เอกสารคู่มือ เทคนิคเตาอบไม้แบบแลกเปลี่ยนความร้อน

Page 1

ป กกะตืน (คู มือ)

โดย ศูนย ส งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 1 กรมส งเสริมอุตสาหกรรม


คํานํา ตัง้ แตอดีตจนถึงปจจุบนั อุตสาหกรรมไมในภาคเหนือตอนบนเปนอาชีพทีส่ รางรายไดใหกบั ชุมชน และประเทศชาติจํานวนมาก โดยริเริ่มจากการสรางสรรคผลงานหัตถกรรมไมที่เกิดจากภูมิปญญา ทองถิ่น จนพัฒนามาเปนอุตสาหกรรม และดวยสภาวะเศรษฐกิจปจจุบันที่มีการแขงขันสูง การผลิต จึงตองเนนคุณภาพมาตรฐานเพื่อใหตรงกับความตองการของตลาด ทั้งดานการออกแบบ ประโยชน ใชสอย โดยเฉพาะอยางยิ่ง คุณภาพ และอายุการใชงาน ศูนยสง เสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 1 ซึง่ ถือเปนหนวยงานทีป่ ฏิบตั งิ านในฐานะตัวแทน กรมสงเสริม อุตสาหกรรมในภาคเหนือตอนบนรับผิดชอบการสงเสริมและพัฒนาระบบสงเสริมอุตสาหกรรมใหมี สมรรถนะและศักยภาพในการแขงขัน เพื่อใหเกิดความเขมแข็ง และสงผลตอการขยายตัวทางเศรษฐกิจ ของภูมิภาค จึงเห็นวา องคความรูเรื่อง เทคนิคการอบไมดวยเตาอบไมแลกเปลี่ยนความรอน ซึ่งเปนองค ความรูดั้งเดิมของเจาหนาที่ที่สั่งสมความเชี่ยวชาญ และประสบการณมาโดยตลอดอายุราชการกวา 30 ป เปนองคความรูที่มีประโยชน สามารถชวยสรางและพัฒนาธุรกิจอุตสาหกรรมไมในพื้นที่ใหเติบโต และแขงขันไดมาเปนระยะเวลานาน ควรแกการรวบรวมและสืบทอดความรูไ ว เพือ่ เผยแพรใหแกบคุ ลากร ในหนวยงาน และผูประกอบการไม รวมถึงผูที่สนใจทั่วไป นําไปใชในการสราง และพัฒนาธุรกิจ อุตสาหกรรมใหเติบโตและแขงขันได ตามประเด็นยุทธศาสตรของกรมสงเสริมอุตสาหกรรม


สารบัญ คําบอกเลาจากผูเชี่ยวชาญ ความจําเปนและประโยชนในการอบไม การอบแหงดวยเตาอบ เตาอบไมแลกเปลี่ยนความรอน (องคความรูศูนยสงเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 1) - วัสดุอุปกรณชุดแลกเปลี่ยนความรอนสําหรับเตาอบ - วัสดุอุปกรณชุดระบบสงกําลัง - วัสดุอุปกรณสําหรับเตาเผาฟน - วัสดุอุปกรณเพื่อความสมบูรณของเตาอบ - เทคนิคที่ควรใสใจ - วิธีการบํารุงรักษา ปจจัยตางๆ ที่เกี่ยวของในการอบไม ปริมาณความชื้นในไมที่ใชประโยชนดานตางๆของประเทศไทย ตารางการอบไม ถาม – ตอบ ตัวอยางเตาอบไมแลกเปลี่ยนความรอน (องคความรูศูนยสงเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 1) Success Case ภาคผนวก

01 04 05 07 08 10 10 11 11 12 12 14 15 17 20 21 25


คําบอกเล าจากผู เชี่ยวชาญ ศูนยสงเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 1 จัดตั้งมาเมื่อป พ.ศ. 2514 ซึ่งเปนหนวยงานแรกที่มีบุคลากร เจาหนาที่ ที่มีความรูความเชี่ยวชาญในดานการพัฒนาอุตสาหกรรมไม และในอดีต อุตสาหกรรมไมยัง ไมเปนทีร่ จู กั มากนัก ผูป ระกอบการมีไมมาก สวนใหญจะเปนการผลิตเพือ่ ใช และขายใหกบั คนในทองถิน่ จึงไมเนนคุณภาพมาตรฐานเทาที่ควร กรรมวิธีการผลิตจะใชวิธีการผึ่งไมใหแหงตามธรรมชาติ ซึ่งใช เวลานาน ตอมามีผูประกอบการเริ่มนําเตาอบไมจากตางประเทศมาใช แตมีราคาสูง ทําใหผูประกอบ การรายเล็ก ไมสามารถซื้อมาใชในการผลิตได นอกจากนี้ ยังมีตําราของอาจารยปกฤญจ ศรีอรัญ แหงมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ที่ไดเขียนตําราไว ซึ่งเปนตําราที่มีความสมบูรณทั้งในดานทฤษฎี และ หลักการนํามาปฏิบัติ แตทั้งนี้ผูประกอบการที่เปนรายเล็ก ไมสามารถนํามาใชได เพราะใชงบประมาณ สูงมาก และรายละเอียดคอนขางยุงยาก ดังนั้น เจาหนาที่ของศูนยสงเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 1 จึงพัฒนาเตาอบไมขึ้นมาโดยการนําเอาหลักการของการอบใบยา และการอบลําไยมาใช ในระยะ แรกยังไมไดรับความสนใจจากผูประกอบการเทาที่ควร เนื่องจากไมกลาเสี่ยงในการกอสรางเตาอบไม อีกทั้งในสมัยนั้น ไมหางาย เมื่อเกิดการแตกหักเสียหาย ก็ไมเสียดาย สามารถหาทดแทนไดงาย จนกระทั้งถึงชวงอุตสาหกรรมไมรุงเรือง มีการสงออกผลิตภัณฑไมไปยังตางประเทศ ประกอบกับเริ่มมี การแขงขันสูงในกลุมผูประกอบการ ปริมาณไมลดลง ผูประกอบการขนาดเล็กเริ่มสนใจนําเอาการอบ แหงไมมาพัฒนาธุรกิจของตนเอง เพื่อลดระยะเวลาอบ และใหไดคุณภาพไมมาใชในการผลิต เจาหนาที่ ศูนยฯจึงอาศัยประสบการณ และไดหยิบยกปญหาที่ไดพบจากการใหคําปรึกษาแนะนํา มาพัฒนาการ อบไม และปรับปรุงเตาอบ รวมกับผูประกอบการ ซึ่งผลจากการใชเตาอบดังกลาว เริ่มเปนที่ยอมรับ คอนขางสูง จากผูประกอบการในภาคเหนือ ประกอบกับปจจุบัน ตลาดทั้งใน และนอกประเทศ ตองการไมที่มีคุณภาพมาตรฐาน ตนทุนในการผลิตสูงมาก ไมวาจะเปนเรื่องของ ราคาวัตถุดิบ คือ ไม ปริมาณไมเริ่มขาดแคลน ราคาเชื้อเพลิง แรงงาน ตลอดจนการจะเปดเขตความรวมมือเศรษฐกิจ อาเซียน (AEC) ที่ทําใหผูประกอบการตองการเตาอบไมที่มีประสิทธิภาพสูง การลงทุนสรางเตาใชงบประมาณไมมากนัก เมื่อเปรียบเทียบกับเตาอบรูปแบบเดิมที่ใชอยู “เทคนิคการอบไมแบบใชอุปกรณแลกเปลี่ยนความรอน” ที่เจาหนาที่ของศูนยสงเสริมอุตสาหกรรม ภาคที่ 1 ใหคําปรึกษาแนะนํา จึงมีประสิทธิภาพดีมากกวาเตาอบไมแบบเดิมที่ใชอยู ในเรื่อง มาตรฐาน ของไม ประหยัดเวลา คุมคาในการลงทุนสราง หรือปรับปรุงเตาอบไม เพื่อใชในการผลิตมากขึ้น โดยเทคนิคเตาอบไมแลกเปลี่ยนความรอน จากองคความรูศูนยสงเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 1 ที่แตกตางจากเตาอบไมแลกเปลี่ยนความรอนทั่วไป มีดังนี้

01


1. เตาอบไมแลกเปลี่ยนความรอน (องคความรูศูนยสงเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 1) มีการ ออกแบบ สรางและใชงานที่ไมซับซอน จึงมีตนทุนในการกอสรางไมสูงมากนักเมื่อเปรียบ เทียบกับเตาอบตางประเทศทีม่ รี ะบบสมบูรณแบบและทํางานไดเชนเดียวกัน ทําใหประหยัด ตนทุนตอผูป ระกอบการ 2. เตาอบไมแลกเปลี่ยนความรอน (องคความรูศูนยสงเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 1) ติดตั้งชุด แลกเปลี่ยนความรอน ในลักษณะตั้งตรง (ตั้งฉากกับพื้น)โดยใชทอเหล็กดําหลายๆ ทอ เปนตัวนําความรอน ดังภาพซึ่งสามารถหาซื้อวัสดุไดงาย

3. เตาอบไมแลกเปลี่ยนความรอน (องคความรูศูนยสงเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 1) ออกแบบ ใหมีหองติดตั้งชุดแลกเปลี่ยนความรอนกับหองอบไมแยกสวนกัน ทั้งนี้เพื่อชวยปองกัน การลุกไหมของกองไมในหองอบได เพราะการติดตั้งชุดแลกเปลี่ยนความรอนไวภายใน หองอบอาจเปนสาเหตุใหเกิดการลุกไหมของกองไมในหองอบได 4. เตาอบไมแลกเปลี่ยนความรอน (องคความรูศูนยสงเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 1) ใชพัดลม ซึ่งเปนใบพัดที่ทําจากเหล็ก ขนาดเล็กจํานวน 3 ตัว ติดตั้งตามแนวตั้ง (ขนานกับผนัง) ดังภาพ ในการหมุนเวียนอากาศ ทั้งนี้เพื่อชวยใหอากาศผานชุดแลกเปลี่ยนความรอน เขาไปใหความรอนแกไมที่อบแลวถูกดึงเขามาผานความรอนใหม

02


5. เตาอบไมแลกเปลี่ยนความรอน (องคความรูศูนยสงเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 1) ออกแบบ ใหสามารถซอมบํารุง และทําความสะอาดเขมาควันที่ติดอยูบริเวณทอนําความรอนของ ชุดแลกเปลี่ยนความรอนไดงาย โดยใชแปรงลวดสอดเขาไปทําความสะอาดเขมาทางดาน ลางของทอ และออกแบบมาใหมีประตูเปด - ปด บริเวณชุดแลกเปลี่ยนความรอนดวย (ประตูอยูบริเวณดานบนเตาเผาฟน) เพื่อประโยชนในการซอมบํารุงดังกลาว 6. เตาอบไมแลกเปลี่ยนความรอน (องคความรูศูนยสงเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 1) ออกแบบ ติดตั้งเพลาและมูเลยเพื่อคลองสายพานขับมอเตอรพัดลมใหอยูดานนอกเตาอบ เพื่อไมให โดนความรอนภายในเตาโดยตรง ทัง้ นีเ้ พือ่ ชวยยืดอายุการใชงานของสายพานและมอเตอร

ขอขอบคุณคําบอกเลาของผูเชี่ยวชาญ ดังนี้ นายวีรนันท นีลดานุวงศ รองอธิบดีกรมสงเสริมอุตสาหกรรม นายอรรคเดช บุญไชย นักวิชาการอุตสาหกรรมชํานาญการ นายชาติชาย วัชรีเสวิน นายชางเทคนิคอาวุโส

03


เทคนิค

การอบไม ดว ยเตาอบไม แลกเปลีย่ นความร อน (องค ความรูศ นู ย สง เสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 1)

การอบไม

หมายถึง ขบวนการหรือกรรมวิธีในการทําใหความชื้นหรือนําระเหยออกจากเนื้อไมที่สดหรือ มีความชื้นมากเกินพอ โดยเหลือปริมาณความชื้นอยูในเนื้อไมไดสวนสมดุลกับบรรยากาศที่อยูโดยรอบ ไมที่จะนําไปใชประโยชนนั้น คือ ใหเหลือความชื้นอยูในไมประมาณ 1 ใน 10 ของความชื่นสด หรือ ประมาณ 8 – 16 % (12% โดยเฉลี่ย) สําหรับสภาวะอากาศของประเทศไทย วัตถุประสงคของการ อบไม เพื่อใหเสียเวลานอยที่สุดและตองไมทําใหไมเมื่อผึ่งและอบแลวมีตําหนิ นอยที่สุด

ความจําเป นและประโยชน ในการอบไม

การอบไมเปนกรรมวิธีขั้นแรกของการใชประโยชนอยางมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะอยางยิ่ง ประเทศไทยเปนประเทศที่มีดินฟาอากาศแบบโซนรอน มีสภาพดินฟาอากาศในแตละทองถิ่นจังหวัด และในแตละภาคแตกตางกันออกไป จึงเกิดปญหาในดานการใชประโยชนอยางมาก แตที่สําคัญที่สุด คือ ไมเนื้อแข็งจะมีลักษณะโครงสรางหรือกายวิภาคทางเนื้อไมสลับซับซอนจึงมักจะเกิดตําหนิไดงาย การอบไมสามารถขจัดการสูญเสียไมอนั เกิดจากตําหนิตา งๆ เชน การแตกทีผ่ วิ และภายในเนือ้ ไม การแตกตามหัวไม การบิดงอ เหลานี้ เปนตน ในขณะอบไมที่มีความชื้นสูงหรือไมสด ถาไมควบคุมการ ระเหยของนําจากเนื้อไมมักจะประสบปญหาดังกลาว อันเนื่องมาจากการยืดและหดตัวของไม สําหรับ สภาพดินฟาอากาศของประเทศไทยที่มีปริมาณความชื้นสมดุลของอากาศ 8-16% เชนนี้จึงตองมีความ จําเปนในการอบไมใหไดความชื้นสมดุลกับอากาศ ของแตละทองถิ่น เพื่อใหไมมีการคงรูปแนนอน เมื่อนําไมไปใชจะไมมีการยืดหรือหดตัว ซึ่งอาจทําความเสียหายตอสิ่งกอสรางได เชน การเขารางลิ้น ขอตอ การบิดงอไปจากแนวระดับ และการแตกเสียหายของไม

ประโยชน ของการอบไม

1. ทําใหไมมีนําหนักเบาเปนผลดีตอการขนสงไมจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งตนทุนในการ ขนสงไดมาก 2. ทําใหไมหดตัวเสียกอน กอนที่จะนําไปใชประโยชน 3. ทําใหไมอยูตัวหรือคงรูป มีการยืดหรือหดตัวนอย ไมเปนอุปสรรคตอการกอสรางตางๆ 4. ไมเมื่อแหงดีแลวจะมีคุณสมบัติดานความแข็งแรง ดีกวาเดิม 5. ความแข็งแรงของรอยตอที่ตอดวยตะปูหรือตะปูควงจะดีขึ้น

04


6. ทําใหไมเปนฉนวนความรอนและฉนวนไฟฟาไดดี 7. ทําใหทาสีหรือทานํามันชักเงาไดดีขึ้น 8. ทําใหไมพนจากการทําลายของแมลงและเห็ดราตางๆ 9. ไมที่อบหรือผึ่งอยางดีแลวจะติดกาว อาบนํายารักษาเนื้อไมหรืออาบนํายาทนไฟไดดีขึ้น 10. กรณีนําไปทําเครื่องดนตรี ทําใหใชเก็บเสียงไดดีขึ้น

การอบแห งด วยเตาอบ การทําใหไมแหงโดยวิธีนี้ เราสามารถควบคุมอุณหภูมิและความชื้นสัมพัทธไดตามตองการ และสามารถทําใหการแหงของไมเปนไปอยางตอเนื่องชาหรือเร็วได ไมที่ผานการอบแลวจะมีปริมาณ ความชื้นตามความตองการตรงกับประโยชนที่จะนํา ไมนั้นๆ ไปใชงาน การอบแหงที่ดีตองใชเวลานอย สุดเพื่ออบใหมีความชื้นตามตองการและปราศจาก ตําหนิตางๆ ที่จะเกิดในไมดังนั้นการอบแหงดวย เตาอบ ใชเงินทุนสูงกวาการผึ่งแหงโดยกระแสอากาศแตระยะเวลาที่ใชอบแหงเพียง 1/10 ถึง 1/30 เทาของเวลาที่ใชผึ่งแหงโดยกระแสอากาศ ปจจุบัน มีการพัฒนาโดยผสมผสานระหวางการผึ่งแหงดวยกระแสอากาศและอบแหงดวย เตาอบ ทําใหไมที่จะนําเขาเตาอบมีความชื้นตําลงและความแตกตางของความชื้นนอยโดย ชั้นแรกกอง ไมผึ่งไวในกระแส อากาศใหความชื้นของไมโดยเฉลี่ยประมาณหรือตํากวา 30% กองไมนี้ตองกองอยู ในโรงเรือนที่มีฝา 3 ดาน ฝาดานขางกองไมหนึ่งดานติดพัดลม เพื่อใหการหมุนเวียนของอากาศรอบ กองไมดีและเร็วขึ้นเปนการเรงใหการระเหย ของนําในไมมากขึ้น การกองไมควรใหปริมาณมากเพียง พอตอการเขาอบไมในแตละครั้งของแตละเตา ผลดีของการเตรียมไมไวรอเขาเตาอบ โดยเวลาในการ ทําการผึ่งไมนี้ นานพอๆ กับเวลาใชไมดวยเตาอบในแตละครั้ง เมื่อไมในเตาอบแหงไดตามความชื้นที่ ตองการแลว เราสามารถนําไมที่ผึ่งโดยกระแสอากาศเขาเตาอบตอไป จากที่ไดมีการทดลองในหลาย ประเทศปรากฏวาถานําไมที่สดอยูแลวมาทําการอบ ดวยเตาอบโดยมิไดผึ่งกระแส อากาศใหไมหมาด ลง เวลาที่ใชในการอบแหงดวยเตาอบพบวาตองใชเวลาไมนอยกวา 4 ถึง 5 อาทิตย ไมจึงจะแหง ขอพึง ระวังในการนําไมเขาเตาอบควรคํานึง คือ 1. ชนิด และขนาดของไม ควรเปนชนิด และขนาดเดียวกัน 2. กรณีที่จําเปนตองคละขนาด ไมควรใหขนาดความหนาตางกันเกิน 1 นิ้ว 3. ไมที่มีความชื้นมากสุด (กรณีที่กองผึ่งไมในกระแสอากาศกอนเขาเตาอบไมที่อยูกลางกอง จะเปนไมที่ มีความชื้นสูงสุด กรณีคละความหนาไมที่มีความหนาสูงสุดจะมีความชื้นมาก ) ตองนํามาเปนไมตัวอยางหาความชื้นขณะทําการอบไม

05


4. กรณีคละชนิดไมเขาเตาอบ ไมที่มีคุณสมบัติในการอบแหงยาก ตองใชตารางอบไมสําหรับ การอบไมชนิดนั้นเปนหลักในการอบ ดังนั้นในการทําใหไมแหงไมวาจะโดยวิธีผึ่งกระแสอากาศหรืออบไมดวยเตาอบตอง ควบคุม ไมใหผิวหนาไมแหงเร็วเกินไป เชน การผึ่งกระแสอากาศจําเปนตองมีโรงเรือนคลุมหรือวัสดุคลุมกอง ไมเพื่อปองกัน การเสียนํามากและเร็วเกินไป สวนการอบไมดวยเตาอบตองควบคุมอุณหภูมิและ ความชื้นสัมพัทธ (ตามตารางที่ 1, 2 แนบทายเอกสาร) ใหเหมาะสม เพราะถาผิวหนาไมภายนอกแหง เร็วเกินไปขณะเดียวกันภายในเนื้อไมยังมีความชื้นสูงอยู พบวาถาความชื้นของเนื้อไมดานนอกแตก ตางกับความชื้นในไมเกิน 5% จะเกิดแรงเคนในเนื้อไมเปนสาเหตุของการตําหนิตางๆ ได เชน โคง อาการแข็งนอกแตกแบบรังผึ้งในเนื้อไมได ทั้งนี้ตําหนิตางๆ อาจเกิดจากคุณสมบัติเฉพาะตามธรรมชาติ ของเนื้อไม เชน ลักษณะเสี้ยนไม อายุของไมที่นํามาใชงานพบวาไมโตเร็ว เชน ไมยูคาลิปตัส ไมสะเดา เทียม การเจริญเติบโตที่รวดเร็วของไมทําใหเกิดแรงเคนขึ้นในเนื้อไม โดยไมที่มีอายุนอยแรงเคนจาก การเจริญเติบโต คอนขางรุนแรงทําใหเกิดอาการแตกที่ปลายไมไดงาย ดังนั้น ในการอบแหงจําเปน ตองทาสีที่หัว-ทายของไม เพื่อลดการคายความชื้นในไมเร็วเกินไป ขณะเดียวกันปลายไมทั้งสองดาน ตองใชไมคั่นวางทั้งสองดานใหพอดีกับหัว และปลายไมและบนสุดของกองไม ควรวางนําหนักกดทับ กองไมดวย เนื่องจากไมโตเร็วเมื่อสูญเสียความชื้นในไม แรงเคนจากการเจริญเติบโตจะโดนปลอยออก มาดวย อาจทําใหไมเกิดตําหนิ โกง หรือโคงได เพื่อปองกันและลดอาการดังกลาวจําเปนอยางยิ่งที่ ตองเอานําหนักทับกองไม ไวขณะทําการอบแหงหรือผึ่งใน กระแสอากาศ ดังนั้นรูปแบบในการแกไข ปญหาเกี่ยวกับไมโตเร็วจําเปนตองสังเกตอาการ ตางๆ ที่เกิดขึ้นกับไม จากที่กลาวมาขางตนมิไดเปน ขอปฏิบัติตายตัวจําเปนที่ผูปฏิบัติตอง บันทึกจดไว เพื่อเปนแนวทางในการแกไขปญหาที่เกิดจากการ อบหรือการผึ่งแหง การอบไมเกิดตําหนิไดงาย ดังนั้นการใชตารางอบไม (ตามตารางที่ 1, 2 แนบทายเอกสาร) ตองระมัดระวังเปนพิเศษอุณหภูมิไมควรสูงมาก ความชื้นสัมพัทธภายในเตาชวงแรกของการอบแหง ควรสูงกวาปกติ โดยใหเพิ่มอุณหภูมิใหสูงขึ้นในแตละวันตามตาราง (ตารางที่ 2แนบทายเอกสาร) เริ่ม จาก 57 องศาเซลเซียส เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จนถึงวันสุดทาย อุณหภูมิควรจะอยูที่ 75 องศาเซลเซียส โดยไม ใหเกินกวานี้ ขณะเดียวกันความชื้นสัมพัทธ (Relative Humidity : R.H) ในหองอบควรใหลดลงตาม ตารางจาก 75 % ลดลงเรื่อยๆ จนถึง 40 % ในวันสุดทายตามลําดับ ขณะเดียวกันการหมุนเวียนของ กระแสลมในเตาอบตองมีเพียงพอ เราจําเปนตองรูวากระแสลมภายในเตามีความเร็วเทาใด (ประมาณ 1 เมตรตอวินาที) เพื่อที่จะปรับเปลี่ยนความชื้นสัมพัทธใหเหมาะสมถูกตอง

06


เตาอบไม แลกเปลีย่ นความร อน

(องค ความรูข องศูนย สง เสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 1) รายละเอียดเพ�อ่ การก อสร างเตาอบไม แลกเปลีย่ นความร อน

พื้นฐานราก : ลงเสาตอหมอ และคานคอดิน ผนัง : กออิฐ (อิฐทนไฟ หรืออิฐมอญ) ฉาบปูนทนความรอน (มอตา) ทั้งภายในและภายนอก เจาะชองผนังดานบนขนาด 30 x 10 เซนติเมตร สําหรับระบายความชื้นออก (โดยใหปรับเลื่อน ปด – เปดได) และชองผนังดานลาง ขนาด 30 x 10 เซนติเมตร สําหรับใหลมเย็นเขา เพดาน : วางพื้นสําเร็จ แลวเทปูนทับหลัง บานประตู : ทั้งประตูหองอบไม และประตูบริเวณชุดแลกเปลี่ยนความรอนสําหรับซอมบํารุง ควรใสแผนฉนวนความรอน (แผนยิปซั่มบอรด หรือไมโครไฟเบอร)

ผนังโครงสรางเตาอบ

07

ประตูหองอบไม


ภาพแสดงวัสดุอปุ กรณ

ชุดแลกเปลีย่ นความร อนสําหรับเตาอบ

08


วัสดุอปุ กรณ ชดุ แลกเปลีย่ นความร อนสําหรับเตาอบ (ติดตัง� ตามแบบ)

1. เหล็กฉากหนา 2 นิ้ว 2. ทอเหล็กดําหนา 1.8 – 2 มิลลิเมตร ขนาดเสนผานศูนยกลาง 2 ½ นิ้ว ความยาว 2 เมตร จํานวน 41 ทอน 3. เหล็กแผน (บน) หนา 3/16 นิ้ว เจาะรูตามแบบ เชื่อมยึดทอเหล็กดํา 4. เหล็กแผน (ลาง) หนา ½ นิ้ว เจาะรูตามแบบ เชื่อมยึดทอเหล็กดํา 5. ชุดฝาครอบชุดแลกเปลีย่ นความรอน ใชเหล็กหนา 2 มิลลิเมตร ขนาด 70x80x30 เซนติเมตร 6. หนาแปลนปลองควัน ใชเหล็กหนา 8 มิลลิเมตร 7. ทอปลองควัน ใชเหล็กหนา 2 มิลลิเมตร เสนผานศูนยกลาง 25 เซนติเมตร 8. ฝาชีครอบปลองควัน 9. พัดลมหมุนเวียนอากาศทําจากเหล็ก โดยมีใบพัดลม 5 ใบ กานใบหนา 4 มิลลิเมตร ใบพัดหนา 1.5 มิลลิเมตร ขนาดรองลิ่มมาตรฐาน 5/16 นิ้ว ลึก 1/8 นิ้ว

ทอเหล็กดํา

เหล็กแผน (บน/ลาง) เพื่อยึดทอเหล็กดํา

ชุดแลกเปลี่ยนความรอน หลังจากทําการเชื่อมยึดกับทอเหล็กดํา แผนเหล็ก และเหล็กฉากเรียบรอยแลว

พัดลมหมุนเวียนอากาศ

09

ฝารัดรอบปลองควัน


วัสดุอปุ กรณ ชดุ ระบบส งกําลัง (ติดตัง� ตามแบบ) 1. มอเตอร 2 แรงมา 2. สายพาน 3. เพลาขนาดเสนผานศูนยกลาง 1 ¼ นิ้ว จํานวน 2 เพลา (ควรใชวัสดุที่มีคุณภาพ) 4. มูเลยนํา 3 นิ้วจํานวน 1 ตัว 5. มูเลยขับ 4 นิ้ว จํานวน 3 ตัว

แบบการติดตั้งชุดระบบสงกําลัง

วัสดุอปุ กรณ สาํ หรับเตาเผาฟ�น (ห องเผาไหม )

เตาเผาฟนกออิฐ (อิฐทนไฟ หรืออิฐมอญ) ใชอิฐทรงกลีบสมกอสวนโคงเตา ภายในฉาบปูนทน ความรอน (มอตา) และติดตั้งชุดโครงเหล็กยึดเตาเพื่อปองกันผนังเตาถางออก 1. ตะแกรงเหล็กหลอ ขนาด 30 x 38 เซนติเมตร หนา 2.5 เซนติเมตร จํานวน 6 แผน 2. ประตูเผาใชเหล็กแผนหนา ¼ นิ้ว 3. ชองดูไฟ ขนาด 8 x 10 เซนติเมตร บริเวณประตูเตาเผา

เตาเผาฟน (หองเผาไหม)

ตะแกรงเหล็กหลอ

เตาเผาที่เสริมตะแกรงเหล็กหลอรองรับฟน

เศษไมทเหลื เี่ หลือจากกระบวนการผลิต

ชวยใหการเผาไหมสมบูรณ

10

ใชเปนเชื้อเพลิงในการอบไม


วัสดุอปุ กรณ อน่ื ๆ เพ�อ่ ความสมบูรณ ของเตาอบ 1. เกจวัดอุณหภูมิ 2. เกจวัดความชื้นสัมพัทธ

เทคนิคทีค่ วรใส ใจ

1. การเจาะแผนเหล็ก สําหรับทําอุปกรณแลกเปลี่ยนความรอน ควรใชอุปกรณตัดเหล็ก ดวยความรอนจากแกส และเชื่อมดวยลวดเชื่อมไฟฟา ทางดานนอก ที่ปลายทอกับแผน เหล็ก โดยควรหาชางที่ชํานาญมาเชื่อมทอและแผนเหล็ก เพื่อใหไดคุณภาพดี ทนทาน ใชงานไดดี

การเจาะแผนเหล็ก

2. ชองระบายความชื้น ใชในการควบคุมการระบายความชื้น โดยสามารถเลื่อนปรับใหเปด– ปดไดมากหรือนอยไดตามตองการ การเปดชองระบายความชื้น ตองสัมพันธกับความชื้น สัมพัทธ ภายในเตาอบ เชน ในวันแรกของการอบ ความชื้นสัมพัทธ Relative Humidity (R.H) อยูที่ 75 % ตามตารางดังนั้น ควรปรับเปดชองระบายความชื้น แลวใหอุปกรณวัด ความชื้นวัดไดประมาณ 75% หากตํากวานี้ ไมอาจจะแตกได 3. การผานของลมรอน ควรใหลมรอนไหลผานกองไมที่จะอบ โดยแตละชั้นของกองไมจะ ตองมีไมคั้นดวยไมขนาด 1 x 1 นิ้ว หรือขนาดใหญสุดไมเกิน 2 x 2 นิ้ว สําหรับไมหนา และวางหางกันประมาณ 50 ซม. 4. พัดลมตองเปนแนวตั้ง เนื่องจาก หองอบมีขนาดความสูง 3 เมตร เพื่อใหลมรอนกระจาย ทั่วถึง จึงตองมีพัดลมหลายตัว 5. การใสฟน ควรเติมเชื้อเพลิงใหเหมาะสมไมควรใสแนนเกินไป ใหมีชองอากาศไหลเขาไป สันดาป ระหวางกองเชือ้ เพลิงใหเพียงพอ ใหสงั เกตการณการลุกไหมของเชือ้ เพลิงทีส่ มบูรณ เปลวไฟจะมีสีสมและฟาเล็กนอย จะตองไมมีควันไหลยอนออกมาที่หนาเตา ที่ปากปลอง จะตองมีควันนอยหรือแทบจะมองไมเห็น หากเติมเชื้อเพลิงมากเกินไปการเผาไหมจะไม สมบูรณ ควันก็จะมากขึ้นดวย

11


วิธบี าํ รุงรักษาเตาอบไม แลกเปลีย่ นความร อน 1. 2. 3. 4. 5.

ตรวจดูอุปกรณวัดอุณหภูมิและความชื้น ทุกครั้งเมื่อทําการอบไม วายังทํางานปกติหรือไม ตรวจใบพัดลมวาอยูในสภาพดี ไมบิดงอ หรือใบพัดหลุดหาย ตรวจดูสายพานไมตึงหรือหยอนเกินไป ตรวจดู มูเลย ตองยึดแนน ไมหลวม พรอมทั้งอัดจารบีอยางสมําเสมอ ตรวจระบบแลกเปลี่ยนความรอน ทอและรอยเชื่อมจะตองไมรั่ว ซึ่งหากมีรอยรั่วที่ทอ หรือรอยเชื่อมเล็กนอย อาจซอมได หากใชงานมานาน 4-5 ป ทอแลกเปลี่ยนความรอนผุ กรอน ควรเปลี่ยนใหม ทั้งนี้อยูที่ความถี่ของการอบไมดวย 6. ประตูเปด-ปด เตาควรปดสนิท 7. ทําความสะอาดชุดแลกเปลี่ยนความรอน (บริเวณทอนําความรอน) หากมีเขมาควันติด หนามากควรใชแปรงลวดเหล็กทําความสะอาดอยางสมําเสมอ

ป จจัยต างๆ ทีเ่ กีย่ วข องในการอบไม ความชื้นในไม ปริมาณความชื้นที่มีอยูในเนื้อไม หมายถึง นําหนักของนําที่อยูในไม คิดเปนรอยละ หรือ เปอรเซ็นต (%) ของนําหนักอบแหงของไม เชน ไมชนิดหนึ่งมีปริมาณความชื้น 10 % หมายความวามี นํา หนัก 10 หนวย ตอนําหนักของไมชนิดนั้น 100 หนวย ระดับความชื้นมาตรฐานของไม คือ ความชื้นอยูที่ 10-12% เมื่อไมออกจากเตาอบมาอยูใน ระดับอากาศปกติ การดูดซึมความชื้นจะคอยๆ เพิ่มขึ้นในไมตามภาวะของอากาศการคํานวณหา ปริมาณความชื้นของไม คํานวณไดจากสมการ ดังนี้ ปริมาณความชื้น =

นําหนักไมกอนอบ – นําหนักไมหลังอบ นําหนักไมหลังอบ

x 100

หรือใชเครื่องมือวัดความชื้นดวยไฟฟา (Electrical Moisture Meters) ซึ่งเปนเครื่องมือที่นิยมใชกัน มาก เนื่องจากใชงาย สะดวก และใหคาที่แนนอน เชน เครื่องวัดความชื้นชนิดที่ใชเข็มตอกตัวเดียว วิธีการวัดทําไดโดยตอกเข็มหนึ่งตัวลงไปในเนื้อ ไม ซึ่งกระแสไฟฟาจะผานความชื้นที่มีอยูในไมผานเข็มเขาไปที่มาตรวัดความชื้น เข็มชี้ของเครื่องวัดจะ เคลื่อนที่ไปตามตัวเลขบอกระดับความชื้นในไม เครื่องวัดความชื้นชนิดที่ใชเข็ม 2 ตัว โดยวิธีการวัดจาก การตอกเข็ม 2 ตัวลงไปในเนื้อไม กระแสไฟฟาจะผานความชน้ื ในไมผา นเขม็ ทัง้ 2 ตัว เขาไปในเครือ่ งวัด เพือ่ บอกตัวเลขระดับความชืน้ ในไม

12


การเรียงกองไม การเรียงกองไมสัมพันธกับการหมุนเวียนของอากาศในเตาอบอยางมาก หากกองไมไมดียอม มีอุปสรรคตอการหมุนเวียนของอากาศ ตานทางทิศทางการหมุนเวียนของอากาศใหกระจายไมเปน ระบบดังนั้นการวางไมควรเวนชองวางระหวางชิ้นไม โดยใชไมขนาดเดียวกัน (ขนาดใหญที่สุดไมเกิน 2 x 2 นิ้ว) วางขวางไวเปนระยะๆ หางกันประมาณ 50 cmตลอดในหองอบ กอนวางชิ้นไมที่ตองการ อบ เพื่อใหอากาศรอนไหลผานกองไมไดโดยทั่ว อุณหภูมิในเตาอบ อุ ณ ห ภู มิ เ ป น ตั ว ก า ร สํ า คั ญ ที่ ทํ า ใ ห การระเหยของนําออกจากไม อัตราการซึมผานของ ความชื้นของไมจะสูงขึ้น เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น ความชื้น จะคอยๆ ซึมออกจากผิวชัน้ ในสูผ วิ ชัน้ นอก ในการอบไม ชนิดตางๆ โดยเฉพาะไมที่มีความหนาแนนปานกลาง การวางเรียงกองไมในเตาอบ และไมเนื้อแข็ง การหดตัวและการผิดรูปรางของไม จะเพิ่มขึ้นเมื่ออุณหภูมิเพิ่มสูงขึ้น ดังนั้นไมที่บิดตัวไดงายจะใชอุณหภูมิในการอบที่อุณหภูมิตําๆ ไมบางชนิดจะแตกหักหรือเปนรูพรุนเมื่ออบที่อุณหภูมิสูง ไมบางชนิดจะมีสีเขมขึ้น เนื่องจากเรซินในไม ไหลมาเคลือบผิวไวเนื่องจากการอบไมที่อุณหภูมิสูง จะทําใหความแข็งแรงของไมลดลงเล็กนอย ดังนั้น ควรอบไมไมเกิน 60-75 องศาเซลเซียส ทั้งนี้ขึ้นอยูกับชนิดของไมดวย ระบบหมุนเวียนของอากาศในเตาอบ ความสําคัญของระบบหมุนเวียนของอากาศในเตาอบ เพื่อนําความรอนจากทอใหความรอน ผานไปยังกองไม ทําใหความชื้นระเหยออกมาจากไมทําใหความรอนและความชื้นแผกระจายไปทั่ว กองไมและเตา นําเอาความชื้นที่ระเหออกมาจากไมออกมาภายนอกกองไม ทําใหการระเหยของนํา จากไมดําเนินไปไดเรื่อยๆ ถาหากระบบการหมุนเวียนของอากาศภายในเตาไมดี คือไมเพียงพอหรือไม สมําเสมอกันก็จะทําใหไมแหงไมสมําเสมอกัน นอกจากนี้การระบายอากาศชื้นออกจากไมนั้น ไมมีทาง ระบายออกมาจากเตา จะทําใหสภาพในเตามีความชื้นสูง และไมมีการระเหยของความชื้นจากไม และ ในทํานองเดี่ยวกันจะมีทอใหอากาศที่เย็นและแหงเขาไปในเตาดวย ประสิทธิภาพของทอใหความรอน จะขึ้นอยูกับระบบหมุนเวียนของอากาศ ถาการหมุนเวียนของอากาศไมดี ประสิทธิภาพการใหความ รอนของทอก็จะลดลงทันที ปรากฏการณในการอบไม ชวงตนอุณหภูมิตํา ความชื้นสูง ชวงปลายอุณหภูมิสูง ความชื้นตํา

13


ปริมาณความชืน้ ในไม ท่ีใช ประโยชน ดา นต างๆ ของประเทศไทย

(กําหนดโดยสํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม) มีดังนี้คือ ไมแปรรูปอบ แบงออกเปน 3 ประเภท ประเภทที่ 1 ไมประตูไมแผนเรียบ ความชื้นอยูระหวาง 8-12% ประเภทที่ 2 ไมพื้นและไมภายในอื่นๆ ความชื้นอยูระหวาง 12-16% ประเภทที่ 3 ไมทําลังใสของ ความชื้นไมเกิน 20% • ชิ้นไมปูพื้นปารเกไมสัก ปริมาณความชื้นอยูระหวาง 12-16 % • ชิ้นไมปูพื้นปารเกไมกระยาเลย ปริมาณความชื้นอยูระหวาง 12-16 %

14


15 1

2

** กรณีอบไม้ชนิดอื่นสำมำรถใช้ตำรำงดังกล่ำวอ้ำงอิงได้

0

10

20

30

40

50

60

70

80

ควำมชื้นของไม้ ควำมชื้นของไม้(เฉลี่ย) อุณหภูมิ % % C 40 40 47 40-35 37.5 52 35-30 32.5 52 30-25 27.5 55 25-20 22.5 57 20-15 17.5 60 15-10 12.5 65 10 10 70

ตำรำงที่ 1 แสดงกำรอบไม้ประดู่

3

ควำมชื้น R.H % 75 70 65 60 55 50 40 35 รวม

4

5

วัน/ควำมหนำไม้ 0.5 -0.75" 1 1 1 1 2 2 2 2 12

6

7

วัน/ควำมหนำไม้ 1.0" 1 1 1 2 3 4 5 7 24

8

ความชื้น R.H %

อุณหภูมิ C

%

วัน/ควำมหนำไม้ ควำมชื้นแตกต่ำง 1.50" RH - ควำมชื้นไม้ 1 35 2 32.5 3 32.5 4 32.5 6 32.5 8 32.5 10 27.5 11 25 45

ความชื้นของไม้(เฉลี่ย)

วัน/ควำมหนำไม้ 1.25" 1 1 1 2 3 5 6 11 30


16 1

2

3

ควำมชื้นของไม้(เฉลี่ย) % 45 42.5 32.5 27.5 22.5 17.5 15

** กรณีอบไม้ชนิดอื่นสำมำรถใช้ตำรำงดังกล่ำวอ้ำงอิงได้

0

10

20

30

40

50

60

70

80

ควำมชื้นของไม้ % 50-40 40-35 35-30 30-25 25-20 20-15 15

ตำรำงที่ 2 แสดงกำรอบไม้สัก

4

5

อุณหภูมิ ควำมชื้น C R.H % 57 75 60 70 60 65 65 60 65 55 70 50 75 40 รวม

6

7

วัน/ควำมหนำไม้ 0.5 -1" 1 1 1 2 2 2 3 12

ควำมชื้นแตกต่ำง RH - ควำมชื้นไม้ 30 27.5 32.5 32.5 32.5 32.5 25

ความชื้นของไม้(เฉลี่ย) % อุณหภูมิ C ความชื้น R.H %

วัน/ควำมหนำไม้ 1.25" 1 1 1 3 3 3 4 16


ถาม – ตอบ 1. การบํารุงรักษาพัดลมในเตาอบให มอี ายุการใช งานนานๆ จะทําอย างไร

เนื่องจากพัดลมทําจากเหล็ก ซึ่งมีคุณสมบัติทนความรอนไดดีอยูแลว จึงมีอายุการใชงานนาน การบํารุงรักษาอาจทําเพียงการปดฝุนทําความสะอาดและการอัดจาระบีลูกปน เดือนละ 1 ครั้ง ก็จะ ชวยยืดอายุการใชงานใหนานยิ่งขึ้น

2. ไม ตา งชนิดกัน แต มขี นาดเท ากัน ใช ระยะเวลา และอุณหภูมติ า งกันหรือไม อย างไร

ไมตางชนิดกัน แตมีขนาดเทากัน รูปทรงเดียวกัน ใชอุณหภูมิไมตางกัน (อุณหภูมิที่ใชใน การอบไมสวนใหญจะเริ่มที่ 40 องศาเซลเซียส เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จนสูงสุด ไมเกิน 70 องศาเซลเซียส) แตจะตางกันที่ระยะเวลา เพราะไมแตละชนิดมีความหนาแนนไมเทากัน ไมที่มีความหนาแนนมากจะ ใชระยะเวลาในการอบนานกวาไมที่มีความหนาแนนนอย ทั้งนี้ขึ้นอยูกับปจจัยอื่นๆประกอบดวย เชน การจัดวางเรียงไมในเตา เนื้อแข็ง มีความหนาแนนมากเชน ประดู ชิงชัน เต็งลัง แดง ปานกลางมีความหนาแนนปานกลางเชน ตะแบก ตะเคียน มะคา เนื้อออน มีความหนาแนนนอยเชน สัก ยาง จําปาปา พยอม

3. ฤดูกาลมีผลต อการอบไม หรือไม

ฤดูกาลมีผลตอการอบไมในขั้นตอนหลังการอบ กลาวคือ หากทําการอบไมจนแหงแลว เมื่อนําไมมาเก็บไวความชื้นอาจกลับเขามาในไมไดประมาณ 3 – 4 เปอรเซ็นต โดยเฉพาะฤดูฝน ที่มีปริมาณความชื้นในอากาศสูง ดังนั้นหากอบไมจนแหงแลวควรนําไปเคลือบรองพื้นผิวไมกอน เพื่อปองกันไมใหความชื้นกลับเขาสูผิวไมไดอีก

4. เชือ้ เพลิงที่ใช ในเตาอบไม สามารถใช อะไรเป นเชือ้ เพลิงได บา ง

เชื้อเพลิงที่ใชในเตาอบที่เหมาะสมที่สุด คือ เศษไมจากขั้นตอนการผลิตที่ไมสามารถใชงานได แลว ซึ่งจะชวยลดตนทุนไดดีอีกดวย

17


5. ขนาดของเตาอบกับปริมาณท อนําความร อนในชุดแลกเปลีย่ นความร อน (ท อเหล็กดํา) มีความสัมพันธ กนั อย างไร

ขนาดของเตาอบจะขึ้นอยูกับขนาดไมที่จะนําเขาเตาอบ หากไมมีขนาดใหญ เตาอบก็จะตอง มีขนาดใหญกวาไมที่จะนําเขาเตาอบ ดังนั้นปริมาณทอนําความรอนจึงขึ้นอยูกับขนาดเตาอบ กรณี เตาอบมีขนาด 4 x 5 เมตร ทอนําความรอนจะใชประมาณ 41 ทอ หากเพิ่มขนาดเปน 5 x 5 เมตร อาจตองใชทอนําความรอนเปน 45-49 ทอ

6. พัดลมหมุนเวียนอากาศทีด่ คี วรทําจากวัสดุใด

พัดลมหมุนเวียนอากาศที่ดีควรทําจากเหล็ก โดยมีใบพัดลม 5 ใบ กานใบหนา 4 มม. ใบพัดหนา 1.5 มม. ขนาดรองลิ่มมาตรฐาน 5/16 นิ้ว ลึก 1/8 นิ้ว โดยแตละใบใหปริมาณลม 400 – 500 CMM ที่ความเร็วรอบ 1,080 RPM

7. ช องระบายความชืน้ ออกควรอยูบ ริเวณใดของเตาอบ

เตาอบมีความจําเปนจะตองมีชองระบายความชื้น เพื่อเปดใหความชื้นที่ออกมาจากไมที่ อบไหลออกมาภายนอกเตา ชองระบายความชื้นจึงนิยมติดตั้งไวบริเวณกําแพงดานบนของเตาอบ หรือ เหนือประตูเขาออกเตาอบก็ได

8. จําเป นหรือไม ทจ่ี ะต องจัดทําประตูบริเวณชุดแลกเปลีย่ นความร อน

สาเหตุที่ตองมีการจัดทําประตูบริเวณชุดแลกเปลี่ยนความรอน คือ เพื่อใหซอมบํารุงไดงาย หากเกิดการชํารุดเสียหาย ดังนั้น บริเวณชุดทําความรอนควรมีชองหรือประตูสําหรับเปดซอมบํารุง หรือเปลี่ยนชุดแลกเปลี่ยนความรอน

9. ควันทีอ่ อกมาจากเตาอบ เป นมลพ�ษต อสิง� แวดล อมหรือไม

การอบไมจากเตาอบดังกลาวนี้ เปนการเผาไหมเชื้อเพลิงแบบสมบูรณ เพราะมีออกซิเจนชวย ในการเผาไหม จึงไมสงผลกระทบตอสิ่งแวดลอมบริเวณใกลเคียงหรืออาจสงผลกระทบแตเพียงเล็ก นอยเทานั้นซึ่งไมกอใหเกิดอันตรายแตทั้งนี้แลวตองพึงระมัดระวังและสังเกตปริมาณและลักษณะของ ควันที่ออกมาจากปลองดวย

10. จําเป นหรือไม ทจ่ี ะต องมีตะแกรงเหล็กรองเชือ้ เพลิงไว ทเ่ี ตาเผา

จําเปน เพราะ ตะแกรงเหล็กใชรองรับเชื้อเพลิงเพื่อใหดานใตตะแกรงมีออกซิเจนผานได ซึ่งจะใชหลักการเดียวกับเตาอั้งโลที่ใชหุงตมอาหาร

18


11. อัตราความสูงของปล องควันมีผลต อการอบไม หรือไม อย างไร

อัตราความสูงของปลองควันที่ดีควรมีความสูงประมาณ 6 – 8 เมตร (วัดจากระดับพื้นดิน) หากปลองควันมีอัตราความสูงมากหรือนอยเกินไปจะสงผลกระทบตอการอบไม กลาวคือ หากปลอง ควันสูงมาก การดูดอากาศ(ออกซิเจน) เขาสูเตาอบก็จะมากขึ้นดวย จึงทําใหมีอากาศสวนเกินไหล เขาไปยังหองเผาไหม เมื่อหองเผาไหมมีอากาศสวนเกินมากเกินความจําเปน จะทําใหเกิดการเผาไหม เร็วกวาปกติทําใหสูญเสียพลังงานความรอนทิ้งไปกับอากาศรอนที่ปลองควันโดยเปลาประโยชน และ สิ้นเปลืองเชื้อเพลิงดวย ในขณะเดียวกันหากสรางปลองควันตําเกินไป การดูดอากาศ (ออกซิเจน) เขาเตาอบจะนอยเกินไป การสันดาปจะไมสมบูรณ ทําใหอุณหภูมิไมสูงพอ ทั้งยังทําใหเกิดควัน และ เขมามาก

12. การเติมเชือ้ เพลิง ควรทําอย างไร

การเติมเชื้อเพลิง (ฟน) ควรเติมใหพอดี ไมมากหรือนอยจนเกินไป โดยเมื่อใสเชื้อเพลิงแลว ควรใหมีชองวางใหอากาศไหลเขาไปสันดาปดวย เพื่อใหเกิดการเผาไหมที่สมบูรณ ทั้งนี้การลุกไหมของ เชื้อเพลิงที่สมบูรณจะมีเปลวไฟสีสมและฟาเล็กนอย และจะตองไมมีควันไหลยอนออกมาที่หนาเตา ใน ขณะเดียวกัน ที่ปากปลองควันจะตองมีควันออกมาเล็กนอยหรือแทบจะมองไมเห็น หากเติมเชื้อเพลิง มากเกินไปการเผาไหมจะไมสมบูรณเพราะอากาศไหลผานเขาไปไมได และอาจทําใหเกิดความเสีย หายตอเตาอบได

13. ทําไมจึงต องใช มเู ล ยข นาดต างกัน

เตาอบไมแลกเปลี่ยนความรอน (องคความรูศูนยสงเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 1) ใชมูเลยที่ มอเตอรขนาด 3 นิ้ว และใชมูเลยที่เพลาพัดลมขนาด 4 นิ้ว เนื่องจาก ตองการลดความเร็วที่ใบพัดลมลง จาก 1,450 รอบตอนาที เหลือ 1,080 รอบตอนาที (ลดลง 25%) เพื่อลดภาวะ Load การทํางานของ มอเตอรลง

19


ตัวอย างเตาอบไม แลกเปลีย่ นความร อน (องค ความรูข องศูนย สง เสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 1)

ซึ่งเจาหนาที่ศูนยสงเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 1 ไดใหคําปรึกษาแนะนําในการสรางเตา และ การใชงาน

แหล งซือ้ วัสดุ – อุปกรณ

พัดลม : ศูนยพัดลมโลหะกิจ (14/3 ถ.เชียงใหม – หางดง ต.แมเหียะ อ.เมือง จ.เชียงใหม 50100 โทร 053 – 282668, 081 – 9808864) ตะแกรงเหล็กหลอสําหรับวางเชื้อเพลิง : สามารถหาซื้อไดที่โรงหลอเหล็กทั่วไป ทอเหล็กดํา : รานคาวัสดุและอุปกรณงานโลหะทั่วไป

สนใจรับคําปรึกษาแนะนําเพ�ม� เติมได ท่ี ศูนย สง เสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 1 ที่อยู : 158 ถนนทุงโฮเต็ล ตําบลวัดเกต อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม 50000 โทรศัพท : 053-245361-2

20


Success Case ชื่อโรงงาน ที่อยู ชื่อ โทรศัพท ผลิตภัณฑ ปริมาณการผลิต จํานวนคนงาน

สหกรณบริการผลิตภัณฑไมนําชํา-หัวฝาย จํากัด 196 ม.2 ต.นําชํา อ.สูงเมน จ.แพร 53130 นายสวาท ผานการ ตําแหนง ประธานสหกรณ 054-541963 / 081-6032652 เฟอรนิเจอรไมสัก 360 ชิ้น/ป 128 คน ทุนจดทะเบียน 307,000 บาท

การตรวจประเมินก อนการปรับปรุง

เดิมสหกรณไดผลิตเฟอรนิเจอรโดยใชไมสักจากบานเกา ตอมาไมสักเกาเริ่มนอยลง และ หายากขึ้น เนื่องจากในจังหวัดแพรมีการใชไมสักทําเฟอรนิเจอรจํานวนมาก สหกรณจึงเปลี่ยนแนวทาง การผลิตใหม โดยใชไมสักสวนปาจากองคการอุตสาหกรรมปาไมมาทดแทน โดยนําไมทอนมาแปรรูป แลวผึ่งแหงดวยกระแสอากาศ ทําใหเกิดปญหาการผลิต คือ ไมแหงไมทันตอกระบวนการผลิต ไมมีการ หดตัวหลังจากนําไปประกอบทําใหเกิดชองวางตามรอยตอ ไดผลิตภัณฑที่ไมมีคุณภาพ

เป าหมายการดําเนินการให บริการ

แนะนําใหสหกรณเปลี่ยนวิธีการผึ่งแหงเปนการอบแหงโดยใชเตาอบลดความชื้นในเนื้อไม เพื่อใหทันตอกระบวนการผลิต ลดการแตกราวและทําใหผลิตภัณฑไดมาตรฐานยิ่งขึ้น

การดําเนินการ

สวนบริการอุตสาหกรรมไดออกแบบเตาอบแหงลดความชื้น แบบเตาคูจํานวน 1 เตา ขนาด 3.8 x 3.8 x 2.8 เมตร สามารถจุไมที่จะอบไดสูงสุด 10 ลูกบาศกเมตรตอ 1 หอง (มีชองวางใหลมรอน ผานกองไมดวย) โดยใชเชื้อเพลิงจากเศษไมที่ไดจากการแปรรูป ซึ่งเตาอบนี้จะแยกเตาเผาเชื้อเพลิงและชุดแลกเปลี่ยนความรอนไวคนละหอง ทั้งนี้เพื่อปองกัน การลุกไหมทอ่ี าจเกิดขึน้ ไดระหวางการอบ และใชพดั ลมเปนตัวพาความรอนผานเขาไปในหองอบ หมุนเวียน อยางสมําเสมอ มีชองระบายความชื้นออก และชองอากาศเย็นเขา ติดตั้งเกจวัดอุณหภูมิ และ ไฮโกรมิเตอรวัดความชื้นสัมพัทธภายในเตา ทําใหสามารถควบคุมการอบแหงได

21


ผลลัพธ การดําเนินการ

สหกรณไดนําเตาอบไมของศูนยสงเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 1 ไปสรางจนแลวเสร็จ จากนั้น เจาหนาที่ศูนยฯ ไดไปดําเนินการทดสอบ ทดลองอบลดความชื้น พรอมแนะนําวิธีการใชงานเตาอบ ปรากฏผลดังนี้ - สามารถอบลดความชื้นในไมสักหนา 1 นิ้ว จาก เดิม 19-20% เหลืออยูระหวาง 10-12% ใชเวลาในการอบ 10-12 วัน (เดิมผึ่งแหงดวยกระแสอากาศใชเวลาประมาณ 90 วัน) - ลดการสูญเสียของผลิตภัณฑที่เกิดการแตกราวมากกวา 50% - ลดการหดตัวของเนื้อไมหลังจากประกอบเปนผลิตภัณฑไดทั้งหมด - ลดการเกิดเชื้อราของเนื้อไมกอนทําสี - ชวยใหการทําสีสะดวกและสวยงามขึ้นอันเปนการเพิ่มมูลคาผลิตภัณฑ

22


ชื่อโรงงาน ที่อยู ชื่อ โทรศัพท ผลิตภัณฑ ปริมาณการผลิต จํานวนคนงาน ตลาด

บริษัท ชวี่ เฉวียน ฟูดส จํากัด 224 หมู 9 ต.เวียงกาหลง อ.เวียงปาเปา จ.เชียงราย 57260 นายเจริญชัย แยมแขไข ตําแหนง กรรมการผูจัดการ 053-952256-7 ขิงดองและผลไมอบแหง (โดยผลิตลังไมบรรจุขิงดองเอง) 16,000 ลัง/เดือน 650 คน ทุนจดทะเบียน 30,000,000 บาท ในประเทศ 2% ตางประเทศ 98% (เอเชีย, อเมริกา)

การตรวจประเมินก อนการปรับปรุง

บริษทั มีปญ  หาในการอบแหงลังไมสาํ หรับบรรจุขงิ ดอง ซึง่ เปนบรรจุภณ ั ฑขงิ ดองสําหรับสงออก ตางประเทศ โดยชุดแลกเปลี่ยนความรอน เปนแบบทอความรอนนอนและโคงไปมา ทําใหขี้เถาที่เกิด จากการเผาไหมเชือ้ เพลิงเขาไปกองอยูใ นทอ ทําใหระบบถายเทความรอนจากทอไมมปี ระสิทธิภาพ และ ยุงยากในการทําความสะอาด

เป าหมายการดําเนินการ

กลุม งานพัฒนาอุตสาหกรรมสนับสนุน สวนบริการธุรกิจอุตสาหกรรม ศูนยสง เสริมอุตสาหกรรม ภาคที่ 1 ไดเขาไปเก็บขอมูลเตาอบแหง และนํามาวิเคราะหวาควรปรับปรุงระบบเตาเผาและเปลี่ยน ชุดระบบแลกเปลี่ยนความรอนใหม

การดําเนินการ

กลุมงานพัฒนาอุตสาหกรรมสนับสนุน สวนบริการธุรกิจอุตสาหกรรม ไดดําเนินการให คําปรึกษาแนะนํา และออกแบบปรับปรุงเตาอบแหงเดิมที่มีอยู (เปนแบบเตาอบคูแฝด 2 เตา ติดกัน โดยปรับปรุงทีละเตา เพื่อไมใหเกิดผลกระทบตอการผลิต) โดยการเปลี่ยนชุดแลกเปลี่ยนความรอน ใหมตามแบบของศูนยสงเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 1

ผลลัพธ จาการดําเนินการ

หลังจากบริษัทไดดําเนินการปรับปรุงเตาอบแหงตามแบบเสร็จทั้ง 2 เตา ปรากฎผลดังนี้ - ลดระยะเวลาในการอบแหงลังไมจากเดิม 11-13 ชัว่ โมง เหลือ 8 ชัว่ โมง (คิดเปนรอยละ 30) - ลดการใชเชื้อเพลิงในการอบแหงแตละครั้งจาก 800 กิโลกรัม เหลือ 400 กิโลกรัม/2 เตา (คิดเปนรอยละ 50) - ประหยัดการใชพลังงานไฟฟา จากเตาอบเดิมใชมอเตอรขนาด 6 แรงมา เหลือ 3 แรงมา/ 1 เตา

23


24


ภาคผนวก




Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.