แผนธุรกิจเสื้อผ้าสำเร็จรูป

Page 1

แผนธุรกิจ บริษทั กะตังอินเตอรเทรด จํากัด ผลิตเสื้อผาสําเร็จรูป 1. บทสรุปของผูบริหาร คุณไชยวัฒน แซโอว กรรมการผูจัดการ บริษัทกะตังอินเตอรเทรด จํากัด ไดดําเนินกิจการ อุตสาหกรรมเสื้อผาสําเร็จรูป ตั้งแตพ.ศ. 2537 กิจการเจริญกาวหนาเปนลําดับ ทุนจดทะเบียน จํานวน 5 ลานบาท วิสัยทัศนทางธุรกิจที่กวางไกล โดยไดเรียนรูการบริหารการจัดการสมัยใหม นํามาใชพัฒนา องคกรธุรกิจของตน จัดแผนการดําเนินงานของบริษัทฯ ดังนี้ .1.1 ดานการตลาด จําหนายสินคาถึงผูบริโภค ผานชองทางจําหนายในหางสรรพสินคา เชน Macro Big C Lotus และ Carrefour นําออกสูตลาดตางประเทศ เขาเปนสมาชิกกรมสงเสริมการสงออก กระทรวงพาณิชย และ ตลาดเชิงรุกสูตลาดการคาในแถบอินโดจีน เปดเวปไซดในนาม WWW. Gatang.com เพื่อสูตลาดสากล เปดโชวรูมที่ตลาดประตูน้ํา เพื่อเนนลูกคาชาวตางประเทศ 1.2 ดานการผลิต เนนการออกแบบที่ทันสมัยสากล และตามแฟชั่นนิยม เหมาะสมกับวัย สินคาสําเร็จทีผ ่ ลิตออกมาเนนดานคุณภาพเปนสิ่งสําคัญ โดยผานการตรวจสอบคุณภาพ ทุกขั้นตอน บุคลากรของบริษัทมีทก ั ษะชํานาญในการผลิตสินคาเปนอยางดี จัดซื้อเครื่องจักรที่ทน ั สมัยตลอดเวลา เพื่อใหเกิดคุณภาพของผลิตภัณฑ 1.3 การจัดการและการบริหารบุคคล กระจายอํานาจในการตัดสินใจใหกับหัวหนางานแตละแผนก เพื่อความคลองตัวในการ ดําเนินงาน ตามขอบเขตและความเหมะสมแตละตําแหนง จะเนนการทํางานในลักษณะครอบครัวเดียวกัน แตใชหลักการบริหารบุคคล ประเมินผล การทํางานจากความสามารถ แบงหนาที่การทํางานอยางชัดเจน เพื่อไมใหเกิดการขัดแยงในการดําเนินงาน 1.4 การเงินการบัญชี 1


เนนการขยายงานดวยกําไรของบริษัท ใชงบทางการบัญชี เปนเครื่องมือในการวางแผน กิจการ จัดทํางบกระแสเงินสด เพื่อคาดการณความตองการเงินในอนาคต สูการขยายงาน หาแหลงเงินทุนที่มีตนทุนต่ํา และใชสถาบันการเงินของรัฐเพื่อมาสนับสนุนในดานแหลง เงินทุนที่ยังคาดสภาพคลอง 1.5 การบริหารงานบุคคล ตระหนักถึงบุคลากรเปนสินทรัพยขององคกรทีจ ่ ะดํารงรักษาไว พัฒนาและฝกอบรม เพื่อสรางทัศนคติที่ดต ี อการทํางานของบุคลากร สวัสดิการและผลประโยชนที่ดี ตามพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ จัดสันทนการภายในอยางตอเนื่อง เพื่อเนนการรักสามัคคี ทําใหพนักงานผูกพันและรัก องคกรเปนอยางดี แผนการดําเนินงานนี้ เพื่อใชเปนเครื่องมือในการขยายงานตอไปในอนาคต เปดโอกาสใหกับ ผูที่สนใจที่ตองการมารวมลงทุนในบริษัท กะตังอินเตอรเทรด จํากัด เพื่อมาพัฒนาและสรางความเจริญ ใหกับบริษัทตอไป

2. ประวัติและความเปนมาและภาพรวมกิจการ

2.1 ประวัติการกอตั้ง (History & Background) นายไชยวัฒน แซโอว เกิดทีอ่ ําเภอบางมูลนาก จังหวัดพิจิตร เมื่ออายุ 7 ขวบ ไดยายภูมิลําเนามาที่ จังหวัดตราด เรียนชั้นประถมการศึกษาทีโ่ รงเรียนชุมชนวิมลวิทยา และจบการศึกษามัธยมตนจากโรงเรียน ตาษตระการคุณ เมื่อป พ.ศ. 2529 แลไดเดินทางเขาสูกรุงเทพมหานคร มาทํางานเปนลูกจางในโรงงาน เกือบ 3 ป หลังจากนั้นไดผนั แปรชีวิตของตนเองจากลูกจางมาเปนเจาของกิจการ โดยนําสินคาจากโรงงาน เชน เสื้อเชิ้ต เสือยืด กางเกง ฯลฯ นําไปจําหนายยังสูภูมภิ าค ยอดขายไดเพิ่มสูงขึ้นตลอดเวลา ดังนั้นในป พ.ศ. 2537 ก็เริ่มเปนผูผ ลิตสินคาของตนเองออกมา เริ่มแรกไดสั่งซื้อวัตถุดิบและ อุปกรณในการประกอบ โดยตนเองเปนผูอ อกแบบเสื้อและกางเกงตาง ๆ หลังจากไดออกแบบตามแฟชั่น นิยมแลว ก็นําสงใหชางตัดเย็บรับเหมาชวง เมื่อเปนสินคาสําเร็จรูปออกมา ก็นําไปจัดจําหนายยังสวน ภูมิภาคและหนารานของตนเองที่ศูนยการคาโบเบทาวเวอร

2


ตอมาป พ.ศ. 2541 ไดเปลี่ยนแปลงจากการผลิตสินคาโดยชางรับเหมาชวง มาดําเนินเปนผูผลิตเอง ทุกขั้นตอน ไดวาจางพนักงานประจําสํานักงานเพื่อมาดูแลในดานการจัดการ การผลิต การเงินการบัญชี การควบคุมสตอกสินคา และการบริหารบุคคล โดยตนเองทําหนาที่บริหารการตลาด และไดรับพนักงาน ดานแผนกตัด เย็บ โพง บรรจุหีบหอ ขนสง เปนพนักงานดานปฏิบัติการประจําบริษทั ฯ จากพนักงาน จํานวน 50 ทาน และไดขยายเรื่อยมาจนถึง 150 ทาน และในไมชานี้จะเพิ่มขึ้นถึง 300 ทาน หลังจากไดบริหารในรูปผูประกอบการคนเดียวมาเปนเวลานานพอควร เมื่อวันที่ 6 ตุลาคม 2543 ไดจัดตั้งเปนรูปนิติบุคคลในนาม “บริษัท กะตัง อินเตอรเทรด จํากัด” มีทุนจดทะเบียน 5 ลานบาทโดยมี คุณไชยวัฒน แซโอว เปนกรรมการผูจัดการ ผูมีวิสัยทัศนอันกวางไกลมองธุรกิจเสื้อผาเปนอยางดีวาภายใน อนาคตความตองการของผูบริโภคในดานการแตงกายจะเปลี่ยนรสนิยมไปตามยุคตามสมัยของ อารยประเทศ เพราะไมมีพรมแดนขวางกัน้ ตอไปแลวของโลกธุรกิจใบนี้ ดังนั้นจึงไดนําระบบการตลาดสู ในธุรกิจ Internet ใชชื่อวา WWW. Gatang . Com เพือ่ เปนการนําสูต ลาดตางประเทศอยางไรพรมแดน และไดเขาโครงการตาง ๆ ของภาครัฐ เพื่อนําหลักการบริหารที่เปนมาตรฐานสากล มาปรับปรุงและพัฒนา สินคาตลอดเวลา เพื่อจะกาวไปขางหนาอยางไมหยุดหยั่ง 2.2 สถานที่ตั้ง (Location) ตั้งอยูเลขที่ 410/390-2 หมูที่ 4 แขวงบางมด เขตทุงครุ กทม. 10160 โทรศัทพ 0-28733271-2 โทรสาร 0-28733273 อาคารพาณิชย 3 หอง 4 ชั้นพรอมชั้นลอย เนื้อที่ 48 ตารางวา ในหมูบานสุขสวัสดิ์ สวนธน การคมนาคมสะดวก หางจากถนนประชาอุทศิ ประมาณ 800 เมตร สามารถเดินทางเขาออกได หลายทาง จึงทําใหการขนสงสินคาไดรวดเร็วอยางมีประสิทธิภาพ พรอมทั้งมีโชวรูมสินคาที่อาคารใบหยก ทาวเวอร ชัน้ 4 หอง 44 ถนนราชปรารถ พญาไท กทม. 10400 โทรศัพท 0-26534818 2.3 สวนผูถือหุน (Shareholders Capital) เปนธุรกิจการบริหารเพียงคนเดียว และจดทะเบียนตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย เปน นิติบุคลประเภทบริษัทจํากัด ทะเบียนเลขที่ (3) 1790/2543 เมื่อวันที่ 6 ตุลาคม 2543 โดยมีทุนจดทะเบียน 5 ลานบาท จํานวน 50,000 หุน มูลคาหุนที่ตราไวหุนละ 100.- บาท โดยมีรายนามผูถือหุนของบริษัท ฯ ดังนี้

3


ชื่อผูถือหุน 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.

นายไชยวัฒน นายบุญทวี นายธนพร นายธวัชชัย น.ส.วราพร น.ส.สุนีย น.ส.ภัชกุล

แซโอว ศักดิศ์ ิริ บุญชีไธสง สัญญาประเสริฐ อภิสิทธิ์ชัยสกุล แปลกสันเทียะ คําหงษา

จํานวนหุน 49,994 1 1 1 1 1 1

2.4 การบริหารงาน (Management) การบริหารเปนแบบครอบครัว โดยอํานาจในการตัดสินใจสวนใหญอยูท ี่ นายไชยวัฒน แซโอว โดยมี น.ส.วราพร อภิสทธิ์ชยั สกุล เปนผูชว ยบริหาร ปจจุบันนายไชยวัฒน แซโอว ไดเขาโครงการ สนับสนุนของราชการ กรมสงเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม เพื่อนําการบริหารแบบใหมมา ดําเนินการในสวนที่ตองปรับปรุง โดยใหทีมที่ปรึกษาฯ เขามาวางระบบการบริหาร ซึ่งจะรองรับการ ทํางานในอนาคต ในระดับมืออาชีพ โดยการกระจายอํานาจ วินิจฉัยและสั่งการไดตามลําดับขั้น 2.5 ประสบการณของผูบริหาร(Experience) นายไชยวัฒน แซโอว กรรมการผูจดั การ ไดคาขายเกีย่ วของกับธุรกิจเสื้อผา มาไมต่ํากวา 10 ป คลุกคลีตั้งแตเริ่มตนเขามาสูก รุงเทพมหานคร จนถึงปจจุบัน จะมีความชํานาญในการออกแบบและเทคนิค ตาง ๆ เกีย่ วกับเสื้อผาโดยตรง

4


3. การวิเคราะหสถานการณ (Analysis Situation) 3.1 ปจจัยสภาพแวดลอมภายนอก (External Factor) ปจจัยการแขงขันในตลาดเสือ้ ผา นับวันทวีความรุนแรงมาก ผูประกอบการที่เขาสูธ ุรกิจ ชวงที่ ผานมาไดปดกิจการเปนจํานวนมากจากสภาวะเศรษฐกิจที่ถดถอย ที่ไมสามารถบริหารสภาพคลองทางดาน การเงินของธุรกิจตนเองได และมีผูประกอบการรายใหมก็เกิดขึน้ มาแทนที่ ในสภาวะเศรษฐกิจปจจุบัน เริ่ม แนวโนมในทางที่ดีขึ้น หลังจากไดรับผลกระทบวิกฤตถดถอยมาเปนเวลาหลายป รัฐบาลไดใชนโยบายการ กระจายรายไดเขาสูภาคชนบท ทําใหประชากรในระดับรากหญา เริ่มมีกําลังที่จะซื้อปจจัยอุปโภคบริโภค เมื่อเศรษฐกิจเริ่มเขาสูชวงฟน ฟู ภาคอุตสาหกรรมตาง ๆ ไดเริ่มการจางงาน ทําใหรายไดผลิตภัณฑ มวลชนประชาชาติ(Gross deposit population) :GDP ที่รัฐบาลไดคาดการณไว ในระดับ 6 เปอรเซ็นต ของผลิตภัณฑมวลชนรวมเริม่ เห็นภายที่ชดั เจน สินคาที่กจิ การผลิตออกมาไดรับการตอนรับจากลูกคา เปาหมาย เชน วัยทํางาน วัยรุน เปนอยางดี ซึ่งมีผลตอยอดขายเพิ่มขึ้นเปนลําดับ ขณะที่คูแขงขันในตลาด เดียวกัน ซึ่งไดรับผลกระทบเศรษฐกิจทีผ่ านมา ยังมีปญ  หากับสถาบันการเงิน ทําใหไมมีเวลาที่จะคิด ออกแบบผลิตภัณฑใหม เพือ่ สนองความตองการลูกคาใหเกิดความพึงพอใจสูงสุดตามสมัยแฟชั่นนิยม จึง เปนโอกาสอันดีที่ทางบริษัทที่มีสัดสวนในการครองสวนแบงการตลาดจากเดิม 5 % ใหขยายเพิ่มขึ้นเปน 10 % ของหางสรรพสินคาที่จัดจําหนายในปจจุบัน ขณะเดียวกันประชากรภายในประเทศเพิ่มขึ้นเฉลี่ยราว 1 ลานคน ตอป ทําใหตลาดเสื้อผาแฟชั่นยังสามารถครองตลาดไดอยูตลอดไป ปจจุบันรสนิยมของ ผูบริโภคในการสวมใสเสื้อผาจะเนนในดานความสบาย แบบที่ทันสมัย และสามารถสวมใสในเทศกาลตาง ๆได บงบอกถึงบุคลิกภาพที่เหมาะสมตามสมัยนิยม

3.2 ปจจัยแวดลอมภายใน (Internal Factor) ทางบริษัทมีบคุ ลากรที่ชํานาญในการออกแบบ และการตัดเย็บไดเปนอยางดี และ จะตองผาน การตรวจสอบคุณภาพ(Q.C.)ทุกขั้นตอนในการผลิต จากพนักงานตรวจสอบคุณภาพ กอนที่จะจัดจําหนาย ตอไปยังลูกคา ทําใหสินคาของทางบริษัท ไดรับการยอมรับจากผูจ ัดจําหนายในหางสรรพสินคา จึงไดรับ ความไววางใจโดยมีคําสั่งซื้อเพิ่มขึ้นตลอดเวลา 3.2.1 ดานการบริหารงาน ผูบริหารของบริษัทตระหนักถึงพนักงานและลูกจางเปรียบเสมือน สินทรัพยที่จะดํารงรักษาไวเปนอยางดี จึงไดมีสวัสดิการตาง ๆ เพื่อชวยเหลือพนักงาน ของบริษัท และดูแลเอาใจใสพนักงานและลูกจางอยางใกลชิด ใหความสนิทสนมเสมือน เปนครอบครัวเดียวกัน ทําใหพนักงานและคนงานทุมเททั้งกายและใจในการปฏิบัติงาน 5


อยางเต็มที่ โดยบริษัทใหผลตอบแทนสูงกวาคูแขงขันในอุตสาหกรรมเดียวกัน เพื่อสราง เอกลักษณของบริษัท 3.2.2 ดานพัฒนาสินคา ไดทําการศึกษาและติดตามแบบแฟชัน่ ที่เปลีย่ นแปลง ตลอดเวลา ทําใหสินคาที่ผลิตออกมาเหนือกวาคูแขงขัน ปจจุบันทางบริษัทไดขยายกําลัง การผลิต และจัดซื้อเครื่องจักรที่ทนั สมัย เพื่อชวยลดตนทุนในการผลิต ทําใหสินคาที่ ออกมาปราณีต มีคุณภาพทีส่ ูง และไดรับมาตรฐานของแบบเสื้อผา ทางบริษัทจะ ดําเนินการขอหนังสือรับรองมาตรฐาน ISO 9000 ตอไปในภายภาคหนา

4. วัตถุประสงคและเปาหมายทางธุรกิจ 4.1 เปาหมายทางการตลาด 1. เพิ่มจํานวนยอดขายใหได 3 ลานบาทภายในระยะเวลา 1 เดือนแรกของแผน หรือ 36 ลานบาทตอป 2. เพิ่มยอดขายใหสูงขึ้น 50 % ของยอดขายปที่ผานมา 3. มียอดสงคืนไมเกิน 5 % ของคําสั่งซื้อ

4.2 เปาหมายทางการผลิต 1. มีสินคาที่ไมไดมาตรฐานนอยกวา 3 % ของจํานวนสินคาทั้งหมดที่ผลิตโดยเฉลีย่ 2. ใหเครื่องจักรทํางานไมต่ํากวา 80 % ของกําลังการผลิตตลอดเวลา 3. มีตนทุนคาวัตถุดิบลดลง 15 % จากปทผี่ านมา 4.3 เปาหมายทางการจัดการ 1. มีอัตราการลาออกของพนักงานไมสูงกวาปที่ผานมา 2. ลดตนทุนคาซอมเครื่องจักรและอุปกรณทเี่ กิดจากการใชงานที่ไมถกู ตองใหนอยไปไมต่ํา กวา 80% 4.4 เปาหมายทางการเงิน 1. มีกําไรสุทธิไมต่ํากวา 15% ของยอดขาย 2. มีแหลงเงินกูทมี่ ีอัตราดอกเบีย้ ต่ํากวาอัตราถัวเฉลีย่ ของธนาคารพาณิชยไทย

6


5. แผนการตลาด ( Marketing Plan ) 5.1 การวิเคราะหตลาด ทางบริษัทฯ ไดแบงกลุมลูกคาเปาหมายเพือ่ สนองความตองการของลูกคาไดถูกกลุมเปาหมาย เสื้อผา ดังนี้ ประเภท กลุมลูกคาเปาหมาย 1. เสื้อ วัยรุนและวัยทํางาน 2. กางเกง วัยรุ นแุ ละวัยทํางาน 3. เสื้อเด็ก อายุระหวาง 6 – 12 ป จุดยืนของสินคาและบริการ 5.2 ตําแหนงทางการตลาด 1. จะผลิตสินคาที่เนนดานคุณภาพ ใชวัตถุดบิ และวัตถุอุปกรณที่ดี พนักงาน QC ตรวจ ทุกขั้นตอน กอนที่จะจัดจําหนายยังกลุมลูกคาเปาหมาย 2. สินคาของบริษัทฯ จะมีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงรูปทรงหรือวัตถุอุปกรณตลอดเวลา โดยเนนหนาที่ออกแบบจะติดตามแฟชัน่ นิยมของแตละกลุมอยางใกลชดิ ทําให เหนือกวาคูแขงขันในอุตสาหกรรมเดียวกัน 3. พนักงานของบริษัทฯ จะมีความชํานาญในดานการตัดเย็บ เพราะไดปฏิบัติงานกับ บริษัทเปนเวลานาน เพราะบริษัทมีนโยบายในการธํารงรักษาคน มี สวัสดิการที่ดี เสมือนหนึ่งเปนครอบครัวเดียวกัน 4. บริษัทฯ ไดจัดแผนผังการรับรูในสายตาของลูกคา ( Perceptual Map) โดดเดนดวยความเปนไทย

สีสันสดใสสวยงาม ดวยวัตถุตางประเทศ

สีสันเรียบขรึม ดวยวัตถุในประเทศ

โดดเดนดวยความทันสมัยเปนสากล จะนําผังการรับรูมาพัฒนารูปแบบ เพื่อใหเกิดความพอใจของลูกคาสูงสุด

7


บริษัทไดทําการสื่อสินคาของบริษัทลงไปในเวปไซดโดยใชชื่อวา WWW.gatang.com จะ นําเสนอเสื้อผาของบริษัททีผ่ ลิตออกมา โดยใชนางแบบที่มีชื่อเสียง ถายภาพลงไปในเวปไซด 5.3 กลยุทธการตลาด 1. บริษัทมุงเนนนําเสนอในหางสรรพสินคาใหญ เชน Makro Lotus Big C Carrefour 2. บริษัทมีโชวรูมที่ประตูนา้ํ เพื่อลูกคาในดานการสงออกโดยตรง 3. ทางบริษัทมีพนักงานที่มคี วามเชี่ยวชาญในการตัดเย็บเสื้อผามาเปนเวลานาน จึงทําให กําลังการผลิตสามารถสนองความตองการของลูกคาไดอยางรวดเร็ว ในการตัดเสื้อผาให กลุมเด็กกอนวัยเรียน กลุมวัยเรียน กลุมวัยทํางาน จัดทํากลุมลูกคาสัมพันธ โดยสมัครเปนสมาชิกกับทางบริษัท จะไดรับสวนลดในการซื้อ และ ลูกคาสัมพันธที่สามารถแนะนําลูกคาคนอื่นเขารวมเปนสมาชิก จะไดสะสมแตมเพือ่ มาเปลี่ยนเปนสินคา ทางบริษัท ลูกคาสัมพันธจะเนนใหรวมกันรณณรงคในดานสิ่งแวดลอม ความรูใ นดายธุรกิจและการทัศน ศึกษา หรือจัด Walk Rally เพื่อใหทุกคนเปนสื่อโฆษณาผลิตภัณฑกะตังโดยทางออม 5.4 คุณภาพผลิตภัณฑ ทางบริษัทตระหนักถึงคุณภาพเปนสิ่งสําคัญ โดยใหพนักงานตรวจสอบคุณภาพ ( QC ) ตรวจเช็ค ดูทุกขั้นตอนเพื่อใหได 1. ตรงตามลักษณะที่กําหนดการออกแบบไว 2. ไมมีสวนประกอบที่ผิด ตรงตามมาตรฐาน 3. เมื่อผูบริโภคนําไปใช มีความปลอดภัยในการใชงาน ไมมีผลขางเคียงในดานผิวหนังการรับรู 4. มีความคงทนและแข็งแรง ไมชํารุดหรือเสียหายไดงาย 5. ลักษณะแบบที่ออกเหมาะสมกับการใชงาน ไมวาจะอยูใ นสภาวะใด ๆ เมื่อสวมใส แลวจะ สรางความมั่นใจ 6. สินคาของบริษัทมีการประกันคุณภาพ เมื่อนําไปใชภายใน 3 เดือน สีตก ซิปแตก ทางบริษัท จะเปลี่ยนตัวใหมใหทันที 5.5 เครือ่ งหมายการคา บริษัทใชสัญญาลักษณ G เพื่อเปนตรายี่หอ แทนคําวา กะตัง ซึ่งจะสรางความจําของลูกคาไดดี 8


5.6 กลยุทธราคา ในดานราคา จะพิจารณาจากราคาของคูแขงขันโดยทางบริษัทจะกําหนดราคาใหเทากับ สูงหรือ ต่ํากวาราคาของคูแขงขันโดยตรงที่มีจดุ ยืนทางการตลาดที่ใกลเคียงกัน จะผันแปรไปตามภาวะเศรษฐกิจ แตจะคงทนรักษาคุณภาพไวตลอดเวลา 5.7 ชองทางการจัดจําหนาย 1. จะเขาสู Department Store, Discount Store ที่มีขนาดใหญ 2. การสงออกไปสูตลาดตางประเทศ จากโชวรูมของบริษัทที่ประตูน้ํา และเวปไซดของบริษัท โดยตรง(WWW.Gatang.com) 3. กลุมลูกคาสัมพันธ ในการทํา Direct Sale โดยตรง 5.8 กลยุทธการสงเสริมการตลาด 1. จะลงโฆษณาในหนังสือแฟชัน่ ตาง ๆ เชน แพรว ผูหญิงวันนี้ คูสรางคูสม Camping ฯลฯ 2. สมาชิกแนะนําสินคาในกลุม ลูกคาสัมพันธ 3. ติดตั้ง Cut Out ใน Bill Board ของตามสี่แยกตาง ๆ 4. สงโบวชวั สไปยังกลุมลูกคาในสถานที่ทํางานหรือที่อยูอ าศัย 5. รานโชวรูมเนนการออกแบบหนารานใหทันสมัย โดยใชสีที่สะดุดสายตาและแสงไฟชวยใน การเนนสีของเสื้อผา รวมทั้งนําระบบ Electronic เขามาเปนสวนประกอบในการสื่อ 5.9 การควบคุมและประเมินผลทางการตลาด 1. หลังจากไดดําเนินการตลาดแลว แตละเดือนมาเปรียบเทียบกับเปาหมายการตลาดวามี อัตราสัดสวนเพิ่มขึ้น คงที่ หรือลดลงเพียงใด 2. นําคาใชจายในทางตลาด ที่กําหนดไวกับงบประมาณที่ตั้งไว วาอัตราสัดสวนใช จายเกินงบ พอดี หรือต่ํากวางบประมาณ 3. ทําแบบสอบถามใสไวในผลิตภัณฑ โดยติดอากรแสตมป เมื่อลูกคาตอบกลับมาสงของ ชํารวยสมนาคุณ 4. ตรวจสอบกิจกรรมของคูแขงขันการตลาดในอุตสาหกรรม ไดมีการเปลี่ยนแปลงหรือพัฒนา กาวหนาเพียงใด 5. ยอดขายทางดานตางประเทศ มีอัตราสัดสวนเพิ่มขึ้น คงที่ หรือลดลงอยางไร 9


6. การจัดองคการและการบริหารบุคคล ขอบเขตการรับผิดชอบ ตําแหนง : ผูจ ดั การทัว่ ไป หนาที่รับผิดชอบหลัก • จัดทําแผนธุรกิจรวมกับผูล งทุนและผูถือหุน และรับนโยบายมาปฏิบัติใหเปนรูปแบบ • บริหารการดําเนินงานใหเปนไปตามแผนธุรกิจที่กําหนด, วัตถุประสงคเปาหมายที่ตั้ง • ประสานงานกับฝายตาง ๆ ในองคกรและนอกองคกรใหภาพพจนองคกรดีในสายตา สังคม • จัดทําแผนขยายธุรกิจใหเติบโตขึ้นและจัดทําแผนธุรกิจใหม ๆ • ควบคุมดูแล สนับสนุน สงเสริม สรางสรรทุกหนวยงานใหทํางานไปสูเปาหมายรวมกัน • จัดทํากิจกรรมและแผนงาน วิธกี ารดําเนินงานใหทันสมัย ทันกับความเปลี่ยนแปลงอยู เสมอ คุณสมบัติ • มีคุณวุฒิปริญญาตรีขึ้นไปเพือ่ ติดตอกับตางประเทศไดไมจํากัดเพศ • มีวัยวุฒิ 45 ปขึ้นไป มีความคิดทันสมัย ยอมรับความเปลีย่ นแปลงไดเสมอ • มีประสบการณเกีย่ วกับวงการธุรกิจเสื้อผาทุกดานอยางนอย 20 ปขึ้นไป • มีความประพฤติเปนทีย่ อมรับในสังคม มีจริยธรรมในการทํางาน ประวัติสวนตัวไมเสือ่ ม เสีย • ชอบและยินดีที่จะพัฒนาตัวเองใหทันกับเหตุการณและสิ่งแวดลอมที่เปลี่ยนไป ตําแหนง : รองผูจัดการทัว่ ไป หนาที่รับผิดชอบหลัก • ชวยเหลือและรวมกันปฏิบัตงิ านตามขอบเขตของผูจัดการทั่วไปตามทีไ่ ดรับมอบหมาย • รับนโยบายตอจากผูจ ัดการทัว่ ไป คุณสมบัติ • มีคุณวุฒิ และวัยวุฒิ ประสบการณใกลเคียง หรือลักษณะเดียวกับผูจดั การทั่วไป • ไมจํากัดเพศ • มีความประพฤติดีทั้งสวนตัว และสังคม 10


• สามารถชวยผูจ ัดการทัว่ ไปไดทั้งในดานความคิดและการปฏิบัติใหเปนรูปธรรม ตําแหนง : ผูจ ดั การฝายบุคคล หนาที่รับผิดชอบหลัก • รับนโยบายจากผูจดั การทัว่ ไปและรองผูจ ัดการทัว่ ไป ในดานบุคลากรและการจัดซือ้ มา ดําเนินการใหเปนรูปธรรม • วางแผนวิธีปฏิบัติในรายละเอียดของการรับสมัคร ระเบียบการปฏิบัติตวั ในที่ทํางาน สวัสดิการตาง ๆ ที่ตองมีตามราชการกําหนด ระเบียบการลาหยุด ลาพักรอน ลาประเภทตาง ๆ ผลตอบแทน ที่ควรไดรับตามเกณฑกําหนด วันหยุดประจําป และสิทธิตาง ๆ ที่จูงใจใหพนักงานอยากทํางานดวยความ เต็มใจและสบายใจ • วางแผนวิธีปฏิบัติในรายละเอียดของการจัดซื้อ จัดหาวัตถุดิบ วัสดุสิ้นเปลือง วัสดุอุปกรณ ชวยในการทํางาน วัสดุสํานักงาน และรวมกําหนดวิธีปฏิบัตใิ นการจัดซื้อจัดหาในฝายจัดซื้อจนถึงวิธกี าร ชําระเงินใหกบั เจาหนี้ประเภทตาง ๆ • กําหนดคุณวุฒแิ ละคุณสมบัตขิ องพนักงานในฝายบุคคลเพือ่ ทํางานตามที่รับมอบหมายให สําเร็จตามเปาหมายที่วางไว • วางแผนและสามารถเสนอโครงการตาง ๆ ในฝายบุคคลเพื่อใหมีคุณภาพและ ประสิทธิภาพมากที่สุด พรอมทั้งสามารถปรับปรุงใหฝายบุคคลพัฒนาตัวเองไดตามโครงการ • จัดทําแผนปฏิบัติงานพัฒนาและจัดอบรมบุคลากรในฝายของตนใหมคี ุณภาพและ ประสิทธิภาพมากที่สุด • ประสานงานกับฝายอืน่ ๆ ในองคกรและองคกรอื่นตามหนาที่ที่เกี่ยวของใหมี ประสิทธิภาพมากที่สุด คุณสมบัติ • มีคุณวุฒิปริญญาตรีขึ้นไป, วัยวุฒิ 35 ปขึ้นไป ไมจํากัดเพศ • มีประสบการณในสายงานที่ทําไมต่ํากวา 3 – 5 ป • ยินดีพฒ ั นาตัวเองทุกดานใหเขากับเหตุการณที่เปลีย่ นแปลงที่เกิดขึ้น • มีความประพฤติดีทั้งสวนตัวและสังคม

11


ตําแหนง : ผูจ ดั การฝายผลิต หนาที่รับผิดชอบหลัก • รับนโยบายหลักการผลิตและการควบคุมคุณภาพจากผูจดั การทั่วไป และรองผูจัดการ ทั่วไปมาวางแผนปฏิบัติและดําเนินการใหเปนรูปธรรม • วางแผนวิธีปฏิบัติและดําเนินการในการผลิตอะไหลมือสองใหไดตามจํานวนและคุณภาพ ที่กําหนด • จัดทําแผนกําลังคนที่ตองใชและคุณสมบัติที่ตองการใหพอกับปริมาณงานที่ประมาณการ ไว และจัดทําแผนรองถาแผนแรกไมเปนไปตามแผน ปรับปรุงแกไขแผนปฏิบัติใหสามารถดําเนินการได ตามเปาหมายขององคกร • จัดทําแผนปฏิบัติในการผลิตและควบคุมคุณภาพของอะไหลมือสองใหสอดคลองกับฝาย จัดซื้อ ฝายขาย และฝายอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ คุณสมบัติ • มีคุณวุฒิปริญญาตรีขึ้นไป, วัยวุฒิ 35 ปขึ้นไป ไมจํากัดเพศ • มีประสบการณในรายงานทีท่ ําไมต่ํากวา 3 – 5 ป • ยินดีพฒ ั นาตัวเองทุกดานใหเขากับเหตุการณที่เปลีย่ นแปลงที่เกิดขึ้น • มีความประพฤติดีทั้งสวนตัวและสังคม ตําแหนง : ผูจ ดั การฝายขาย หนาที่รับผิดชอบหลัก • รับนโยบายหลักการขายและการตลาดจากผูจดั การทัว่ ไปและรองผูจ ัดการทัว่ ไปมา วางแผนปฏิบตั ิและดําเนินการใหเปนรูปธรรม • วางแผนวิธีปฏิบัติและดําเนินการในการขายและการตลาดใหเปนไปตามยอดขายที่ ประมาณการและการตลาดทีส่ อดคลองกับวัตถุประสงคการตลาดทีก่ ําหนดและเปาหมายที่ตั้งไว • จดทําแผนกําลังคนที่ตองใชและคุณสมบัติที่ตองการใหสามารถขายไดตามเปาหมายและ พนักงานการตลาดที่มวี ิสัยทัศนสามารถพัฒนาแผนการตลาดใหทันสมัยและกาวหนากวาคูแ ขงในตลาด เสมอ • จัดทําแผนกลยุทธการตลาดและแผนการขายทั้งรายไดและยอดขายใหสอดคลองกับฝาย บุคคล ฝายการผลิต ฝายบัญชีและการเงิน และฝายอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ 12


คุณสมบัติ • มีคุณวุฒิปริญญาตรีขึ้นไป, วัยวุฒิ 35 ปขึ้นไป ไมจํากัดเพศ • มีประสบการณในสายงานที่ทําไมต่ํากวา 3 – 5 ป • ยินดีพฒ ั นาตัวเองทุกดานใหเขากับเหตุการณเปลีย่ นแปลงที่เกิดขึ้น • มีความประพฤติดีทั้งสวนตัวและสังคม ตําแหนง : ผูจ ดั การฝายบัญชีและการเงิน หนาที่รับผิดชอบหลัก • รับนโยบายหลักการบัญชีและการเงินจากผูจัดการทั่วไป และรองผูจ ัดการทัว่ ไปมา วางแผนปฏิบตั ิและดําเนินการใหเปนรูปธรรม • วางแผนวิธีปฏิบัติและดําเนินการในการจัดระบบบัญชีใหเปนไปตามมาตรฐานสากล โปรงใส ตรวจสอบได • วางแผนวิธีปฏิบัติและดําเนินการในการจัดการเกี่ยวกับการเงินตั้งแตเริ่มลงทุนทุกดานใน ธุรกิจจนถึงการบริหาร และการจัดการในระบบการเงินหมุนเวียน และคาใชจายตาง ๆ จนถึงการจัดการ สําหรับการขยายตัวของธุรกิจในอนาคตตลอดไป • จัดทําแผนกําลังคนที่ตองใชในดานการบัญชีและการเงิน และคุณสมบัตทิ ี่ตองการให สามารถทํางานรองรับสอดคลองกับแผนการบริหารที่องคกรไดวางแผนไวใหดําเนินงานไดสะดวก และ สามารถพัฒนา ปรับเปลี่ยนไดตามปจจัยตาง ๆ ที่มากระทบ • จัดทําแผนการการบัญชีและการเงินใหเอื้ออํานวยตอการบริหารของฝายตาง ๆ ทีเ่ กี่ยวของ ใหดําเนินงานไดตามแผนทีล่ ะฝายจัดทําขึน้ มา คุณสมบัติ • มีคุณวุฒิปริญญาตรีขึ้นไป, วัยวุฒิ 35 ปขึ้นไป ไมจํากัดเพศ • มีประสบการณในสายงานที่ทําไมต่ํากวา 3 – 5 ป • ยินดีพฒ ั นาตัวเองทุกดานใหเขากับเหตุการณเปลีย่ นแปลงที่เกิดขึ้น • มีความประพฤติดีทั้งสวนตัว และสังคม

13


เมื่อไดกําหนดหนาที่รับผิดชอบหลักและคุณสมบัติของผูบ ริหารระดับสูงที่จะรับนโยบายมา กําหนดเปนแผนปฏิบัติใหเปนรูปธรรม สามารถติดตามและประเมินผลไดชัดเจน โดยการบริหารแตละฝาย จะใชระบบการบริหารแบบตาง ๆ ดังนี้ • ใชระบบการบริหารงานในฝายของตัวเองแบบ “ศูนยกําไร” (PROFIT CENTER) • ใชระบบการบริหารการเงินในฝายของตัวเองแบบ “งบประมาณ” (BUDGET) • ใชระบบการทํางานใหเปนไปตามเปาหมายแบบ “เนนวัตถุประสงค” (MBO) • ใชระบบการประสานงานในระหวางฝายแบบ “คูคิดทางธุรกิจ” (BUSINESS PARTNER) • ใชระบบการติดตอขอมูลสนเทศดวยระบบ “ไอที” (INFORMATION TECHNOLOGY) • ใชระบบการทํางานตัดเย็บไปสูลูกคาดวยระบบ “รับเหมา” (LUMSUM) เครื่องมือการบริหารแบบตาง ๆ นี้ ทางผูจัดทําโครงการไดกําหนดใหทกุ ฝายไดใชระบบตาง ๆ นี้เปนเครื่องมือในการวางแผนปฏิบัติในฝายของตนใหมปี ระสิทธิภาพมากที่สุด ซึ่งจะทําระบบตาง ๆ มา เปนแนวทางไดดังนี้ เริ่มจากเมื่อรับนโยบายมาจากผูจดั การทัว่ ไป และรองผูจัดการทั่วไปมาแลวจะนํามากําหนด ขึ้นตอนการทํางานในแตละขั้นวา จะทํากิจกรรมอะไรบางโดยคํานึงถึง “งบประมาณ” ที่กิจกรรมแตละ กิจกรรมจะตองมีคาใชจายของเม็ดเงินทีล่ งไปเทาไหร และเม็ดเงินทีล่ งไปในกิจกรรมที่กําหนดขึ้นมานี้ จะ ได “ผลกําไร” กับฝายของตนหรือไม หรือสามารถลดตนทุน เพิ่มประสิทธิภาพที่สามารถวัดขึน้ มาไดตาม ที่ตั้งเปาไวหรือไม ในแตละกิจกรรมจะตองมีขอตกลงในวิธีการดําเนินงานที่เปนทีย่ อมรับในฝายของตนวา ผูปฏิบัตงิ านจะทําอยางไรดวยวิธไี หนใหผูปฏิบัตกิ ําหนดขั้นตอนการทํางานของตนเองและผลลัพธที่คาดวา จะไดเทียบกับ “วัตถุประสงคที่ตองการ” จะทําใหผูปฏิบัติการเต็มใจและพอใจจะปฏิบัติงานนัน้ เพราะเปน ผูกําหนดวิธีการทํางานเอง เมื่อกําหนดวิธกี ารทํางานแลว จะตองทํางาน ประสานงาน หรือติดตอ หรือทํารวมกับผูอื่น หรือหนวยงานอื่น จะตองใชระบบ “คูคิดทางธุรกิจ” มาใชทั้งในและนอกองคกรทีเ่ กีย่ วของโดยใช “ระบบ ไอที” มาใชเริม่ จากวางแผนการตลาด การโฆษณา การจัดซื้อจัดหาวัสดุอุปกรณ วัตถุดิบ การผลิต การขาย การจัดสงถึงมือลูกคา การบริหารหลังการขายและใชระบบไอทีในการหาขอมูลตาง ๆ และระบบจัดเก็บ เอกสารตาง ๆ จะเปนการประหยัดวัสดุเพื่อใชประกอบการทํางาน และสามารถทํางานไดเร็วทันตอการ เปลี่ยนแปลงทีจ่ ะเกิดขึ้น หลังจากติดตอซื้อขายกับลูกคาแลวการจัดสงก็สามารถติดตอ ”ผูร ับเหมาชวง” ใน การขนสงจะชวยประหยัดคาใชจายไดมาก

14


เมื่อไดแนวทางการดําเนินการโดยใชเครื่องมือทางการบริหารมาใชในการวางแผนเพื่อ ดําเนินงานในแตละฝายแลว ขั้นตอไปคือการจัดกําลังคนและคุณสมบัติที่ตองการเขาไปรับผิดชอบในแตละ ฝายดังนี้ แผนก ตําแหนง จํานวนคน อัตราเงินเดือน คุณวุฒิ ประสบการณ 1 17,000 ผจก. ทั่วไป ปริญญาตรี 10 ปขึ้นไป 1 14,000 รอง ผจก. ปริญญาตรี 10 ปขึ้นไป ทั่วไป 1 12,000 ฝายบุคคล ผูจัดการ ปริญญาตรี 3 – 5 ป 1 7,000 ผูชวยบุคคล ปวส. 1 - 3 ป 1 7,000 ผูชวยจัดซื้อ ปวส. 1 – 3 ป 1 5,000 ยาม (ร.ป.ภ.) ม.3 ไมจํากัด 1 5,000 แมบาน ม.3 ไมจํากัด 1 12,000 ฝายผลิต ผูจัดการ ปริญญาตรี 3 – 5 ป Q.A 1 7,000 ปวส. 1 – 3 ป 2 7,000 Q. ผลิต ปวส. 1 – 3 ป Q.C. 1 7,000 ปวส. 1 – 3 ป 1 12,000 ฝายขาย ผูจัดการ ปริญญาตรี 3 – 5 ป 1 8,000 ผูชวยขาย ปวส. 1 – 3 ป 2 7,000 ผูชวยจัดสง ปวส. 1 – 3 ป MOBILE 2 7,000 ปวส. 1 – 3 ป 1 12,000 ฝายบัญชี / ผูจัดการ ปริญญาตรี 3 – 5 ป 1 7,000 การเงิน ผูชวยบัญชี ปวส. 1 – 3 ป 1 7,000 ผูชวยการเงิน ปวส. 1 – 3 ป 21 รวม เกณฑในการใหผลตอบแทนกับบุคคลภายในหรือภายนอกที่สามารถทํางานไดตามเปาหมายที่ตั้ง ไว เพื่อเปนขวัญ และกําลังใจที่จะพัฒนาตัวเองและทีมงานใหทํางานไดตามเปาหมายที่ตั้ง ตามบรรลุ วัตถุประสงคที่โครงการนี้ไดระบุไว ซึ่งผลตอบแทนตาง ๆ สวัสดิการ และเบี้ยขยัน จะถูกกําหนดโดยตัว 15


แทนที่พนักงานเลือกมารวมกับคณะผูบริหารเพื่อใหเปนที่ยอมรับทั้งองคกรและสามารถปฏิบัติเปน รูปธรรมไดจริง การวางแผนงานดานบริหารนี้จะเปนการกําหนดบุคลากรที่จะทํางานเปนทีมที่มีความ เหมาะสม ความชํานาญ ความสามารถและเขาใจบทบาท ขอบเขต ความรับผิดชอบของตัวเองและของทีม ใหชวยกันทํางานใหเปนไปตามเปาหมายที่ตั้งไว และบรรลุวัตถุประสงคที่องคกรตองการ ซึ่งตองมีการจัด องคกร บุคลากรทีถ่ ูกตองกับตําแหนง จะชวยประหยัดทั้งงบประมาณ และเวลา อีกทั้งจะสามารถพัฒนา ธุรกิจใหเขมแข็งสูกับคูแขงในตลาดได รวมทั้งสามารถชวยกันขยายธุรกิจใหใหญและกวางมากขึน้ จนสา มารรถขยายไปสูธุรกิจใหม ๆ ที่ครบวงจรมากยิ่งขึ้นอีกทั้งบุคลากรในองคกรก็จะมีโอกาสไดกาวหนาใน การทํางานใหม ๆ ดวยเชนกัน

16


7. การผลิต ขั้นตอนการทําสินคาตัวอยาง (Example) แพทเทิรน

ตัดผาและเย็บ

ติดตอกับแผนกตัดเพื่อตองการเศษผา โดย ระบุเนื้อผา เพื่อตองการเย็บเปนสินคาตัวอยาง

ฟอกยอม

ตรวจสอบ

เสนอขายลูกคา

ถาลูกคาตกลง, ลูกคาจะกําหนดสีและเนื้อผา บางครัง้ ลูกคาตองการลด/เพิ่มกระเปา, เปลีย่ นแปลงเนื้อผา สีหลัก ไดแก สีดํา, สีเขียวขีม้ า, สีกรมทา และสีกากี เนื้อผาทีใ่ ชประจํา 30x30, 20x20 และผายีนสยืด, ยีนสสราฟ และยีนส 8 ออนซ ผายืดจะทําเย็บสินคาตัวอยางสินคาเปนของผูใหญ ประมาณวันละ 5 ตัวและเด็ก ประมาณวันละ 4 ตัว

ปญหาของการทําตัวอยางสินคา ฝเข็มของการเย็บ บางครั้งอาจจะตองการเปลี่ยนแปลง จึงตองมีการสอบถามกับแผนกออกแบบ และแพทเทิรน ถาหากการออกแบบในบางครั้งอาจจะยากเกินไป ทางแผนกทําสินคาตัวอยางจึงเสนอแนะ ใหมีการเปลีย่ นแปลง ทางแผนกออกแบบและแพทเทิรน จะมีความคิดเห็นวาจะควรเปลี่ยนแปลงไดหรือไม

17


แผนกออกแบบ (Designer) และแพทเทิรน (Pattern) สรางแบบรางจากคอมพิวเตอร

ลงรายละเอียดกระเปา, ฝเข็ม การตอผา

ตรวจสอบ

สรางแพทเทิรน

แผนกทําสินคาตัวอยาง

เสนอขายลูกคา

แผนกตัดผา

แผนกผลิต 18


วิธกี ารดําเนินงาน นักออกแบบ (Designer) จะเปนผูสรางแบบรางกางเกง หรือเสื้อบนจอคอมพิวเตอร แลวพริ้น ออกมา หลังจากนั้นจึงลงรายละเอียดของงานวากระเปา, ฝเข็ม และการตอผา ตองตรวจสอบวาผาน หรือไม หลังจากนั้นจะสรางแพทเทิรนของกางเกงหรือเสื้อ ตองตรวจสอบวาชิ้นงานที่ออกแบบตองมีการ แกไขหรือไม เพื่อตัดเย็บตัวอยางสินคา มาตรวจสอบกันระหวางแผนกออกแบบและแพทเทิรน เพื่อแกไข แบบกางเกงหรือเสื้อ สงไปฟอกยอม บางครั้งอาจจะเกิดปญหาเปอรเซ็นตของการหดผา,เปอะเปอนของ เนื้อผา, ความสม่ําเสมอของเนื้อผา, การแตกของฝเข็ม ที่เกิดจากการฟอกยอม หลังจากนั้นนําเสนอขายกับ ลูกคา ถาลูกคาคิดจะสั่งซื้อสินคาจะมีขนาด S, M, L, XL และ XXL (เด็ก และ ผูใหญ) แผนกนีจ้ ะตองเขียนงานของการสรางแบบใหละเอียด โดยระบุชิ้นหนา, ชิ้นหลัง, แขนเสื้อ, ปก, กระเปา, สาปเสื้อ วาแตตัวจะตองใชผากี่ชนิ้ พรอมทั้งระบุถึงลักษณะของเนื้อผา ขอควรปฏิบัตใิ นการเปนนักออกแบบ 1. ควรสมัครสมาชิกหนังสือแบบเสื้อผาตางๆ มาไวที่บริษทั 2. ควรฝกอบรมเพิ่มเติมในคอรสตางๆ เกีย่ วกับการออกแบบ 3. ควรเปดโอกาสใหไปนอกสถานที่ เชน หางสรรพสินคา, ถามีการเดินแฟชั่นโชวแบบเสื้อผา ควรเขาไปมีสวนรวม เพื่อใหทราบถึงการพัฒนาในการออกแบบของสถานที่อื่นๆ ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 1. เพื่อไดรับทักษะเพิ่มเติมจากนอกสถานที่ นํามาพัฒนาการออกแบบผลิตภัณฑ 2. ใหทราบถึงคูแ ขงขันในตลาด 3. นําไปประยุกตการออกแบบผลิตภัณฑตอไปในอนาคต

19


แผนกจัดสง

1. 2. 3. 4. 5.

6.

วิธกี ารทํางาน MAKRO สาขาลาดพราว และ BIGC สาขาราชดําริ เพื่อจะนําสินคาตัวอยางไปใหฝายจัดซื้อพิจารณา โดยเฉลีย่ เดือนละ 2 วัน โรงฟอกยอม บางจาก เดือนละ 1 ครั้ง คาน้ํา, คาไฟฟา และคาโทรศัพท ถนนพระราม 2 เดือนละ 1 ครั้ง สํานักงานประกันสังคม เขตราษฎรบรู ณะ เดือนละ 1 ครัง้ บริษัท สมชาย ทรานสปอรต ถนนปน เกลา-นครชัยศรี เปนการสงสินคา MAKRO และ BIGC ทั้งใน กรุงเทพฯ และตางจังหวัด เดือนละประมาณ 10 ครั้ง พรอมกับการวางบิล ถากรณีตางจังหวัดจะได การวางบิลจะฝากบริษัท สมชาย ทรานสปอรต เปนผูว างบิล จะไดรับบิลคืนประมาณ 10 วัน นํากางเกง, เสื้อ สงไปตัดเศษดาย แถวบริเวณหมูบานสุขสวัสดิ์ สวนธน, ศรีไทยคอนโด งานเรงดวrเพิ่มเติม 1. ซื้อเข็ม, ดาย แถววงเวียนใหญ และสําเพ็ง 2. ซื้อซิป ถนนพระราม 2 3. บรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรมขนาดยอม จัดสงเอกสารของบริษัท

20


แผนกตัดผา แพทเทิรน

ตัดผา

QC เพื่อตรวจสอบสีของผาวา ถูกตองหรือไม พรอมทั้ง จะไดเตรียมการซื้อดายและทําโลโกของบริษัท

แยกมัดงาน

แผนกผลิต

ขั้นตอนการตัดผา 1. นําแพทเทิรนมาวางบนกระดาษ 2. นําผาคลี่วางลงบนโตะที่จะตัดใหเรียบ ซึ่งจะวางไดประมาณ 10-19 มวนผา 3. แลวนําแพทเทิรนที่อยูบนกระดาษมาวางซอนตรงชัน้ ผาที่จัดเรียงซอนกันอยู จะตองนําเข็ม หมุดปกลงไป เพื่อปองกันการเคลื่อนตัวของเนื้อผา 4. หลังจากนัน้ เครื่องจักรตัดผาจะเดินเครื่อง ใชเวลาประมาณ 2-3 ชั่วโมง 5. แลวแยกชิน้ งานตามใบแยกมัดงาน ขอควรปฏิบัติ 1. ควรนําผาตรวจสอบกอนวามีจุดดาง, เปนรอยริว้ หรือไม 2. จะตองมีการตัดหัวผา, ทายผากอน และนําเก็บไว 3. ควรจะมีการวัดหนาผากอน โดยปกติจะมีหนาขนาด 58 นิ้ว การปองกัน 1. เครื่องจักรตัดผาอาจจะตัดผาเบี้ยวได จึงตองตรวจสอบใหดี 2. การแยกมัดงานควรทํางานอยางละเอียดและรอบคอบ 3. จะตองติดสติกเกอรตามใบแยกมัดงานที่ระบุไว 21


แผนกบรรจุ (Packing) ลูกคาของบริษทั 2 ราย คือ BIGC จํานวน 30 สาขา และ MAKRO 20 สาขา สินคาที่ BIGC สั่งซื้อ มีจํานวน 4 อยาง คือ 1. กางเกง 5 สวน เอวรูดทวิล คละสี 2. กางเกง 5 สวน เอวรูดยีนส 3. กางเกงทวิลขาสั้น คละสี สินคาที่ MAKRO สั่งซื้อ มีจํานวน 5 แบบ คือ 1. กางเกง 4 สวน ผาทวิล คละสี (ผูใหญ) 2. กางเกงขาสั้น (เด็ก) 3. กางเกงขายาว (เด็ก) 4. กางเกง 4 สวน ผาทวิล คละสี (เด็ก) 5. กางเกง 5 สวน ผาทวิล คละสี (เด็ก) QC กางเกง/เสื้อ

ปายฉลาก

ตามคําสั่งของลูกคา

บรรจุลงกลอง

ตามใบคําสั่งซื้อ

ติดปายที่อยูล กู คา

จัดสงใหลูกคา

กรุณาสง บิ๊กซี - เชียงใหม โดย บริษัท กะตัง อินเตอรเทรด จํากัด จํานวน PO. เลขที่

22


ปญหาของแผนกการบรรจุ 1. QC ไดสงจํานวนกางเกง/เสื้อมาใหลาชา จึงทําใหงานลาชา หรือสงจํานวนกางเกง/เสื้อมาก จึง ใหงานทําไมทนั 2. ใบคําสั่งซื้อของลูกคา (PO) สงมาอยางเรงดวน จึงทําใหงานเสร็จไมทนั 3. การนับจํานวนกางเกง/เสื้อขาดหรือเกินกรณีขาดสินคา ทางบริษัทฯ จะจัดสงคืนไปให หรือจะ ทําใบแจงลดหนากรณีสินคาเกิน ทางลูกคาจะแจงใหทางบริษัทฯ รับทราบ 4. บางครั้งสินคาที่จัดสงไปใหลูกคาเปนสินคาที่มีตําหนิ ลูกคาจัดสงสินคามายัง บริษัทฯ กรณีการบรรจุลงถุงพลาสติก จะเปนขายสินคาที่ประตูนา้ํ ใบหยก 1 โดยเปนพนักงานของบริษัทฯ เปนผูขาย การติดปายฉลากลงในตัวกางเกง/เสื้อ พนักงาน 1 คน ทําได จํานวน 600 ตัว/วัน

23


แผนกตรวจสอบคุณภาพสินคา (QC) ตัดเศษดาย

ตรวจนับความถูกตอง

ติดกระดุม, รอยเทปกางปลา

ตรวจสอบ

การฟอกยอม, ซอมชิ้นงาน, ซักเอง และผาเปนทางรถไฟ

การบรรจุ การตรวจสอบงานปญหาที่พบบอย คือ 1. การสงฟอกยอมที่ใชไมไดอกี ครั้ง (สงลาง) 2. ซอมงาน เนื่องจากการเย็บฝจกั รไมเรียบรอย 3. ซักเอง กรณีทชี่ ิ้นงานสกปรก บางครั้งซักแลวใชได และบางครั้งซักแลวใชไมได 4. ผาเปนทางรถไฟ (ผาตําหนิ) สงคืนรานผาที่ซื้อ ขอควรปฏิบัติ 1. แกไขปญหาที่แผนกตัดผา โดยมีฝายตรวจสอบผากอน แลวตัดเสร็จก็ควรมีการ ตรวจสอบอีกครั้ง 2. ควรแนะนําแผนกเย็บกอนทีจ่ ะลงมีเย็บงานในแตละครั้ง ซึ่งจะมีตัวอยางสินคา เพื่อทํา เขาใจเทคนิคของฝจักร 3. การเบิกพัสดุควรจะมีการหมุนเวียน เพื่อทดแทนพนักงานที่หยุดงาน

24


แผนกควบคุมพัสดุ (Stock) พัสดุ ประกอบดวย 1. เวลโก 2. ดาย 3. ยางยืด 4. ปายทอง (ตรากะตัง) 5. ปายขนาด (S, M, L และ XL) 6. เทปกางปลา 7. ซิป 8. กระดุม 9. ลูกปน 10. ปายกระดาษ (ปายราคา) 11. ถุงพลาสติก (Pack งาน และใสงาน) 12. สติกเกอรยิงตัวเลข (เปนตัวเลขตอเนื่อง) 13. สกอตเทปที่ปดปากกลอง 14. ปายซักลาง 15. เชือกฟาง แผนกทําตัวอยางและแผนกเย็บ (ผลิต) จะเบิกพัสดุประกอบดวย 1. เวลโก 2. ดาย 3. ปายทอง (ตรากะตัง) 4. ปายขนาด 5. ปายซักลาง 6. ซิป

25


แผนกตรวจสอบคุณภาพสินคา (QC) จะเบิกพัสดุประกอบดวย 1. เทปกางปลา 2. กระดุม แผนกการบรรจุ (Packing) จะเบิกพัสดุประกอบดวย 1. ปายกระดาษ (ปายราคา) 2. ลูกปน 3. สกอตเทปที่ปดปากกลอง 4. เชือกฟาง 5. ถุงพลาสติก แผนกตัดผา (Cutting) จะเบิกพัสดุประกอบดวย 1. สติกเกอรที่ยิงตัวเลข (เปนตัวเลขตอเนื่อง) 2. ถุงพลาสติกใสงาน ปญหาเกิดที่อาจเกิดขึ้นไดในการปฏิบัติ

1. 2. 3. 4. 5.

เบิกพัสดุไมมใี บเบิก เวลาคืนพัสดุไมแยกพัสดุ เวลาเบิกดายตองแบงยอย, ตองตัดปายขนาด และตัดเทปกางปลา เวลาเบิกพัสดุจํานวนตามที่ตองการ เวลางานใกลจะเสร็จพัสดุไมเพียงพอ แผนกเย็บ (ผลิต) ไมเบิกพัสดุเอง แตใหแผนกควบคุมพัสดุ (Stock) เปนผูจดั อุปกรณ ไปให

ขอควรปฏิบัติเพิ่มเติม 1. จัดทําแบบฟอรมการเบิกพัสดุ 2. จัดทําแบบฟอรมการสงคืนพัสดุ

26


เลมที่ 1

เลขที่ 001

บริษัท กะตัง อินเตอรเทรด จํากัด ใบเบิก/ใบคืนอุปกรณ แผนก………………………….. เพื่อ………………………………………………………………………………………………… นาย/นางสาว/นาง……………………………… นามสกุล……………………………………….. รหัสสินคา………………………………………. สี………………………………………………. รายการ

ขนาด

S M L XL

รวม

หมายเหตุ

XXL

1. ปายกระดาษ (ปาบราคา) 2. เวลโก 3. ปายขนาด 4. ปายทอง (ตรากะตัง) 5. ปายซักลาง 6. ดาย 7. ซิป 8. เทปกางปลา 9. กระดุม 10. ลูกปน 11. สกอตเทปที่ปดปากกลอง 12. เชือกฟาง 13. ถุงพลาสติก 14. สติกเกอรรันนัมเบอรงาน

ผูสง

ผูอนุมัติ

ผูรับ

27


แผนกสงฟอกยอม แผนกเย็บ

การสงฟอกยอม เพื่อใหผานุม หรืออาจจะนิ่ม พรอมรีดใหเรียบ แกะสติกเกอรตรงผา (ระบุถึงชิ้นหนา และชิน้ หลัง)

แยกสี, แยกแบบ, แยกรุน

ตรวจนับจํานวน

ฟอกยอม

พนักงานควบคุมตรวจนับจํานวนสินคา

ระยะเวลา 1 วัน

ตรวจนับจํานวน

ตัดเศษดาย

ระยะเวลา 1 วัน

ตรวจนับจํานวน

QC

ตรวจสอบความเรียบรอย

การบรรจุ

แผนกผลิต (เย็บ) 28


ขั้นตอนการเย็บกางเกง เย็บสาปซิป

โพงสาปซิบ, วนซิป

ปะกระเปาหนา

โพงชิ้นหนาและชิ้นหลัง

เย็บคิ้วดานขาง,เปากางเกง

ปะกระเปาดานขาง

โพงขาใน, เปาหลัง

พับปลายขา

ติดปายกระดาษ, ขนาด

เนายาง, ดึงยางขอบกางเกง

เย็บขอบกางเกง

แลวแตแบบที่คําสัง่ คาของลูกคา

เย็บหูกางเกง

29


การเย็บซอมชิน้ งาน หลังจากการตรวจสอบคุณภาพ (QC) ของงาน ขั้นสุดทาย แลวยังคงปญหาที่เกิดขึ้นบอยๆ ดังนี้ 1. ฝจักรการเย็บของจักร, คิ้วงาน 2. ปะกระเปาเบี้ยว 3. ขอบกางเกง บางครั้งเย็บดายกระโดด 4. ปายชื่อ, ขนาด ติดไมเรียบรอย เมื่อไดรับงานที่ตองแกไขแลว ตองทําการเลาะทีเ่ ย็บออกกอน แลวจึงเย็บใหม เมื่อเสร็จ เรียบรอย ตองสงคืนใหแผนกตรวจสอบคุณภาพ (QC) ในบางครั้งก็สงมาซอมใหม ปญหาที่อาจเกิดขึ้นไดในการแกไข 1. การแกไขซ้ําหลายครั้ง จะทําใหเนื้อผาเปนตําหนิ 2. ทําใหเสียเวลาการทํางาน 3. ทําใหปายกระดาษ, ปายบอกขนาดหลุดลุย และยางยืดเปนตําหนิไมสามารถใชได จึงตอง เปลี่ยนใหม

30


8. งบกระแสเงินสด บริษัท กะตัง อินเตอรเทรด จํากัด งบประมาณเงินสด สําหรับงวด 12 เดือน สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2546 มกราคม

กุมภาพันธ

มีนาคม

เมษายน

พฤษภาคม

มิถุนายน

กรกฎาคม

Big C

1,216,681.29

1,206,640.58

1,099,131.29

1,017,524.95

849,972.48

899,940.00

892,471.10

Makro

1,000,500.00

1,200,000.00

1,150,000.00

1,000,500.00

950,000.00

890,000.00

1,000,000.00

Lotus

50,000.00

60,000.00

65,000.00

60,000.00

50,000.00

45,222.00

65,454.00

Carefoure

100,000.00

90,000.00

110,000.00

120,000.00

125,000.00

115,000.00

130,000.00

รานประตูน้ํา

338,079.00

375,886.09

395,801.18

230,723.59

439,694.59

415,537.50

393,750.00

รวมเงินสดรับ

2,705,260.29

2,932,526.66

2,819,932.46

2,428,748.54

2,414,667.07

2,365,699.50

2,481,675.10

ซื้อวัตถุดิบ

1,206,345.00

823,305.00

940,170.00

1,076,264.70

1,702,476.93

1,085,700.00

1,172,556.00

คาแรงงาน

372,612.45

485,967.30

414,135.75

406,074.90

731,499.30

656,599.39

709,127.34

4,819.50

4,893.00

7,108.50

6,368.25

10,359.30

10,865.14

11,734.35

1,583,776.95

1,314,165.30

1,361,414.25

1,488,707.85

2,444,335.53

1,753,164.53

1,893,417.69

93,053.10

109,701.90

104,515.95

117,266.10

131,339.25

137,906.21

148,938.71

คาน้ํามันรถยนต

1,716.75

3,087.00

4,386.90

5,512.50

6,027.00

6,328.35

6,834.62

คาสาธารณูปโภค

21,807.23

29,263.88

34,472.19

31,119.31

31,085.93

32,641.28

35,251.45

คาขนสงทางทางไปรษณีย

78,750.00

65,000.00

148,837.50

68,000.00

61,803.00

146,580.00

158,193.00

คาใชจายเบ็ดเตล็ด

29,925.00

36,225.00

42,525.00

68,538.75

67,494.00

70,868.70

76,538.20

คาภาษีหัก ณ.ที่จาย

5,251.33

3,029.09

3,450.62

4,160.08

2,152.27

2,259.88

2,440.67

36,225.00

40,372.50

43,837.50

48,982.50

59,598.00

61,475.40

66,393.43

266,728.41

286,679.37

382,025.66

343,579.24

359,499.45

458,059.82

494,590.08

1,850,505.36

1,600,844.67

1,743,439.91

1,832,287.09

2,803,834.98

2,211,224.35

2,388,007.77

854,754.93

1,331,681.99

1,076,492.55

596,461.45

-389,167.91

154,475.15

93,667.34

เงินสดรับจากการขาย

เงินสดจาย

คาขนสง รวมตนทุนสินคา

คาใชจายในการบริหาร เงินเดือนและคาลวงเวลา

คาใชจายอืน่ ๆ รวมคาใชจายบริหาร รวมรายจายกอนหักภาษี เงินสดรับ(จาย)สุทธิ

31


สิงหาคม

กันยายน

ตุลาคม

พฤศจิกายน

ธันวาคม

รวม

937,094.66

983,949.38

1,033,146.86

1,188,118.88

1,366,336.70

12,691,008.17

1,152,540.00

1,000,500.00

960,500.00

1,000,000.00

1,500,000.00

12,804,540.00

63,255.00

55,564.00

66,555.00

54,456.00

120,000.00

755,506.00

135,000.00

140,000.00

145,000.00

146,000.00

146,000.00

1,502,000.00

393,750.00

393,750.00

446,250.00

446,250.00

538,125.00

4,807,596.94

2,681,639.66

2,573,763.38

2,651,451.86

2,834,824.88

3,670,461.70

32,560,651.10

1,289,811.60

1,547,773.92

1,779,940.01

2,100,329.21

2,520,395.05

17,245,067.42

780,040.08

936,048.09

1,076,455.40

1,270,217.26

1,524,260.70

9,363,037.95

12,907.79

15,489.34

17,812.75

21,019.04

25,222.84

148,599.78

2,082,759.46

2,499,311.35

2,874,208.16

3,391,565.50

4,069,878.59

26,756,705.15

163,832.58

196,599.09

226,088.96

266,784.98

320,141.97

2,016,168.80

7,518.08

6,921.69

10,374.95

12,242.44

14,690.93

85,641.21

38,776.59

46,531.92

53,511.70

63,143.80

75,772.57

493,377.84

174,012.30

208,814.76

240,136.97

283,361.63

340,033.95

1,973,523.12

84,192.01

101,030.42

116,184.98

137,098.28

164,517.94

995,138.28

2,684.75

3,221.68

3,704.95

4,371.83

5,246.20

41,973.35

73,043.27

66,639.33

101,836.28

118,926.57

143,761.88

861,091.67

544,059.59

629,758.90

751,838.78

885,929.53

1,064,165.43

6,466,914.27

2,626,819.05

3,129,070.25

3,626,046.93

-555,306.86

-974,595.07

5,134,044.03 1,463,582.32

33,223,619.41

54,820.60

4,277,495.03 1,442,670.15

-662,968.31

32


รายการทางการเงิน

มกราคม

กุมภาพันธ

เงินสดตนงวด

149,900.36

เงินสดรับ(จาย)สุทธิ รวมกระแสเงินสดกอนชําระหนี้ ธนาคาร

มีนาคม

เมษายน

พฤษภาคม

มิถุนายน

กรกฎาคม

790,658.73

1,910,078.23

2,773,039.55

3,155,969.75

2,553,270.60

2,494,214.51

854,754.93

1,331,681.99

1,076,492.55

596,461.45

-389,167.91

154,475.15

93,667.34

1,004,655.29

2,122,340.73

2,986,570.79

3,369,500.99

2,766,801.84

2,707,745.75

2,587,881.85

ดอกเบีย้ โอ.ดี

19,496.56

17,762.49

19,031.24

19,031.24

19,031.24

19,031.24

19,031.24

ผอนชําระเงินกู

160,500.00

160,500.00

160,500.00

160,500.00

160,500.00

160,500.00

160,500.00

รวมยอดผอนชําระ

179,996.56

178,262.49

179,531.24

179,531.24

179,531.24

179,531.24

179,531.24

824,658.73

1,944,078.23

2,807,039.55

3,189,969.75

2,587,270.60

2,528,214.51

2,408,350.61

824,658.73

1,944,078.23

2,807,039.55

3,189,969.75

2,587,270.60

2,528,214.51

2,408,350.61

ผอนชําระเงินกูวงเงินใหม 7 ป

-34,000.00

-34,000.00

-34,000.00

-34,000.00

-34,000.00

-34,000.00

-34,000.00

กระแสเงินสดสิ้นงวด

790,658.73

1,910,078.23

2,773,039.55

3,155,969.75

2,553,270.60

2,494,214.51

2,374,350.61

ภาระหนี้ธนาคาร

กระแสเงินสดหลังชําระหนี้ธนาคาร

เงินกูยืมภายนอก กระแสเงินสดกอนลงทุน ลงทุนซื้อเครื่องจักรเพิ่ม ลงทุนขยายโรงงานชั้นดาดฟา เงินกูยืมธนาคาร

33


สิงหาคม

กันยายน

ตุลาคม

พฤศจิกายน

ธันวาคม

2,374,350.61

2,215,639.97

1,446,801.87

54,820.60

-555,306.86

-974,595.07

2,429,171.21

1,660,333.11

472,206.80

258,675.56 1,442,670.15 1,183,994.59

1,397,525.83 1,463,582.32 2,861,108.15

19,031.24

19,031.24

19,031.24

19,031.24

19,031.24

160,500.00

160,500.00

160,500.00

160,500.00

160,500.00

179,531.24

179,531.24

179,531.24

2,249,639.97

1,480,801.87

292,675.56

179,531.24 1,363,525.83

179,531.24 3,040,639.39

2,249,639.97

1,480,801.87

292,675.56

1,363,525.83

3,040,639.39

-34,000.00

-34,000.00

-34,000.00

2,215,639.97

1,446,801.87

258,675.56

-34,000.00 1,397,525.83

-34,000.00 3,074,639.39

34


บริษัท กะตัง อินเตอรเทรด จํากัด งบประมาณเงินสด สําหรับงวด 12 เดือน สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2547 มกราคม

กุมภาพันธ

มีนาคม

เมษายน

พฤษภาคม

มิถุนายน

กรกฎาคม

Big C

1,277,515.36

1,266,972.60

1,154,087.85

1,068,401.20

892,471.10

944,937.00

937,094.66

Makro

1,050,525.00

1,260,000.00

1,207,500.00

1,050,525.00

997,500.00

934,500.00

1,050,000.00

Lotus

120,000.00

150,000.00

180,000.00

200,000.00

210,000.00

220,000.00

180,000.00

carefoure

105,000.00

94,500.00

115,500.00

126,000.00

131,250.00

120,750.00

136,500.00

รานประตูน้ํา

354,982.95

394,680.39

415,591.23

242,259.77

461,679.32

436,314.38

413,437.50

รวมเงินสดรับ

2,908,023.31

3,166,153.00

3,072,679.08

2,687,185.96

2,692,900.42

2,656,501.38

2,717,032.16

ซื้อวัตถุดิบ

1,266,662.25

864,470.25

987,178.50

1,130,077.94

1,787,600.78

1,139,985.00

1,231,183.80

คาแรงงาน

391,243.07

510,265.67

434,842.54

426,378.65

768,074.27

689,429.36

744,583.71

5,060.48

5,137.65

7,463.93

6,686.66

10,877.27

11,408.39

12,321.07

1,662,965.80

1,379,873.57

1,429,484.96

1,563,143.24

2,566,552.31

1,840,822.75

1,988,088.57

97,705.76

115,187.00

109,741.75

123,129.41

137,906.21

144,801.52

156,385.64

คาน้ํามันรถยนต

1,802.59

3,241.35

4,606.25

5,788.13

6,328.35

6,644.77

7,176.35

คาสาธารณูปโภค

22,897.59

30,727.07

36,195.80

32,675.28

32,640.23

34,273.34

37,014.02

คาขนสงทางทางไปรษณีย

82,687.50

68,250.00

85,400.00

71,400.00

64,893.15

36,541.00

166,102.65

คาใชจายเบ็ดเตล็ด

31,421.25

38,036.25

44,651.25

71,965.69

70,868.70

74,412.14

80,365.11

คาภาษีหัก ณ.ที่จาย

5,513.90

3,180.55

3,623.15

4,368.08

2,259.88

2,372.88

2,562.71

38,036.25

42,391.13

46,029.38

51,431.63

62,577.90

64,549.17

69,713.10

280,064.83

301,013.34

330,247.57

360,758.20

377,474.42

363,594.81

519,319.58

1,943,030.63

1,680,886.90

1,759,732.53

1,923,901.45

2,944,026.73

2,204,417.56

2,507,408.15

964,992.68

1,485,266.09

1,312,946.55

763,284.52

-251,126.31

452,083.81

209,624.01

เงินสดรับจากการขาย

เงินสดจาย

คาขนสง รวมตนทุนสินคา

คาใชจายในการบริหาร เงินเดือนและคาลวงเวลา

คาใชจายอืน่ ๆ รวมคาใชจายบริหาร รวมรายจายกอนหักภาษี เงินสดรับ(จาย)สุทธิ

35


สิงหาคม

กันยายน

ตุลาคม

พฤศจิกายน

ธันวาคม

รวม

983,949.39

1,033,146.85

1,084,804.20

1,247,524.82

1,309,901.06

13,200,806.10

1,210,167.00

1,050,525.00

1,008,525.00

1,050,000.00

1,102,500.00

12,972,267.00

185,000.00

195,000.00

192,000.00

198,000.00

240,000.00

2,270,000.00

141,750.00

147,000.00

152,250.00

153,300.00

160,965.00

1,584,765.00

413,437.50

413,437.50

468,562.50

468,562.50

491,990.63

4,974,936.16

2,934,303.89

2,839,109.35

2,906,141.70

3,117,387.32

3,305,356.69

35,002,774.26

1,354,302.18

1,625,162.62

1,868,937.01

2,205,345.67

2,000,540.00

17,461,445.98

819,042.08

982,850.49

1,130,278.17

1,333,728.12

1,400,414.52

9,631,130.63

13,553.18

16,263.80

18,703.38

22,069.99

23,173.49

152,719.28

2,186,897.44

2,624,276.91

3,017,918.56

3,561,143.77

3,424,128.01

27,245,295.89

172,024.21

206,429.05

237,393.41

280,124.23

294,130.44

2,074,958.61

7,893.99

7,267.78

10,893.69

12,854.57

13,497.29

87,995.09

40,715.42

48,858.51

56,187.28

66,300.99

69,616.04

508,101.58

45,600.00

65,421.00

66,654.00

98,000.00

102,900.00

953,849.30

88,401.61

106,081.94

121,994.23

143,953.19

151,150.85

1,023,302.21

2,818.98

3,382.77

3,890.19

4,590.42

4,819.95

43,383.45

76,695.43

69,971.30

106,928.09

124,872.90

131,116.54

884,312.81

434,149.65

507,412.35

603,940.89

730,696.29

767,231.11

5,575,903.06

2,621,047.09

3,131,689.26

3,621,859.46

4,191,359.12

32,821,198.95

313,256.80

-292,579.91

-715,717.75

4,291,840.07 1,174,452.74

-886,002.43

2,181,575.31

36


รายการทางการเงิน

เมษายน

พฤษภาคม

มิถุนายน

กรกฎาคม

624,610.94

1,723,074.69

2,271,876.41

1,806,267.29

2,043,868.30

1,485,266.09

1,312,946.55

763,284.52

-251,126.31

452,083.81

209,624.01

-432,533.15

837,761.55

1,937,557.49

2,486,359.21

2,020,750.10

2,258,351.11

2,253,492.31

ดอกเบีย้ โอ.ดี

20,471.39

18,650.62

19,982.80

19,982.80

19,982.80

19,982.80

19,982.80

ผอนชําระเงินกู

160,500.00

160,500.00

160,500.00

160,500.00

160,500.00

160,500.00

160,500.00

รวมยอดผอนชําระ

180,971.39

179,150.62

180,482.80

180,482.80

180,482.80

180,482.80

180,482.80

-613,504.54

658,610.94

1,757,074.69

2,305,876.41

1,840,267.29

2,077,868.30

2,073,009.51

-613,504.54

658,610.94

1,757,074.69

2,305,876.41

1,840,267.29

2,077,868.30

2,073,009.51

-34,000.00

-34,000.00

-34,000.00

-34,000.00

-34,000.00

-34,000.00

-34,000.00

-647,504.54

624,610.94

1,723,074.69

2,271,876.41

1,806,267.29

2,043,868.30

2,039,009.51

เงินสดตนงวด เงินสดรับ(จาย)สุทธิ รวมกระแสเงินสดกอนชําระหนี้ ธนาคาร

มกราคม

กุมภาพันธ

มีนาคม

1,397,525.83

-647,504.54

964,992.68

ภาระหนี้ธนาคาร

กระแสเงินสดหลังชําระหนี้ธนาคาร

เงินกูยืมภายนอก กระแสเงินสดกอนลงทุน ลงทุนซื้อเครื่องจักรเพิ่ม ลงทุนขยายโรงงานชั้นดาดฟา เงินกูยืมธนาคาร ผอนชําระเงินกูวงเงินใหม 7 ป กระแสเงินสดสิ้นงวด

37


สิงหาคม

กันยายน

ตุลาคม

พฤศจิกายน

ธันวาคม

2,039,009.51

2,137,783.50

1,630,720.80

-688,415.31

313,256.80

-292,579.91

-715,717.75

700,520.24 1,174,452.74

2,352,266.31

1,845,203.60

915,003.04

-473,932.50

-886,002.43 1,574,417.74

19,982.80

19,982.80

19,982.80

19,982.80

20,981.94

160,500.00

160,500.00

160,500.00

160,500.00

160,500.00

180,482.80

180,482.80

180,482.80

180,482.80

2,171,783.50

1,664,720.80

734,520.24

-654,415.31

181,481.94 1,755,899.68

2,171,783.50

1,664,720.80

734,520.24

-654,415.31

1,755,899.68

-34,000.00

-34,000.00

-34,000.00

-34,000.00

2,137,783.50

1,630,720.80

700,520.24

-688,415.31

-34,000.00 1,789,899.68

38


บริษัท กะตัง อินเตอรเทรด จํากัด งบประมาณเงินสด สําหรับงวด 12 เดือน สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2548 มกราคม

กุมภาพันธ

มีนาคม

เมษายน

พฤษภาคม

มิถุนายน

กรกฎาคม

Big C

1,341,391.13

1,330,321.23

1,211,792.24

1,121,821.26

937,094.66

992,183.85

983,949.39

Makro

1,103,051.25

1,323,000.00

1,267,875.00

1,103,051.25

1,047,375.00

981,225.00

1,102,500.00

Lotus

126,000.00

157,500.00

189,000.00

210,000.00

220,500.00

231,000.00

189,000.00

carefoure

110,250.00

99,225.00

121,275.00

132,300.00

137,812.50

126,787.50

143,325.00

รานประตูน้ํา

372,732.10

414,414.41

436,370.80

254,372.76

484,763.28

458,130.09

434,109.38

รวมเงินสดรับ

3,053,424.47

3,324,460.65

3,226,313.04

2,821,545.26

2,827,545.44

2,789,326.44

2,852,883.77

ซื้อวัตถุดิบ

1,329,995.36

907,693.76

1,036,537.43

1,186,581.83

1,876,980.82

1,196,984.25

1,292,742.99

คาแรงงาน

410,805.23

535,778.95

456,584.66

447,697.58

806,477.98

723,900.82

781,812.89

5,313.50

5,394.53

7,837.12

7,021.00

11,421.13

11,978.81

12,937.12

1,746,114.09

1,448,867.24

1,500,959.21

1,641,300.40

2,694,879.92

1,932,863.89

2,087,493.00

102,591.04

120,946.34

115,228.83

129,285.88

144,801.52

152,041.60

164,204.93

คาน้ํามันรถยนต

1,892.72

3,403.42

4,836.56

6,077.53

6,644.77

6,977.01

7,535.17

คาสาธารณูปโภค

24,042.47

32,263.43

38,005.59

34,309.04

34,272.24

35,987.01

38,864.72

คาขนสงทางทางไปรษณีย

86,821.88

71,662.50

75,000.00

74,970.00

68,137.81

161,604.45

85,451.00

คาใชจายเบ็ดเตล็ด

32,992.31

39,938.06

46,883.81

75,563.97

74,412.14

78,132.74

84,383.36

คาภาษีหักณ.ที่จาย

5,789.60

3,339.57

3,804.30

4,586.49

2,372.88

2,491.52

2,690.84

39,938.06

44,510.68

48,330.84

54,003.21

65,706.80

67,776.63

73,198.76

294,068.08

316,064.01

332,089.94

378,796.11

396,348.15

505,010.95

456,328.78

รวมรายจายกอนหักภาษี

2,040,182.16

1,764,931.25

1,833,049.15

2,020,096.52

3,091,228.07

2,437,874.84

2,543,821.78

เงินสดรับ(จาย)สุทธิ

1,013,242.31

1,559,529.40

1,393,263.88

801,448.74

-263,682.63

351,451.60

309,061.99

เงินสดรับจากการขาย

เงินสดจาย

คาขนสง รวมตนทุนสินคา

คาใชจายในการบริหาร เงินเดือนและคาลวงเวลา

คาใชจายอืน่ ๆ รวมคาใชจายบริหาร

39


สิงหาคม

กันยายน

ตุลาคม

พฤศจิกายน

ธันวาคม

รวม

1,033,146.86

1,084,804.19

1,139,044.41

1,195,996.63

1,450,877.00

13,822,422.86

1,270,675.35

1,103,051.25

1,058,951.25

1,111,898.81

1,780,046.00

14,252,700.16

194,250.00

204,750.00

201,600.00

211,680.00

126,000.00

2,261,280.00

148,837.50

154,350.00

159,862.50

167,855.63

153,300.00

1,655,180.63

434,109.38

434,109.38

491,990.63

516,590.16

565,031.25

5,296,723.59

3,081,019.08

2,981,064.82

3,051,448.79

3,204,021.23

4,075,254.25

37,288,307.24

1,422,017.29

1,706,420.75

1,962,383.86

1,205,555.00

2,458,781.00

17,582,674.33

859,994.18

1,031,993.02

1,186,792.08

1,246,131.68

1,600,473.74

10,088,442.81

14,230.83

17,076.99

19,638.55

20,620.48

26,483.98

159,954.05

2,296,242.31

2,755,490.76

3,168,814.49

2,472,307.16

4,085,738.72

27,831,071.19

180,625.42

216,750.50

249,263.08

261,726.23

336,149.06

2,173,614.44

8,288.69

7,631.17

11,438.38

12,010.30

15,425.47

92,161.17

42,751.20

51,301.44

58,996.64

61,946.48

79,561.20

532,301.45

66,521.00

66,548.00

75,412.00

79,182.60

85,421.00

996,732.23

92,821.69

111,386.04

128,093.94

134,498.64

172,743.83

1,071,850.54

2,959.93

3,551.91

4,084.70

4,288.94

5,508.51

45,469.19

80,530.21

73,469.86

112,274.49

117,888.22

150,949.98

928,577.74

474,498.14

530,638.91

639,563.24

671,541.40

845,759.06

5,840,706.76

2,770,740.44

3,286,129.67

3,808,377.73

3,143,848.56

4,931,497.77

33,671,777.95

310,278.64

-305,064.85

-756,928.94

60,172.66

-856,243.52

3,616,529.28

40


รายการทางการเงิน

เมษายน

พฤษภาคม

มิถุนายน

กรกฏาคม

352,793.92

1,530,575.87

2,116,542.67

1,637,378.10

1,773,347.76

1,559,529.40

1,393,263.88

801,448.74

-263,682.63

351,451.60

309,061.99

-776,657.37

566,877.07

1,746,057.81

2,332,024.61

1,852,860.04

1,988,829.70

2,082,409.75

ดอกเบีย้ โอ.ดี

21,494.95

19,583.15

20,981.94

20,981.94

20,981.94

20,981.94

20,981.94

ผอนชําระเงินกู

160,500.00

160,500.00

160,500.00

160,500.00

160,500.00

160,500.00

160,500.00

รวมยอดผอนชําระ

181,994.95

180,083.15

181,481.94

181,481.94

181,481.94

181,481.94

181,481.94

-958,652.32

386,793.92

1,564,575.87

2,150,542.67

1,671,378.10

1,807,347.76

1,900,927.81

-958,652.32

386,793.92

1,564,575.87

2,150,542.67

1,671,378.10

1,807,347.76

1,900,927.81

-34,000.00

-34,000.00

-34,000.00

-34,000.00

-34,000.00

-34,000.00

-34,000.00

-992,652.32

352,793.92

1,530,575.87

2,116,542.67

1,637,378.10

1,773,347.76

1,866,927.81

เงินสดตนงวด เงินสดรับ(จาย)สุทธิ รวมกระแสเงินสดกอนชําระหนี้ ธนาคาร

มกราคม

กุมภาพันธ

มีนาคม

1,789,899.68

-992,652.32

1,013,242.31

ภาระหนี้ธนาคาร

กระแสเงินสดหลังชําระหนี้ธนาคาร

เงินกูยืมภายนอก กระแสเงินสดกอนลงทุน ลงทุนซื้อเครื่องจักรเพิ่ม ลงทุนขยายโรงงานชั้นดาดฟา เงินกูยืมธนาคาร ผอนชําระเงินกูวงเงินใหม 7 ป กระแสเงินสดสิ้นงวด

41


สิงหาคม

กันยายน

ตุลาคม

พฤศจิกายน

ธันวาคม

1,866,927.81

1,961,724.50

1,441,177.71

468,766.83

312,408.45

310,278.64

-305,064.85

-756,928.94

60,172.66

-856,243.52

2,177,206.45

1,656,659.65

684,248.77

528,939.49

-543,835.07

20,981.94

20,981.94

20,981.94

22,031.04

19,982.80

160,500.00

160,500.00

160,500.00

160,500.00

160,500.00

181,481.94

181,481.94

181,481.94

182,531.04

180,482.80

1,995,724.50

1,475,177.71

502,766.83

346,408.45

-724,317.87

1,995,724.50

1,475,177.71

502,766.83

346,408.45

-724,317.87

-34,000.00

-34,000.00

-34,000.00

-34,000.00

-34,000.00

1,961,724.50

1,441,177.71

468,766.83

312,408.45

-758,317.87

42


บริษัท กะตัง อินเตอรเทรด จํากัด งบประมาณเงินสด สําหรับงวด 12 เดือน สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2549 มกราคม

กุมภาพันธ

มีนาคม

เมษายน

Big C

1,408,460.68

1,396,837.30

1,272,381.85

1,177,912.32

Makro

1,158,203.81

1,389,150.00

1,331,268.75

Lotus

132,300.00

165,375.00

carefoure

115,762.50

รานประตูน้ํา รวมเงินสดรับ

พฤษภาคม

มิถุนายน

กรกฏาคม

983,949.39

1,041,793.04

1,033,146.86

1,158,203.81

1,099,743.75

1,030,286.25

1,157,625.00

198,450.00

220,500.00

231,525.00

242,550.00

198,450.00

104,186.25

127,338.75

138,915.00

144,703.13

133,126.88

150,491.25

391,368.70

435,135.13

458,189.34

267,091.39

509,001.45

481,036.60

455,814.84

3,206,095.70

3,490,683.68

3,387,628.69

2,962,622.52

2,968,922.71

2,928,792.77

2,995,527.96

ซื้อวัตถุดิบ

1,396,495.13

953,078.45

1,088,364.30

1,245,910.92

1,970,829.86

1,256,833.46

1,357,380.14

คาแรงงาน

431,345.49

562,567.90

479,413.90

470,082.46

846,801.88

760,095.87

820,903.54

5,579.17

5,664.26

8,228.98

7,372.05

11,992.18

12,577.75

13,583.98

1,833,419.79

1,521,310.61

1,576,007.17

1,723,365.42

2,829,623.92

2,029,507.08

2,191,867.65

107,720.59

126,993.66

120,990.28

135,750.17

152,041.60

159,643.68

172,415.17

คาน้ํามันรถยนต

1,987.35

3,573.59

5,078.39

6,381.41

6,977.01

7,325.86

7,911.92

คาสาธารณูปโภค

25,244.59

33,876.60

39,905.87

36,024.49

35,985.85

37,786.36

40,807.96

คาขนสงทางทางไปรษณีย

91,162.97

75,245.63

78,750.00

78,718.50

71,544.70

169,684.67

89,723.55

คาใชจายเบ็ดเตล็ด

34,641.93

41,934.97

49,228.00

79,342.17

78,132.74

82,039.38

88,602.53

คาภาษีหักณ.ที่จาย

6,079.07

3,506.55

3,994.52

4,815.81

2,491.52

2,616.10

2,825.38

41,934.97

46,736.22

50,747.39

56,703.37

68,992.13

71,165.46

76,858.70

308,771.48

331,867.21

348,694.44

397,735.92

416,165.55

530,261.50

479,145.22

รวมรายจายกอนหักภาษี

2,142,191.27

1,853,177.81

1,924,701.61

2,121,101.34

3,245,789.47

2,559,768.59

2,671,012.87

เงินสดรับ(จาย)สุทธิ

1,063,904.43

1,637,505.87

1,462,927.08

841,521.18

-276,866.76

369,024.18

324,515.09

เงินสดรับจากการขาย

เงินสดจาย

คาขนสง รวมตนทุนสินคา

คาใชจายในการบริหาร เงินเดือนและคาลวงเวลา

คาใชจายอืน่ ๆ รวมคาใชจายบริหาร

43


สิงหาคม

กันยายน

ตุลาคม

พฤศจิกายน

ธันวาคม

รวม

1,084,804.20

1,139,044.40

1,195,996.62

1,434,653.54

1,255,796.46

14,424,776.68

1,334,209.12

1,158,203.81

1,216,114.00

1,575,000.00

1,167,493.75

14,775,502.06

203,962.50

214,987.50

225,736.88

126,000.00

222,264.00

2,382,100.88

156,279.38

162,067.50

170,170.88

153,300.00

176,248.41

1,732,589.91

455,814.84

455,814.84

478,605.59

565,031.25

542,419.66

5,495,323.64

3,235,070.04

3,130,118.06

3,286,623.96

3,853,984.79

3,364,222.29

38,810,293.16

1,493,118.15

1,791,741.78

1,881,328.87

2,646,414.80

1,265,832.75

18,347,328.62

902,993.89

1,083,592.67

1,137,772.30

1,600,473.74

1,308,438.27

10,404,481.88

14,942.38

17,930.84

18,827.39

26,483.98

21,651.50

164,834.46

2,411,054.42

2,893,265.30

3,037,928.56

4,273,372.52

2,595,922.52

28,916,644.97

189,656.69

227,588.02

238,967.42

336,149.06

274,812.55

2,242,728.90

8,703.12

8,012.73

8,413.36

15,425.47

12,610.81

92,401.02

44,888.76

53,866.51

56,559.83

79,561.20

65,043.80

549,551.82

69,847.05

69,875.40

73,369.17

357,035.65

83,141.73

1,308,099.01

97,462.78

116,955.34

122,803.11

172,743.83

141,223.57

1,105,110.35

3,107.93

3,729.50

3,915.98

5,508.51

4,503.39

47,094.26

84,556.72

77,143.36

81,000.52

150,949.98

123,782.63

930,571.43

498,223.04

557,170.86

585,029.40

1,117,373.71

705,118.47

6,275,556.80

2,909,277.47

3,450,436.16

3,622,957.96

3,301,040.99

35,192,201.77

325,792.57

-320,318.10

-336,334.00

5,390,746.23 1,536,761.44

63,181.30

3,618,091.39

44


รายการทางการเงิน

มกราคม

กุมภาพันธ

มีนาคม

เมษายน

พฤษภาคม

มิถุนายน

กรกฏาคม

-758,317.87

88,516.86

1,510,960.42

2,757,356.45

3,382,346.60

2,888,948.80

3,041,441.94

1,063,904.43

1,637,505.87

1,462,927.08

841,521.18

-276,866.76

369,024.18

324,515.09

305,586.56

1,726,022.72

2,973,887.49

3,598,877.63

3,105,479.84

3,257,972.98

3,365,957.03

ดอกเบีย้ โอ.ดี

22,569.70

20,562.31

22,031.04

22,031.04

22,031.04

22,031.04

22,031.04

ผอนชําระเงินกู

160,500.00

160,500.00

160,500.00

160,500.00

160,500.00

160,500.00

160,500.00

รวมยอดผอนชําระ

183,069.70

181,062.31

182,531.04

182,531.04

182,531.04

182,531.04

182,531.04

122,516.86

1,544,960.42

2,791,356.45

3,416,346.60

2,922,948.80

3,075,441.94

3,183,425.99

122,516.86

1,544,960.42

2,791,356.45

3,416,346.60

2,922,948.80

3,075,441.94

3,183,425.99

ผอนชําระเงินกูวงเงินใหม 7 ป

-34,000.00

-34,000.00

-34,000.00

-34,000.00

-34,000.00

-34,000.00

-34,000.00

กระแสเงินสดสิ้นงวด

88,516.86

1,510,960.42

2,757,356.45

3,382,346.60

2,888,948.80

3,041,441.94

3,149,425.99

เงินสดตนงวด เงินสดรับ(จาย)สุทธิ รวมกระแสเงินสดกอนชําระหนี้ ธนาคาร

ภาระหนี้ธนาคาร

กระแสเงินสดหลังชําระหนี้ธนาคาร

เงินกูยืมภายนอก กระแสเงินสดกอนลงทุน ลงทุนซื้อเครื่องจักรเพิ่ม ลงทุนขยายโรงงานชั้นดาดฟา เงินกูยืมธนาคาร

45


สิงหาคม

กันยายน

ตุลาคม

พฤศจิกายน

ธันวาคม

3,149,425.99

3,258,687.52

2,721,838.39

416,627.56

325,792.57

-320,318.10

-336,334.00

2,167,871.80 1,536,761.44

3,475,218.56

2,938,369.43

2,385,504.39

631,110.36

479,808.85

22,031.04

22,031.04

23,132.59

19,982.80

23,132.59

160,500.00

160,500.00

160,500.00

160,500.00

160,500.00

182,531.04

182,531.04

183,632.59

180,482.80

183,632.59

3,292,687.52

2,755,838.39

2,201,871.80

450,627.56

296,176.26

3,292,687.52

2,755,838.39

2,201,871.80

450,627.56

296,176.26

-34,000.00

-34,000.00

-34,000.00

-34,000.00

-34,000.00

3,258,687.52

2,721,838.39

2,167,871.80

416,627.56

262,176.26

63,181.30

46


47


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.