถใช้ เครือ่ งจักรกลซเี อน็ ซเี คร่ืองเดียวทาใหไ้ ม่ต้องยา้ ยไปทาที่เคร่ืองอ่นื 11. ลดปรมิ าณการตรวจสอบคณุ ภาพ 12. ทาให้สามารถใชท้ ลู หรือเคร่ืองมอื ตดั ได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ 13. ลดแรงงานในสายการผลติ ผคู้ วบคมุ เคร่ือง 1 คนสามารถควบคุม ได้ 3-5 เครอื่ ง 14. ใช้อปุ กรณ์เสริมนอ้ ยไม่ต้องใช้แผน่ ลอกแบบ (Camplates หรอื Template) <<<<<<<< Jirayut Chotikul @ Sisaket Technical College >>>>>>>>

3.5.2 ขอ้ เสียของเคร่ืองมือกลซีเอ็นซี 1. มีราคาแพงต้องนาเข้าจากต่างประเทศ 2. ค่าซอ่ มแซมสูง การซ่อมแซมมีความซบั ซ้อนเพราะมที ้งั ฮาร์ดแวร์ และซอฟแวร์ รวมถงึ คอมพิวเตอรแ์ ละอุปกรณไ์ ฟฟา้ อิเล็กทรอนิกส์ 3. อปุ กรณ์และซอฟแวร์เสริม (Option) มรี าคาสงู และต้องใช้จาก ผู้ผลิตนน้ั ๆเทา่ นน้ั 4. ตอ้ งมีความรพู้ ื้นฐานคณติ ศาสตร์พอควรในการเขยี นโปรแกรม 5. ตอ้ งหางานป้อนให้เคร่ืองอยา่ งสม่าเสมอ 6. ไม่เหมาะกับการผลิตจานวนน้อยๆ 7. สญั ญาค่าซ่อมบารุงสูง 8. ชิ้นส่วนอะไหล่ในบางกรณีต้องรอจากต่างประเทศ 9. คอนโทรลเลอรเ์ ป็นภาษาอังกฤษ ชา่ งตอ้ งเรียนรูแ้ ละมกี ารรับการ ฝกึ อบรมการใชเ้ คร่ืองและการเขยี นโปรแกรมกอ่ นเร่ิมใช้เคร่อื งได้ สรุปสาระสาคัญ การขึ้นรูปด้วยเคร่ืองมือกลอัตโนมัติ เป็นการข้ึนรูปที่สามารถผลิตช้ินงานได้ ถูกต้องเที่ยงตรงสูงผลิตช้ินงานท่ีมีลักษณะเดียวกันได้ครง้ั ละมากๆ มีความรวดเร็วในการ ผลิตทาให้มีผลิตสูง คุณภาพสม่าเสมอทุกช้ินดังนี้ในงานอุตสาหกรรมจึงนิยมนามาใช้งาน กันอย่างแพร่หลาย <<<<<<<< Jirayut Chotikul @ Sisaket Technical College >>>>>>>>

แสงสวา่ งจงบังเกดิ แด่ท่าน จริ ยทุ ธ์ โชติกุล ช่างกลโรงงาน วทิ ยาลัยเทคนคิ ศรีสะเกษ <<<<<<<< Jirayut Chotikul @ Sisaket Technical College >>>>>>>>


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook