ใบความรู้ที่ 10

Page 1

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น

ด้วยโปรแกรมสอนพิมพ์ดีดบนเครื่องคอมพิวเตอร์ หมวดวิชาทักษะวิชาชีพ กลุ่มทักษะวิชาชีพพื้นฐาน รหัสวิชา 2200-1007

หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556 ประเภทวิชาพาณิชยกรรม สาขาวิชาพณิชยการ สำ�นักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ.) กระทรวงศึกษาธิการ ISBN 978-616-7814-04-9

เรียบเรียงโดย ชนธัญ วัฒนสุทธิ์


พิมพ์อังกฤษเบื้องต้น (2200-1007)

โปรแกรมสอนพิมพ์ดีดบนเครื่องคอมพิวเตอร์ อังกฤษเบื้องต้น ตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2556 แผ่นโปรแกรมพิมพ์สัมผัส

โดย บริษัท คอมพิวเตอร์ เอจ เทคโนโลยี จำ�กัด - สอนเทคนิคการพิมพ์สัมผัสด้วยคอมพิวเตอร์ - วิดีโอพร้อมเสียงบรรยายสาธิตหลักการพิมพ์สัมผัส - พัฒนาทักษะความเร็วในการพิมพ์ด้วยแบบฝึกพิมพ์ - บันทึกและตรวจสอบผลการพัฒนาการพิมพ์แต่ละครั้ง

พิมพ์ครั้งที่ 1 มิถุนายน 2556

จัดพิมพ์และจัดจำ�หน่ายโดย

บริษัท คอมพิวเตอร์ เอจ เทคโนโลยี จำ�กัด 1108/20 ศูนย์การค้าพระโขนง ถนนสุขุมวิท แขวงพระโขนง เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทร. 02-712-3993 โทรสาร. 02-392-1012 www.pimsampas.com info@pimsampas.com

สำ�นักพิมพ์วังอักษร 69/3 ถนนอรุณอัมรินทร์ บางกอกใหญ่ กรุงเทพฯ โทร. 02-472-3293-5 โทรสาร 02-891-0742 www.wangaksorns.com wangaksorn@hotmail.com wangaksorn2000@yahoo.com

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 โดย บริษัท คอมพิวเตอร์ เอจ เทคโนโลยี จำ�กัด ห้ามลอกเลียน ทำ�สำ�เนา หรือถ่ายเอกสาร ไม่ว่าส่วนใดส่วนหนึ่งของหนังสือเล่มนี้ นอกจากจะได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากทางบริษัทเท่านั้น

ข้อมูลบรรณานุกรมหอสมุดแห่งชาติ ชนธัญ วัฒนสุทธิ์. พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น.-- กรุงเทพฯ : คอมพิวเตอร์ เอจ เทคโนโลยี, 2556. 233 หน้า. 1. พิมพ์ดีด. I. ชื่อเรื่อง. 652.3 ISBN 978-616-7814-04-9


ลักษณะรายวิชา 2200-1007 พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น 1 – 2 - 2 (Basic English Typing) จุดประสงค์รายวิชา เพื่อให้ 1. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการพิมพ์อังกฤษ 2. มีทักษะในการพิมพ์อังกฤษแบบสัมผัส 3. มีทักษะในการบำ�รุงรักษาเครื่อง 4. มีกิจนิสัยที่ดีในการพิมพ์

สมรรถนะรายวิชา 1. แสดงความรู้เกี่ยวกับหลักการพิมพ์อังกฤษแบบสัมผัส 2. พิมพ์สัมผัสแป้นพิมพ์ต่าง ๆ ตามหลักการ 3. คำ�นวณคำ�สุทธิตามหลักเกณฑ์ 4. บำ�รุงรักษาเครื่องพิมพ์ดีด หรือเครื่องคอมพิวเตอร์ตามคู่มือ

คำ�อธิบายรายวิชา ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการพิมพ์อังกฤษแบบสัมผัส การพิมพ์แป้นอักษร แป้นตัวเลขสัญลักษณ์ เครื่องหมาย การพิมพ์ ประโยค การคำ�นวณคำ�สุทธิและการบำ�รุงรักษาเครื่องพิมพ์ดีดหรือเครื่องคอมพิวเตอร์


คำ�ชี้แจงของผู้เรียบเรียง

วิชาพิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น รหัสวิชา 2200-1007 พร้อมโปรแกรมสอนพิมพ์ดีด พิมพ์สัมผัส บนเครื่องคอมพิวเตอร์ 2 หน่วยกิต 3 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556 ประเภทวิชาพาณิชยกรรม สาขาวิชา พณิชยการ สำ�นักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ.) กระทรวงศึกษาธิการ จัดอยู่ในหมวดวิชาทักษะวิชาชีพ กลุ่มทักษะ วิชาชีพพื้นฐาน ผู้เรียบเรียงได้บริหารสาระการเรียนรู้แบ่งเป็น 18 หน่วยการเรียน ได้จัดแผนการจัดการเรียนรู้/แผนการสอนที่มุ่ง เน้นฐานสมรรถนะ (Competency Based) และการบูรณาการ (Integrated) ตรงตามจุดประสงค์รายวิชา สมรรถนะรายวิชา และคำ�อธิบายรายวิชา ในแต่ละบทเรียนมุ่งให้ความสำ�คัญส่วนที่เป็นความรู้ ทฤษฎี หลักการ กระบวนการ และส่วนที่เป็น ทักษะประสบการณ์ เร่งพัฒนาบทบาทของผู้เรียนเป็นผู้จัดการแสวงหาความรู้ (Explorer) เป็นผู้สอนตนเองได้ สร้างองค์ความ รู้ใหม่ และบทบาทของผู้สอนเปลี่ยนจากผู้ให้ความรู้มาเป็นผู้จัดการชี้แนะ (Teacher Roles) จัดสิ่งแวดล้อมเอื้ออำ�นวยต่อความ สนใจเรียนรู้ และเป็นผู้ร่วมเรียนรู้ (Co-investigator) จัดห้องเรียนเป็นสถานที่ทำ�งานร่วมกัน (Learning Context) จัดกลุ่ม เรียนรู้ให้รู้จักทำ�งานร่วมกัน ฝึกความใจกว้าง (Grouping) มุ่งสร้างสรรค์คนรุ่นใหม่ สอนความสามารถที่นำ�ไปทำ�งานได้ (Competency) สอนความรัก ความเมตตา (Compassion) ความเชื่อมั่น ความซื่อสัตย์ (Trust) เป้าหมายอาชีพอันยังประโยชน์ (Productive Career) และชีวิตที่มีศักดิ์ศรี (Noble Life) เหนือสิ่งอื่นใดเป็นคนดีทั้งกาย วาจา ใจ มีคุณธรรม จรรยาบรรณ ทางธุรกิจและวิชาชีพ ส่งเสริมสนับสนุนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบคุณวุฒิวิชาชีพ (Vocational Qualification System) สอดคล้องตาม มาตรฐานอาชีพ (Occupational Standard) สร้างภูมิคุ้มกัน เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ กำ�ลังแรงงาน การ พัฒนามาตรฐานการปฏิบัติงานระดับชาติ (National Benchmarking) และการวิเคราะห์หน้าที่การงาน (Functional Analysis) เพื่อให้เกิดผลสำ�เร็จในภาคธุรกิจ อุตสาหกรรม ทุกสาขาอาชีพ หนังสือเล่มนี้ถูกออกแบบให้ใช้ได้การเรียนการสอนที่เรียนควบคู่กันไปทั้งเครื่องพิมพ์ดีดและคอมพิวเตอร์ หากท่านขาดอย่าง ใดอย่างหนึ่ง ก็สามารถใช้ได้เช่นกัน โดยให้ถือว่าเรียนเป็นความรู้ และข้ามส่วนของแบบฝึกหัดนั้นไป ผู้สอนอาจให้ทำ�แบบฝึกหัด เพิ่มขึ้นตามเหมาะสม อาจใช้โปรแกรมสอบพิมพ์ที่สามารถออกโจทย์เองได้หากท่านเรียนด้วยคอมพิวเตอร์อย่างเดียว เนื่องจาก เครื่องพิมพ์ดีดปัจจุบันค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษาสูง หลายๆ วิทยาลัยอาจไม่สะดวกในการจัดหาเครื่องพิมพ์ดีดให้อีกต่อไป หาก ผู้สอนสนใจโปรแกรมสอบพิมพ์ สามารถติดต่อทางบริษัทได้ เพราะไม่มีภาระกับทางวิทยาลัยและผู้สอน เพียงแต่ห้องแล็ป คอมพิวเตอร์ของท่านต้องมีระบบเน็ทเวิร์ค ขอขอบคุณ ท่านอาจารย์ผู้สอน ผู้ประสาทวิชาความรู้ เอกสาร หนังสือที่ใช้ประกอบในการเรียบเรียงไว้ ณ โอกาสนี้

ชนธัญ วัฒนสุทธิ์


แบบประเมินความก้าวหน้าด้านการพิมพ์ วิชา พิมพ์ดีดอังกฤษเบื ้องต้น 2200-1007 ด้วายโปรแกรมสอนพิ มพ์ดีดมบนเครื แบบประเมิ นความก้ วหน้าด้านการพิ พ์ ่องคอมพิวเตอร์ วิชาพิมพ์อังกฤษด้วยคอมพิวเตอร์ 1 (2201-1011) ด้วยโปรแกรมสอนพิมพ์ดีดบนเครื�องคอมพิวเตอร์ ภาคการศึกษา ............. ปีการศึกษา ................... ชื�อ .......................................... สกุล .......................................... ระดับชั�น ................. เลขที� ......... ครั�งที� บทที� 10 10 9 1 1-2 >10 คํา 10 คํา 9 คํา

คะแนน (คิดจากความเร็ว คําต่อนาที ) 8 7 6 5 4 3 8 คํา

2

1

0

7 คํา

6 คํา

5 คํา

4 คํา

3 คํา

2 คํา

1 คํา

<1 คํา

>12 คํา 12 คํา 11 คํา 10 คํา 9 คํา

8 คํา

7 คํา

6 คํา

5 คํา

4 คํา

3 คํา

<3 คํา

>13 คํา 13 คํา 12 คํา 11 คํา 10 คํา 9 คํา

8 คํา

7 คํา

6 คํา

5 คํา

4 คํา

<4 คํา

11-18 >15 คํา 15 คํา 14 คํา 13 คํา 12 คํา 11 คํา 10 คํา 9 คํา

8 คํา

7 คํา

6 คํา

<6 คํา

19-23 >16 คํา 16 คํา 15 คํา 14 คํา 13 คํา 12 คํา 11 คํา 10 คํา 9 คํา

8 คํา

7 คํา

<7 คํา

24-28 >18 คํา 18 คํา 17 คํา 16 คํา 15 คํา 14 คํา 13 คํา 12 คํา 11 คํา 10 คํา 9 คํา

<9 คํา

ลงชื�อ 2

3-9 ลงชื�อ

3

10 ลงชื�อ

4

ลงชื�อ 5

ลงชื�อ 6

ลงชื�อ 29-31 >20 คํา 20 คํา 19 คํา 18 คํา 17 คํา 16 คํา 15 คํา 14 คํา 13 คํา 12 คํา 11 คํา <11 คํา 7

ลงชื�อ 32-33 >25 คํา 25 คํา 24 คํา 23 คํา 22 คํา 21 คํา 20 คํา 19 คํา 18 คํา 17 คํา 16 คํา <16 คํา

8

ลงชื�อ 34-36 >30 คํา 30 คํา 29 คํา 28 คํา 27 คํา 26 คํา 25 คํา 24 คํา 23 คํา 22 คํา 21 คํา <21 คํา

9

ลงชื�อ 37-39 >35 คํา 35 คํา 34 คํา 33 คํา 32 คํา 31 คํา 30 คํา 29 คํา 28 คํา 27 คํา 26 คํา <26 คํา

10

ลงชื�อ

รวม (เต็ม100)

ผล


แผนภูมแผนภู ิแสดงความก้ วหน้ ด้านการพิ มพ์ มิแสดงความก้า าวหน้ าด้าานการพิ มพ์

วิชา พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น 2200-1007 ด้วยโปรแกรมสอนพิมพ์ดีดบนเครื่องคอมพิวเตอร์

วิชาพิมพ์ไทยด้วยคอมพิวเตอร์ 1 (2201-1009) ด้วยโปรแกรมสอนพิมพ์ดีดบนเครื�องคอมพิวเตอร์ ภาคการศึกษา ............. ปีการศึกษา ................... ชื�อ .......................................... สกุล .......................................... ระดับชั�น ................. เลขที� ......... 80

70

60

50

40

30

20

10

0 NWAM ครั�งที�

1

2

3

4

5

6

7

8

9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26

NWAM คือ คําสุทธิต่อนาที


แผนการจัดการเรียนรู้

วิชา พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น 2200-1007 ด้วยโปรแกรมสอนพิมพ์ดีดบนเครื่องคอมพิวเตอร์ สัปดาห์ที่

หน่วย

คาบ

เนื้อหา

สัปดาห์ที่

หน่วย

คาบ

เนื้อหา

#1

1

คาบที่ 1

หลักการพิมพ์อังกฤษแบบสัมผัส

#6

6

คาบที่ 17

บผหพ.ด้วยเครื่องที่ 6.1.-6.3

คาบที่ 18

บผหพ.ด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 6.1.-6.3

คาบที่ 19

บผหพ.ด้วยเครื่องที่ 7.1.-7.3

หลักการพิมพ์อังกฤษด้วยเครื่องพิมพ์ดีด ประวัติความเป็นมาของเครื่องพิมพ์ดีดสากล

คาบที่ 2

7

การพับผ้าคลุมเครื่องพิมพ์ดีด

คาบที่ 20

ส่วนใช้งานของเครื่องพิมพ์ดีด

คาบที่ 21

บผหพ.ด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 7.1.-7.3

คาบที่ 22

บผหพ.ด้วยเครื่องที่ 8.1.-8.4

การใส่กระดาษ

#8

8

การกั้นหน้าและกั้นหลัง

คาบที่ 23

การใช้งานส่วนใช้งานอื่นๆ

คาบที่ 24

บผหพ.ด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 8.1-8.4

คาบที่ 25

บผหพ.ด้วยเครื่องที่ 9.1-9.3

ท่านั่งพิมพ์ดีด

#9

9

การวางนิ้วและการเคาะแป้น

คาบที่ 26

การคำ�นวณความเร็วในการพิมพ์ดีดด้วยเครื่อง

คาบที่ 27

บผหพ.ด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 9.1-9.3

คาบที่ 28

บผหพ.ด้วยเครื่องที่ 10.1-10.4

บผหพ.ด้วยเครื่องที่ 1.1-1.4 คาบที่ 3

#7

#10

10

หลักการพิมพ์อังกฤษด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์

คาบที่ 29

ประวัติของการฝึกพิมพ์ด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์

คาบที่ 30

บผหพ.ด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 10.1-10.4

คาบที่ 31

บผหพ.ด้วยเครื่องที่ 11.1-11.4

การใช้โปรแกรมพิมพ์สัมผัส

#11

11

การใช้งานปุ่มอื่น ปุ่ม Function

คาบที่ 32

การสร้างทักษะการพิมพ์เร็วและแม่นยำ� การคำ�นวณความเร็วในการพิมพ์ดีดด้วย คอมพิวเตอร์

#12

12

2

คาบที่ 4

การดูแลรักษาเครื่องพิมพ์ดีด

คาบที่ 5

บผหพ.ด้วยเครื่องที่ 2.1-2.3

คาบที่ 6

การพิมพ์อังกฤษด้วยโปรแกรมประมวลผลคำ� การใช้งาน Microsoft Word เบื้องต้น ส่วนประกอบและเทคนิคอื่นๆ

#13

13

#3

3

คาบที่ 7

บผหพ.ด้วยเครื่องที่ 3.1-3.3

#14

14

#4

4

บผหพ.ด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 3.1-3.3

คาบที่ 10

บผหพ.ด้วยเครื่องที่ 4.1-4.3

#15

15

#5

5

บผหพ.ด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 4.1-4.3

คาบที่ 13

บผหพ.ด้วยเครื่องที่ 5.1-5.10

#16

16

#6

6

บผหพ.ด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 5.1-5.10

คาบที่ 16

บผหพ.ด้วยเครื่องที่ 6.1-6.4

บผหพ.ด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 12.1-12.4

คาบที่ 37

บผหพ.ด้วยเครื่องที่ 13.1-13.4

คาบที่ 39

บผหพ.ด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 13.1-13.4

คาบที่ 40

บผหพ.ด้วยเครื่องที่ 14.1-14.2

คาบที่ 42

บผหพ.ด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 14.1-14.2

คาบที่ 43

บผหพ.ด้วยเครื่องที่ 15.1-15.4

คาบที่ 45

บผหพ.ด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 15.1-15.4

คาบที่ 46

บผหพ.ด้วยเครื่องที่ 16.1-16.4

คาบที่ 47 #17

17

คาบที่ 48

บผหพ.ด้วยคอมพิวเตอร์ที่16.1-16.4

คาบที่ 49

บผหพ.ด้วยเครื่องที่ 17.1-17.4

คาบที่ 50

คาบที่ 14 คาบที่ 15

คาบที่ 36

คาบที่ 44

คาบที่ 11 คาบที่ 12

บผหพ.ด้วยเครื่องที่ 12.1-12.4

คาบที่ 41

คาบที่ 8 คาบที่ 9

คาบที่ 34

คาบที่ 38

การดูและรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์ บผหพ.ด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 2.1-2.3

บผหพ.ด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 11.1-11.4

คาบที่ 35

บผหพ.ด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 1.1-1.4 #2

คาบที่ 33

#18

18

คาบที่ 51

บผหพ.ด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 17.1-17.4

คาบที่ 52

บผหพ.ด้วยเครื่องที่ 18.1-18.5

คาบที่ 53 คาบที่ 54

บผหพ.ด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 18.1-18.5


สารบัญ หน่วยที่ 1 13 หลักการพิมพ์อังกฤษแบบสัมผัส 13 คาบที่ 1 14 หลักการพิมพ์อังกฤษด้วยเครื่องพิมพ์ดีด 14 ประวัติความเป็นมาของเครื่องพิมพ์ดีดสากล 14 การพับผ้าคลุมเครื่องพิมพ์ดีด 15 การลบคำ�ผิด 15 แบบฝึกหัดที่ 1.1 ฝึกการพับผ้าคลุมเครื่องพิมพ์ดีด 16 คาบที่ 2 16 ส่วนใช้งานของเครื่องพิมพ์ดีด 16 การใส่กระดาษ 18 แบบฝึกหัดที่ 1.2 การฝึกใส่กระดาษ 18 การกั้นหน้าและกั้นหลัง 19 แบบฝึกหัดที่ 1.3 การฝึกตั้งกั้นหน้าและกั้นหลัง 20 การใช้งานส่วนใช้งานอื่นๆ 20 ท่านั่งพิมพ์ดีด 21 การวางนิ้วและการเคาะแป้น 22 การคำ�นวณความเร็วในการพิมพ์ดีดด้วยเครื่อง 23 การคำ�นวณคำ�สุทธิต่อนาที (คสตน.) 23 กฏระเบียบในการพิมพ์จับเวลา 23 การตรวจคำ�ผิด 24 คาบที่ 5 29 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดเครื่องหน่วยที่ 1 (ต่อ) 29 คาบที่ 3 30 หลักการพิมพ์อังกฤษด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ 30 ประวัติการฝึกพิมพ์ด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ 30 การใช้โปรแกรมพิมพ์สัมผัส 31 การเปิดโปรแกรมจากแผ่นซีดี 31 วิธีการทำ�งาน 32 แถบปุ่มกลมด้านบน 32 แถบปุ่มสี่เหลี่ยมยาวด้านซ้ายมือ 33 ลักษณะการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ถูกสุขลักษณะ 35 การวางนิ้วบนแป้นเหย้าคียบอร์ด 36 การก้าวนิ้ว 37 การใช้งานปุ่มอื่นๆ 38 การใช้งานปุ่ม Fuction 39 การสร้างทักษะการพิมพ์เร็วและแม่นยำ� 40 การคำ�นวณความเร็วในการพิมพ์คอมพิวเตอร์ภาษาไทย 41 บรรณานุกรม 48 หน่วยที่ 2 49 การบำ�รุงรักษาเครื่องพิมพ์ดีดและคอมพิวเตอร์/การใช้โปรแกรม Word 49 คาบที่ 4 50 การดูและรักษาเครื่องพิมพ์ดีด 50 การดูแลรักษาประจำ�วัน 50 การบำ�รุงรักษาประจำ�สัปดาห์ 50

การบำ�รุงรักษาประจำ�เดือน การบำ�รุงรักษาประจำ�ปี ข้อควรระวังในการใช้เครื่องพิมพ์ดีด

51 51 51 คาบที่ 5 52 คาบที่ 6 55 การพิมพ์อังกฤษด้วยโปรแกรมประมวลผลคำ� 55 โปรแกรมประมวลผลคำ� 55 โปรแกรมประมวลผลคำ�ในยุคเริ่มต้น 55 โปรแกรม Microsoft Word 56 โปรแกรม OpenOffice.org 57 โปรแกรม Google Docs: Document 57 การใช้งาน Microsoft Word เบื้องต้น 58 การเปิดโปรแกรม 58 ส่วนประกอบของแถบเครื่องมือในโปรแกรมชุด Word 2010 58 แท็บ File 60 การใช้แถบเครื่องมือเบื้องต้น (Ribbon) 63 แท็บ Home 63 การเปลี่ยนตัวใหญ่/เล็ก (Change Case) 66 สัญลักษณ์ที่มองไม่เห็น 66 เมนู การตั้งค่ารูปแบบย่อหน้า (Paragraph) 66 เมนูการจัดรูปแบบ (Style) 67 เมนูจัดการ (Editing) 68 แท็บ Insert 68 เมนู Pages (แทรกหน้า) 69 เมนู Tables (แทรกตาราง) 69 การใช้ Insert Table 69 การใช้ Convert Text to Table... 70 เมนู Illustration (แทรกรูปประกอบ) 70 การแทรกรูปวาด (Insert Shapes) 71 เมนู Header&Footer (แทรกหัวกระดาษท้ายกระดาษ) 71 เมนู Text (แทรกข้อความ) 71 เมนู Symbols (แทรกสัญลักษณ์) 72 แท็บ Page Layout 72 เมนู Page Setup (ตั้งค่าหน้ากระดาษ) 72 ส่วนประกอบและเทคนิคอื่นๆ 73 การเปลี่ยนหน่วยไม้บรรทัด 73 การกั้นหน้าและกั้นหลัง 74 การเปลี่ยนค่าเริ่มต้นของระยะแท็บหยุดตั้งต้น 74 การกดปุ่มลัดบนคีย์บอร์ด (Keyboard Shortcuts) 75 การดูและรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์ 75 การจัดสภาพแวดล้อม 75 การทำ�ความสะอาด 76 การใช้งานเพื่อยืดอายุการใช้งาน 77

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 8


หน่วยที่ 3 การพิมพ์อักษรแป้น R O H , คาบที่ 7 คาบที่ 8 คาบที่ 9 หน่วยที่ 4 การพิมพ์อักษรแป้น T C I M : คาบที่ 10-11 คาบที่ 12 หน่วยที่ 5 การทบทวนแป้นที่เรียนมา คาบที่ 13-14 คาบที่ 15 หน่วยที่ 6 การพิมพ์อักษรแป้น W V Y P คาบที่ 16 คาบที่ 17 คาบที่ 18 หน่วยที่ 7 การพิมพ์อักษรแป้น Q N X / คาบที่ 19 คาบที่ 20 คาบที่ 21 หน่วยที่ 8 การพิมพ์แป้นอักษร B ? Z - คาบที่ 22 คาบที่ 23 คาบที่ 24 หน่วยที่ 9 การพิมพ์อักษรแป้น 1 2 3 4 คาบที่ 25 คาบที่ 26 คาบที่ 27 หน่วยที่ 10 การพิมพ์อักษรแป้น 7 8 9 0 คาบที่ 34 คาบที่ 35 คาบที่ 30 หน่วยที่ 11 การพิมพ์อักษรแป้นตัวเลข 5 6 คาบที่ 31 คาบที่ 32 คาบที่ 33 หน่วยที่ 12 ทบทวนตัวเลข ฝึกทักษะการพิมพ์ตัวเลข คาบที่ 34 คาบที่ 35 คาบที่ 36

82 82 83 86 87 91 91 92 96 100 100 101 105 109 109 110 113 114 118 118 119 121 122 126 126 127 129 131 135 135 136 139 140 143 143 144 146 147 151 151 152 154 155 158 158 159 160 162

หน่วยที่ 13 การพิมพ์อักษรแป้น ( ) # คาบที่ 37 คาบที่ 38 คาบที่ 39 หน่วยที่ 14 การพิมพ์อักษรแป้น $ & % คาบที่ 40-41 คาบที่ 42 หน่วยที่ 15 การพิมพ์อักษรแป้น + = ' " คาบที่ 43 คาบที่ 44 คาบที่ 45 หน่วยที่ 16 การพิมพ์อักษรแป้น @ * คาบที่ 46 คาบที่ 47 คาบที่ 48 หน่วยที่ 17 การพัฒนาความเร็วในการพิมพ์ 1 คาบที่ 49 คาบที่ 50 คาบที่ 51 หน่วยที่ 18 การพัฒนาความเร็วในการพิมพ์ 2 คาบที่ 52 คาบที่ 53 คาบที่ 51

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 9

165 165 166 168 169 173 173 174 177 181 181 182 185 187 192 192 193 195 197 201 201 202 204 206 210 210 211 215 221


สารบัญแบบฝึกหัดพิมพ์ หน่วยที่ 1 คาบที่ 1 คาบที่ 2 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดเครื่องที่ 1.1 คาบที่ 5 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดเครื่องที่ 1.2 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดเครื่องที่ 1.3 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดเครื่องที่ 1.4 คาบที่ 3 แบบฝึกหัดการพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 1.1 แบบฝึกหัดการพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 1.2 แบบฝึกหัดการพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 1.3 แบบฝึกหัดการพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 1.4 หน่วยที่ 2 คาบที่ 4 คาบที่ 5 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 2.1 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 2.2 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 2.3 คาบที่ 6 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 2.1 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 2.2 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 2.3 หน่วยที่ 3 คาบที่ 7 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 3.1 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 3.2 คาบที่ 8 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 3.3 คาบที่ 9 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 3.1 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 3.2 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 3.3 หน่วยที่ 4 คาบที่ 10-11 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 4.1 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 4.2 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 4.3 คาบที่ 12 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 4.1 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 4.2 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 4.3 หน่วยที่ 5 คาบที่ 13-14 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 5.1 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 5.2

28 29 29 29 46 47 47 48

53 54 54 80 81 81 85 85 86 89 89 90 94 94 95 98 98 99 101 101

แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 5.3 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 5.4 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 5.5 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 5.6 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 5.7 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 5.8 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 5.9 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 5.10 คาบที่ 15 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 5.1 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 5.2 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 5.3 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 5.4 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 5.5 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 5.6 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 5.7 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 5.8 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 5.9 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 5.10 หน่วยที่ 6 คาบที่ 16 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 6.1 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 6.2 คาบที่ 17 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 6.3 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 6.4 คาบที่ 18 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 6.1 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 6.2 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 6.3 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 6.4 หน่วยที่ 7 คาบที่ 19 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 7.1 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 7.2 คาบที่ 20 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 7.3 คาบที่ 21 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 7.1 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 7.2 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 7.3 หน่วยที่ 8 คาบที่ 22 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 8.1 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 8.2

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 10

102 102 103 103 103 104 104 104 105 105 106 106 106 107 107 107 108 108 112 112 113 113 115 116 117 117 120 121 121 124 124 125 128 129


คาบที่ 23 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 8.3 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 8.4 คาบที่ 24

129 130

แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 8.1 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 8.2 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 8.3 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 8.4 หน่วยที่ 9 คาบที่ 25 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 9.1 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 9.2 คาบที่ 26 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 9.3 คาบที่ 27 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 9.1 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 9.2 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 9.3 หน่วยที่ 10 คาบที่ 34 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 10.1 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 10.2 คาบที่ 35 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 10.3 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 10.4 คาบที่ 30 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 10.1 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 10.2 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 10.3 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 10.4 หน่วยที่ 11 คาบที่ 31 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 11.1 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 11.2 คาบที่ 32 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 11.3 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 11.4 คาบที่ 33 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 11.1 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 11.2 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 11.3 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 11.4 หน่วยที่ 12 คาบที่ 34 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 12.1 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 12.2 คาบที่ 35 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 12.3 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 12.4

132 133 133 134 137 138 139 141 142 142 145 146 146 147 149 149 150 150 153 153 154 154 156 156 157 157 159 159 160 161

คาบที่ 36 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 12.1 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 12.2 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 12.3 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 12.4 หน่วยที่ 13 คาบที่ 37 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 13.1 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 13.2 คาบที่ 38 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 13.3 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 13.4 คาบที่ 39 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 13.1 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 13.2 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 13.3 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 13.4 หน่วยที่ 14 คาบที่ 40-41 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 14.1 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 14.2 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 14.3 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 14.3 คาบที่ 42 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 14.1 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 14.2 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 14.3 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 14.4 หน่วยที่ 15 คาบที่ 43 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 15.1 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 15.2 คาบที่ 44 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 15.3 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 15.4 คาบที่ 45 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 15.1 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 15.2 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 15.3 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 15.4 หน่วยที่ 16 คาบที่ 46 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 16.1 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 16.2 คาบที่ 47 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 16.3 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 16.4 คาบที่ 48 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 16.1

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 11

162 162 163 164 167 167 168 168 170 171 171 172 175 176 176 176 179 179 180 180 184 184 185 186 189 189 190 191 194 194 195 196 198


แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 16.2 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 16.3 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 16.4 หน่วยที่ 17 คาบที่ 49 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 17.1 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 17.2 คาบที่ 50 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 17.3 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 17.4 คาบที่ 51 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 17.1 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 17.2 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 17.3 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 17.4 หน่วยที่ 18 คาบที่ 52 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 18.1 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 18.2 คาบที่ 53 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 18.3 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 18.4 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 18.5 คาบที่ 51 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 18.1 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 18.2 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 18.3 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 18.4 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 18.5

198 199 200 202 203 204 205 206 207 208 209 211 213 215 217 219 221 223 225 227 229

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 12


หน่วยที่ 1

หลักการพิมพ์อังกฤษแบบสัมผัส

วัตถุประสงค์เพื่อให้

1. เรียนรู้ประวัติความเป็นมาของเครื่องพิมพ์ดีดสากล โปรแกรมฝึกพิมพ์ด้วย คอมพิวเตอร์ และโปรแกรมประมวลผลคำ� 2. ศึกษาและมีทักษะในการใช้งานเครื่องพิมพ์ดีด 3. ศึกษาและมีทักษะในการคำ�นวณความเร็วในการพิมพ์ด้วยเครื่องและด้วย คอมพิวเตอร์ 4. ศึกษาและมีทักษะในการพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์และโปรแกรมประมวลผล คำ�เบื้องต้น 5. ศึกษาและมีทักษะในการดูแลรักษาเครื่องพิมพ์ดีดและเครื่องคอมพิวเตอร์

สมรรถนะ

1. สามารถอธิบายประวัติความเป็นมาของเครื่องพิมพ์ดีดสากล โปรแกรมฝึกพิมพ์ ด้วยคอมพิวเตอร์ และโปรแกรมประมวลผลคำ� 2. สามารถพับผ้าคลุมเครื่องได้อย่างเป็นระเบียบ 3. สามารถบอกชื่อและใช้งานส่วนต่างๆ ของเครื่องพิมพ์ดีดได้ 4. สามารถใส่กระดาษเข้าในเครื่องพิมพ์ดีดได้อย่างถูกต้อง 5. สามารถตั้งกั้นหน้าและกั้นหลังได้ 6. นั่งพิมพ์ด้วยลักษณะที่ถูกต้อง 7. วางนิ้วและเคาะนิ้วบนแป้นได้อย่างถูกต้อง 8. วางนิ้วบนแป้นเหย้าได้ถูกต้อง 9. สามารถคำ�นวณความเร็วในการพิมพ์ด้วยเครื่องและด้วยคอมพิวเตอร์ได้ 10. ดูแลรักษาเครื่องพิมพ์ดีดและเครื่องคอมพิวเตอร์ได้

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 13


คาบที่ 1 หลักการพิมพ์อังกฤษด้วยเครื่องพิมพ์ดีด ประวัติความเป็นมาของเครื่องพิมพ์ดีดสากล มร.เฮนรี่ มิล Henry Mill วิศวกรชาวอังกฤษ เป็นผู้คิดค้น เครื่องพิมพ์ดีดเป็นคนแรก ได้จดสิทธิบัตรในการคิดค้นเมื่อปีพ.ศ. 2257 (ค.ศ.1714) แต่เครื่องพิมพ์ดีดของมร.เฮนรี่นั้นไม่ได้มีหลัก ฐานพิสูจน์ว่ามีการผลิตหรือใช้งานได้แต่อย่างใด หลักฐานที่เชื่อ ได้ว่ามีการใช้เครื่องพิมพ์ดีดที่ทำ�งานได้จริงๆ นั้นเป็นของ มร.เพ อลิกริโน เธอริ (Pellegrino Turri) ชาวอิตตาเลี่ยน ได้ประดิษฐ์ เครื่องพิมพ์ดีดขึ้นมาในปีพ.ศ. 2351 (ค.ศ. 1808)สำ�หรับเพื่อน ของเขาที่เป็นผู้พิการทางสายตา เคาน์เตส แครอไลน่า ฟานโตนิ ดา ฟิวิซซาโน่ (Countess Carolina Fantoni da Fivizzano) แม้ไม่มีรูปของเครื่องพิมพ์ดีดของเขาว่าเป็นอย่างไร แต่จะพบหลักฐานได้จากเอกสารที่พบ นอกจากนี้ เขายังได้คิดค้นประดิษฐ์กระดาษคาร์บอนเพื่อใช้สำ�หรับเครื่องพิมพ์ดีดของเขาอีกด้วย เครื่ อ งพิ ม พ์ ดี ด ที่ มี ห ลั ก ฐานการคิ ด ค้ น สมบู ร ณ์ ก ว่ า นั้นได้แก่เครื่องพิมพ์ดีดของ มร.วิลเลี่ยม ออสติน เบิร์ท (William Austin Burt) ซึ่งเรียกว่า “Typographer” (อ่านว่า ไท-โป-กรา-เฟ่อ) แต่ก็ยังพิมพ์ได้ช้ากว่าการ เขียนด้วยมือมาก จากนั้นก็มีการคิดค้นเครื่องพิมพ์ดีด จากนักประดิษฐ์มากมาย แต่ที่เข้าสู่กระบวนการผลิต ออกมาเพื่อการค้าได้นั้นเป็นการคิดค้นในปีพ.ศ. 2411 (ค.ศ. 1868) โดย Christopher Latham Sholes, Carlos Glidden and Samuel W. Soule ชาวอเมริกัน เมืองมิลวอค์กี้ รัฐวิสคอนซิน และถูกขายสิทธิบัตรให้แก่ Densmore and Yost จากนั้นได้ถูกทำ�สัญญาให้ E. Remington and Sons ผู้ผลิตจักรเย็บผ้าชื่อดังในสมัย นั้นทำ�การผลิตออกมาในชื่อ Sholes and Glidden Type-writer ซึ่งเป็นที่มาของคำ�ว่า typewriter ในภาษาอังกฤษซึ่งมีแป้นอักษรในแบบ QWERTY ระบบแป้นนี้ไม่ได้เป็นที่นิยมในทันที มีแป้นพิมพ์ หลากหลายแบบในขณะนั้น แต่แบบแป้นพิมพ์นี้ค่อยๆ เป็นที่นิยมในภายหลัง ต่อมาก็มีการคิดค้นการ วางแป้นแบบอื่นๆ เช่นแป้นพิมพ์ DVORAK ที่ออกแบบเพื่อประสิทธิภาพสูงสุด แต่น่าเสียดายไม่เป็น ที่นิยมเท่า QWERTY เพราะแป้น QWERTY เป็นที่นิยมไปมากแล้ว พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 14


การพับผ้าคลุมเครื่องพิมพ์ดีด สิ่งแรกที่นักศึกษาจะได้เจอเมื่อเริ่มเรียนวิชาพิมพ์ดีดคือ ผ้าคลุมเครื่อง ซึ่งลักษณะนิสัยในการ พับผ้าคลุมเครื่องและเก็บให้เป็นระเบียบเรียบร้อยจะทำ�ให้ผ้าคลุมเครื่องอยู่ในสภาพดี สะอาด และ ไม่สูญหาย อีกทั้งยังแสดงถึงนิสัยความเป็นระเบียบแก่ผู้พบเห็น โดยเฉพาะเมื่อไปสมัครงานที่ต้อง ทดสอบกับเครื่องพิมพ์ดีด ขั้นตอนในการพับผ้าคลุมเครื่อง 1. จับมุมของผ้าคลุมเครื่องด้านที่ห่างตัวที่สุดแล้วดึงขึ้นออกจากเครื่องช้าๆ แล้ววางหงายบนเครื่อง หรือโต๊ะราบ 2. พับผ้าด้านข้างที่อยู่ระหว่างสองมุมบนเข้า 3. พับผ้าด้านข้างซ้ายและขวาเข้า ให้ตั้งฉากกับด้านบน

4. พับส่วนที่เหลือด้านล่างขึ้นไปให้ทั้งหมดกลายเป็นสี่เหลี่ยมผืนผ้า 5. แบ่งสี่เหลี่ยมผืนผ้าเป็นสามส่วน 6. ทบสองครั้ง แล้วนำ�ผ้าคลุมเครื่องเก็บในลิ้นชักหรือด้านข้างของเครื่องพิมพ์ดีด

การลบคำ�ผิด เมื่อต้องการจะลบคำ�ที่พิมพ์ผิด ให้หมุนลูกบิดจนคำ�เลื่อนไปอยู่ขบนแท่นรองลบ และเลื่อนแคร่ไป ทางซ้ายหรือขวาจนคำ�ที่ต้องการลบพ้นแนวตัวเครื่อง พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 15


แบบฝึกหัดที่ 1.1 ฝึกการพับผ้าคลุมเครื่องพิมพ์ดีด 1. ให้นักศึกษาฝึกฝนพับผ้าตั้งแต่ขั้นตอนแรกทีละขั้นตอน จนถึงขั้นตอนสุดท้าย 3-4 ครั้ง หรือ จนกว่าจะเริ่มคล่อง 2. ให้นักศึกษาแข่งขันกันพับผ้าคลุมเครื่องพิมพ์ดีด เมื่อผู้ใดพับเสร็จ ให้ยกมือขึ้น

คาบที่ 2 ส่วนใช้งานของเครื่องพิมพ์ดีด

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 16


ส่วนใช้งานของเครื่องพิมพ์ดีดประกอบด้วย 1. ตัวเครื่องพิมพ์ดีด 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5

กระโปรงล่าง หรือแท่นรองเครื่อง (Settlment) กระโปรงเครื่องพิมพ์ดีด (Body Cover) ฝาครอบเครื่องพิมพ์ดีด (Top Cover) แผงระดับบรรทัด ซ้าย-ขวา และรูตีเส้นในเครื่องพิมพ์ (Line Spacer Level) คันยกแคร่ออก (ต้องเปิดฝาออกดูจึงเห็นอยู่ขวามือข้างแกนผ้าหมึก) (Platen Level Knobs)

2. แคร่เครื่องพิมพ์ดีด

2.1 ด้ามปัดระยะบรรทัด (Line Spacer) 2.2 ปุ่มปรับบรรทัด (Variable Line Spacer) 2.3 ปุ่มบิดลูกยาง ใส่-ถอด กระดาษซ้ายและขวา (Paper Insert Knobs) 2.4 ปุ่มปลดแคร่ หรือปุ่มเลื่อนแคร่ซ้ายและขวา (Platen Release) 2.5 คันตั้งระยะบรรทัด (Line Space Settle) 2.6 คันปลดระยะบรรทัด (Line Spacer Release) 2.7 แผงนำ�กระดาษ (Paper Guide) 2.8 ปุ่มกั้นหน้า (Left Margin) 2.9 คานลูกยางทับกระดาษ (Paper Bail with Bail Rolls) 2.10 ปุ่มกั้นหลัง (Right Margin) 2.11 แผงรองลบคำ�ผิด (Erasing Table) 2.12 คันคลายลูกยางหนีบกระดาษ (Paper Release)

3. แป้นเครื่องพิมพ์ดีด

3.1 แป้นตั้งระยะ (Tab Set) 3.2 แป้นปลดกั้นหน้า-หลัง ของตัวอักษร (Margin Release) 3.3 แป้นค้างแคร่อักษรบน (Shift Lock) 3.4 คันปรับน้ำ�หนักการพิมพ์ (Touch Control) 3.5 แป้นยกแคร่อักษรบนซ้าย-ขวา (Shift Key) 3.6 คานเคาะวรรค (Space Bar) 3.7 คันปรับผ้าหมึก (Ribbon Adjuster Knob) 3.8 แป้นถอยหลัง (Back Space) 3.9 แป้นลบระยะ (Tab Clear) 3.10 คานเรียกระยะ (Tabulator)

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 17


การใส่กระดาษ 1. จับกระดาษพิมพ์และกระดาษรองพิมพ์ซ้อนให้เสมอกัน (ตอกหัวกระดาษเข้ากับโต๊ะเพื่อให้ขอบ ทั้งสี่ด้านเสมอกัน) 2. นำ�กระดาษจ่อที่ช่องใส่กระดาษด้วยมือซ้าย แล้วใช้มือขวาหมุนปุ่มบิดลูกยางตามเข็มนาฬิกาหรือ ออกจากตัวเพื่อหมุนกระดาษเข้า 3. หมุนไปจนกระทั่งหัวกระดาษโผล่ขึ้นมาที่หน้าลูกยาง ถ้าหัวกระดาษโผล่เหนือคานทับลูกยางให้ ยกคานทับลูกยางออกทับบนกระดาษให้เรียบร้อย แล้วหมุนกระดาษขึ้นจนเสมอท้ายกระดาษ ด้านหลัง 4. ใช้มือขวาโยกคันคลายลูกยางหนีบกระดาษเข้าหาตัว เพื่อคลายแรงกดต่อกระดาษทำ�ให้นักศึกษา สามารถขยับกระดาษได้ 5. ใช้มือซ้ายจับกระดาษด้านหลังที่สอดเข้า และใช้มือขวาจับกระดาษด้านหน้าที่โผล่ขึ้นมา แล้วปรับ ระยะให้ขอบด้านซ้ายของกระดาษเสมอกัน 6. ใช้มือขวาละไปผลักคันคลายลูกยางหนีบกระดาษลงเหมือนเดิม

แบบฝึกหัดที่ 1.2 การฝึกใส่กระดาษ 1. ให้นักศึกษาฝึกการใส่กระดาษ เริ่มตั้งแต่ขั้นตอนแรกจนถึงขั้นตอนสุดท้าย 3-4 รอบ 2. ให้นักศึกษาแข่งกันใส่กระดาษ โดยครูผู้สอนขานเวลาทุกวินาที เมื่อผู้ใดเสร็จให้ยกมือขึ้น ทำ�การ แข่งขัน 3-4 รอบ หรือจนกว่าจะใส่กระดาษจนคล่อง

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 18


การกั้นหน้าและกั้นหลัง การกั้นหน้าและกั้นหลังนั้นควรทำ�ให้เป็นนิสัยเมื่อใส่กระดาษเสร็จ เพราะจะทำ�ให้งานที่พิมพ์เป็น ระเบียบเรียบร้อยสวยงาม โดยมีขั้นตอนดังนี้

การกั้นหน้า 1. เลื่อนปุ่มกั้นหน้ามาจนพ้นริมกระดาษด้านซ้าย 2. ใช้หัวแม่มือข้างใดข้างหนึ่งกดปุ่มปลดแคร่ ระวังแคร่จะเลื่อนจากซ้ายไปขวาอย่างรวดเร็ว จึงต้อง จับให้มั่น เลื่อนแคร่มาจนกระทั่งริมกระดาษด้านซ้ายตรงกับ “ตำ�แหน่งของเครื่อง” (อยู่ด้านบน ของกระจาดก้านอักษร ก้านอักษรทุกก้านจะต้องตีผ่านช่องนี้ลงบนกระดาษเพื่อควบคุมตำ�แหน่ง ที่แม่นยำ�ของตัวอักษร) 3. เคาะคานเว้นวรรคไปตามจำ�นวนที่ต้องการกั้นหน้า เช่น 15 เคาะ 4. เลื่อนปุ่มกั้นหน้ากลับมาทางขวามือจนกระทั้งเลื่อนไปไม่ได้อีก เพราะจะติด ”ตำ�แหน่งของ เครื่อง”

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 19


การกั้นหลัง การกั้นหลังจมีหรือไม่มีก็ได้ขึ้นกับความถนัดของผู้พิมพ์เมื่อมีประสบการณ์แล้ว สามารถทำ�ได้ดังนี้ 1. หลังจากตั้งกั้นหน้าแล้ว ปลดกั้นหลังไปพ้นริมกระดาษขวามือ 2. เคาะคานเคาะวรรคไปตามจำ�นวนที่ต้องการในแต่ละย่อหน้า เช่น 50 เคาะ หรือ ตัวอักษรเดิน 3. เลื่อนกั้นหลังกลับมาทางซ้ายจนเลื่อนไปไม่ได้อีก (คล้ายกับการตั้งกั้นหน้า)

แบบฝึกหัดที่ 1.3 การฝึกตั้งกั้นหน้าและกั้นหลัง 1. ให้นักศึกษาฝึกตั้งกั้นหน้าและกั้นหลังโดยให้ตั้งกั้นหน้าที่ระยะ 20 เคาะ และกั้นหลังที่ 50 เคาะ โดยทำ�ตามคำ�สั่งผู้สอนทีละขั้นตอน 2-3 รอบ

การใช้งานส่วนใช้งานอื่นๆ คันตั้งระยะบรรทัด คั้นตั้งระยะบรรทัดมีไว้เพื่อกำ�หนดระยะความห่างระหว่างบรรทัดต่อบรรทัด โดยส่วนใหญ่ เครื่องพิมพ์ดีดมักมีระยะบรรทัดให้เลือก 3 ระดับ และนิยมใช้ระยะบรรทัดคู่ในภาษาไทย หรือระดับ ที่ 2

ด้ามปัดระยะบรรทัด ใช้สำ�หรับเมื่อต้องการขึ้นบรรทัดใหม่ ใช้มือซ้ายปัดด้ามจะรู้สึกถึงเฟืองของเครื่อง ปัดให้สุดเพื่อให้ ได้ระยะบรรทัดคงที่เสมอ เทคนิคการปัดระยะบรรทัด เพื่อให้มีความรวดเร็วมากขึ้นและเพิ่มขีดความสามารถ นักศึกษาจึงควรจะต้องมีเทคนิคการปัด ระยะบรรทัดดังต่อไปนี้ 1. แบมือซ้ายออกแล้วใช้ด้านข้างของนิ้วชี้เป็นตัวปัดด้าม แต่ไม่จับด้ามปัด 2. ปัดด้ามและลากแคร่ไปพร้อมๆ กัน อย่าปัดแล้วจึงลากแคร่ ทำ�ให้เสียเวลา 3. ปัดจนแคร่เลื่อนไปติดกั้นหน้า แต่ระวังอย่าใช้แรงมากเกินไปจะทำ�ให้แคร่ค้างติดกั้นหน้า

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 20


แป้นถอยหลัง อาจอยู่ซ้ายมือหรือขวามือก็ได้แล้วแต่ยี่ห้อและรุ่นของเครื่องพิมพ์ดีด ใช้สำ�หรับการพิมพ์ที่พิมพ์ แล้วไม่ติด (เรียกว่า “พิมพ์เสียจังหวะ”) แต่แคร่เลื่อนไป หรือพิมพ์ติดแต่ไม่ชัดเจน จึงต้องใช้แป้นถอย หลังเพื่อกลับมายังจุดที่ต้องการ เทคนิคคือจะต้องกดให้สุดในแต่ละครั้งจะทำ�ให้ตำ�แหน่งคลาดเคลื่อน

แป้นปลดกั้นหน้า-กั้นหลัง หรือขอตัวอักษร ใช้สำ�หรับกรณีต้องการพิมพ์เลยกั้นหน้าหรือกั้นหลัง ให้กดแป้นนี้แล้วจะสามารถพิมพ์ได้ มิเช่นนั้น กั้นหน้ากั้นหลังจะทำ�หน้าที่กั้นไม่ให้พิมพ์เลยออกไปได้

คันปรับผ้าหมึก ใช้สำ�หรับปรับผ้าหมึกในกรณีที่ผ้าหมึกขึ้นหรือไม่ขึ้นตามต้องการ หากปรับไม่ขึ้นสามารถใช้พิมพ์ กระดาษไขสำ�หรับเครื่องโรเนียวได้ (ดังนั้นบางครั้งพิมพ์บนลงกระดาษธรรมดาแล้วไม่ติด อาจเป็น เพราะลืมปรับผ้าหมึกเพราะก่อนหน้านั้นใช้พิมพ์กระดาษไข มิใช่เครื่องพิมพ์ดีดเสีย)

คันปรับน้ำ�หนักการพิมพ์ ใช้สำ�หรับปรับความหนักเบาเมื่อกดแป้นพิมพ์ตัวอักษร โดยมากจะอยู่ด้านล่างขวาสุดของแป้นตัว อักษร หรือบางครั้งต้องเปิดฝาครอบเครื่องขึ้นมาก่อนจึงจะเห็น ส่วนมากใช้สัญลักษณ์ บวก-ลบ หาก เป็นบวกจะพิมพ์หนักหรือหนืด สำ�หรับพิมพ์มีสำ�เนา 3-4 แผ่น หากเป็นลบจะพิมพ์เบา

ท่านั่งพิมพ์ดีด 1. นั่งตัวตรง เลื่อนเก้าอี้ให้ลำ�ตัวห่างจากเครื่องประมาณ 1 คืบ หลังทาบกับพนักพิงเล็กน้อย 2. ข้อศอกวางทาบไว้ข้างลำ�ตัว 3. เท้าทั้งสองข้างวางราบกับพื้น 4. หันหน้าไปทางแบบพิมพ์ทางขวามือ

ข้อดีของการนั่งพิมพ์ที่ถูกวิธี 1. 2. 3. 4.

นั่งตัวตรงช่วยลดอาการปวดหลังที่เกิดจากการนั่งเป็นเวลานาน ข้อศอกวางทาบข้างลำ�ตัวทำ�ให้กล้ามเนื้อไหล่ไม่ทำ�งานมากเกินไป เท้าวางราบกับพื้นทั้งสองข้างช่วยรับน้ำ�หนักจากบั้นท้าย ทำ�ให้นั่งพิมพ์ได้นานไม่เมื่อยล้าง่ายๆ และมีสมาธิกับการพิมพ์

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 21


การวางนิ้วและการเคาะแป้น การวางนิ้วและเคาะแป้นให้ถูกวิธีจำ�เป็นอย่างมากโดยเฉพาะในการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องพิมพ์ดีด เพราะแป้นเครื่องพิมพ์ดีดต้องใช้น้ำ�หนักในการเคาะมากกว่าแป้นคีย์บอร์ดของคอมพิวเตอร์เป็นอย่าง มาก และการสืบนิ้วแบบเครื่องพิมพ์ดีดก็จะทำ�ให้พิมพ์ได้อย่างรวดเร็ว

การวางนิ้ว

1. งอนิ้วให้งุ้มลงสบายๆ ไม่ต้องเกร็ง (คล้ายกับการเกาศีรษะ) 2. ใช้ปลายนิ้ววางนิ้วลงที่แป้นเหย้า โดยนิ้วชี้ซ้ายอยู่ที่แป้น “F” และนิ้วชี้ขวาอยู่ที่แป้น “ J” • • • •

นิ้วก้อยซ้ายวางที่แป้น “A” นิ้วนางซ้ายวางที่แป้น “S” นิ้วกลางซ้ายวางที่แป้น “D” นิ้วชี้ซ้ายวางที่แป้น “F”

• • • •

นิ้วชี้ขวาวางที่แป้นไม้เอก “ J” นิ้วกลางขวาวางที่แป้น “K” นิ้วนางขวาวางที่แป้น “L” นิ้วก้อยขวาวางที่แป้น “;”

การเคาะแป้น การเคาะแป้นพิมพ์ดีดต้องใช้แรงมากกว่าการเคาะแป้นคีย์บอร์ดคอมพิวเตอร์จึงจะทำ�ให้พิมพ์ติด ลงบนกระดาษอย่างชัดเจน จึงทำ�ให้การเคาะแป้นอย่างถูกวิธีมีความจำ�เป็น และการฝึกเคาะจะทำ�ให้ ลดความรู้สึกว่านิ้วแต่ละนิ้วแย่งกันพิมพ์ เพราะไม่ค่อยได้ใช้งานแยกกันทีละนิ้ว โดยมีวิธีดังนี้ 1. ยกมือออกจากแป้นเหย้าเฉพาะข้างที่ต้อง พิมพ์ เลื่อนทั้งมือไปยังแป้นที่ต้องการ หรือ หากต้องการพิมพ์แป้นเหย้าก็ให้ยกมือขึ้น 2. เคาะนิ้วที่ต้องพิมพ์ลงไปตรงๆ 3. เลื่อนมือกลับมาวางนิ้วบนแป้นเหย้าดังเดิม พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 22


การคำ�นวณความเร็วในการพิมพ์ดีดด้วยเครื่อง การคำ�นวณคำ�สุทธิต่อนาที (คสตน.) ความเร็วในการพิมพ์ดีดนั้นเราใช้ “คำ�สุทธิต่อนาที” (คสตน.) หรือ “Net Word per Minute” (NWPM) เป็นตัววัดความเร็ว โดยจะคิดคำ�นวณคำ�ผิดเข้ามาในสมการการหาความเร็วในการพิมพ์ ด้วย (ต่างจาก คำ�ต่อนาที หรือ Gross Word A (per) Minute (GWAM หรือ GWPM) ที่ไม่นำ�คำ�ผิด เข้ามาคำ�นวณด้วย)

การหาคำ�สุทธิ และการคำ�นวณคำ�สุทธิต่อนาที (คสตน.) คำ�สุทธิ (Net Words) หาได้จากการนับจำ�นวนดีด (Strokes) ของแบบทั้งหมดแล้วนำ�มาหารด้วย 4 จะได้คำ�สุทธิในภาษาไทย ส่วนคำ�ผิดนั้นนับเป็นคำ� (ดูกฏระเบียบในการจับเวลา) หากผิด 1 คำ� ต้อง นำ�ไปหักออกจากคำ�สุทธิ 10 คำ� เช่นจำ�นวนดีดทั้งหมดหารด้วย ภ ได้ 50 คำ� หากผิด 1 คำ� ต้องติดลบ 10 คำ� เนื่องจากหากพิมพ์ผิดบนเครื่องพิมพ์ดีดแล้วจะแก้ไขได้ยากหรือช้ากว่าการแก้ไขบนเครื่อง คอมพิวเตอร์ จึงทำ�ให้ต้องมีการถ่วงน้ำ�หนักให้กับคำ�ผิดด้วย) เมื่อได้คำ�สุทธิมาแล้วให้นำ�มาหารด้วย เวลาเป็นนาที จึงจะได้ความเร็วเป็นคำ�สุทธิต่อนาที โดยมักจะไม่ใช้เวลาเป็นเศษวินาที

กฏระเบียบในการพิมพ์จับเวลา ในการฝึกหัดพิมพ์ดีดการจับเวลาจะเริ่มจากน้อยไปหามาก จากเริ่มแรก 1-3 นาที จนถึง 5 นาที แต่หากต้องการจะจับเวลามาตรฐานแล้วนั้นจะใช้เวลา 10-15 นาที จึงจะวัดผลได้มาตรฐาน เพราะ เวลาที่นานขนาดนั้นจึงจะสามารถวัดผลได้ไกล้เคียงความเป็นจริง โดยการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องจะมีกฏ ระเบียบดังนี้ 1. ห้ามเปลี่ยนกระดาษแผ่นใหม่เมื่อเริ่มจับเวลาแล้ว 2. ห้ามหยุดพิมพ์ก่อนหมดเวลา 3. หากเครื่องพิมพ์ดีดขัดข้อง ห้ามเปลี่ยนเครื่อง เพราะถือว่าได้มีการซ้อมมือก่อนจับเวลาแล้ว (จะ ต้องมีการซ้อมมือก่อนทดสอบจับเวลา) 4. ห้ามใช้ยางลบหรือสิ่งใด ขีด ฆ่า ขูดลบ 5. หากละเมิดไม่ปฏิบัติตามกฏข้อใดข้อหนึ่งหรือมากกว่าหนึ่งข้อ ถือการจับเวลาเป็นโมฆะหรือสอบ ตก (ถ้าเป็นการแข่งขัน)

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 23


การตรวจคำ�ผิด 1. คำ�ผิดนั้นคิดเป็นคำ� เช่น Cat Dog หรือ Apple ไม่ว่าจะมีกี่ดีดในหนึ่งคำ� ถึอว่าเป็นคำ�ผิด 1 คำ� 2. ระยะบรรทัดให้ใช้ 2 ระยะ 3. การย่อหน้าให้เป็นตามแบบ ถ้า บรรทัด (หรือ ระยะบรรทัด 2) ไม่ย่อหน้า หรือ มากหรือน้อย หากเว้นระยะบรรทัดผิด ให้นับ เกินไป ให้นับผิดย่อหน้าละ 1 คำ� บรรทัดละ 1 คำ�ผิด 4. ตัวอักษร วรรคตอน และเครื่องหมายต่างๆ ถ้าพิมพ์ผิดไปจากแบบจับเวลาให้นับเป็น 1 คำ�ผิด 5. หากแบบจับเวลาพิมพ์ผิด จะพิมพ์ตามหรือแก้ไขให้ถูกได้ แต่ต้องแก้ให้ถูก ถ้าแก้แล้วผิด จะนับ เป็นคำ�ผิดด้วย 6. การเว้นวรรค หากผิดจากแบบนับเป็น 1 คำ�ผิด 7. อักษรทุกตัวต้องปรากฏชัดเต็มตัว หากมีส่วนหรือทั้งหมดของอักษรใดรวมอยู่ด้วย ถือว่าเป็นคำ� ผิด แต่ถ้าพิมพ์ติดรางๆ แต่พอมองเห็นอ่านออกได้ ไม่ถือว่าเป็นคำ�ผิด แต่ถ้าลางจนดูไม่ออกถือว่า เป็นคำ�ผิด 8. อักษรทุกตัวต้องพิมพ์ให้อยู่ในระดับเดียวกัน หากตัวพิมพ์สูงหรือต่ำ�กว่าระดับปกติ แต่ยังคงเป็น เต็มตัว และไม่มีส่วนหนึ่งส่วนใดของอักษรอื่นปรากฏรวมอยู่ด้วย ไม่ถือว่าเป็นคำ�ผิด แต่หากมี ส่วนใดส่วนหนึ่งของอักษรอื่นรวมอยู่ด้วยถือว่าเป็นคำ�ผิด 9. หากมีช่องไฟของอักษรใดผิดแผกแตกต่างไปจากปกติ ให้นับเป็นผิด 1 คำ� 10. ในกรณีที่ปัดระยะบรรทัดไม่ขึ้น และพิมพ์ทับข้อความในบรรทัดเดิม แบ่งเป็น 2 กรณี • ถ้าย้อนกลับมาพิมพ์ข้อความที่ถูกพิมพ์ใหม่ทั้งบรรทัด ให้นับเป็นผิด 1 คำ� • หากไม่ย้อนกลับมาพิมพ์ใหม่ ให้นับเป็นคำ�ผิดทุกๆ คำ�ที่ถูกพิมพ์ทับ 11. ถ้าพิมพ์สูงหรือต่ำ�จนสุดหน้ากระดาษ ทำ�ให้ตัวอักษรถูกตัดออกไปบางส่วน • ถ้ากลับมาพิมพ์ข้อความตอนนั้นเสียใหม่ ให้นับเป็นผิด 4 คำ� • ถ้าไม่ได้กลับมาพิมพ์ใหม่ ให้นับทุกคำ�ที่พิมพ์เป็นคำ�ผิด สำ�หรับคำ�ที่ตัวอักษรถูกตัดออกไปบาง ส่วน 12. การพิมพ์ซ้ำ� พิมพ์ตก หรือพิมพ์เกิน ให้นับเป็นคำ�ผิดทุกคำ� พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 24


13. การพิมพ์ไขว้หรือสลับกัน เช่น คำ�ว่า “Good Day” พิมพ์เป็น “Day Good” ให้นับเป็นผิด 1 คำ� • ถ้าในคำ�ไขว้นั้นมีคำ�ผิด ก็ให้นับผิด 1 คำ� 14. การแก้ไขตัวอักษรด้วยวิธีพิมพ์ทับซ้อนกัน ให้นับผิด 1 คำ� 15. คำ�ที่พิมพ์ไม่ครบแต่หมดเวลาเสียก่อนไม่นับเป็นคำ�ผิดแม้ว่าจะพิมพ์เพียง 1 ดีด เช่น คำ�ว่า “Good” หากพิมพ์เป็น “G” ก็ให้ถือว่าพิมพ์ถูก 16. กรณีพิมพ์หลงบรรทัด หากย้อนกลับมาพิมพ์บรรทัดที่ถูกต้องใหม่ บรรทัดที่พิมพ์หลงไปนั้นนับ เป็นผิด 1 คำ� และไม่จำ�เป็นต้องนับเป็นจำ�นวนดีดด้วย แต่ถ้าไม่ย้อนกลับมาพิมพ์ที่ถูกต้องใหม่ ให้ นับเป็นผิดทุกๆ คำ�

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 25


แบบฝึกหัดพิมพ์ดีดด้วยเครื่องหน่วยที่ 1

การพิมพ์อักษรตามแป้นเหย้า (Home Key) A S D F J K L ;

แป้นเหย้า (Home Keys)

แป้น “A” กดด้วยนิ้วก้อยซ้าย

แป้น “S” กดด้วยนิ้วนางซ้าย

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 26


แป้น “D” กดด้วยนิ้วกลางซ้าย

แป้น “F” กดด้วยนิ้วชี้ซ้าย

แป้น “J ” กดด้วยนิ้วชี้ขวา

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 27


แป้น “K” กดด้วยนิ้วกลางขวา

แป้น “L” กดด้วยนิ้วนางขวา

แป้น Semicolon “;” กดด้วยนิ้วก้อยขวา

แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดเครื่องที่ 1.1 ให้กั้นหน้า 20 เคาะ และกั้นหลัง 50 เคาะ แล้วพิมพ์ตามแบบด้านล่าง 10 บรรทัด

asdf asdf asdf asdf jkl; jkl; jkl; asdf jkl; asdf jkl; asdf jkl; asdf jkl;

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 28


คาบที่ 5 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดเครื่องหน่วยที่ 1 (ต่อ) แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดเครื่องที่ 1.2 คำ�สั่ง: ให้กั้นหน้า 20 เคาะ และกั้นหลัง 50 เคาะ แล้วพิมพ์ตามแบบด้านล่าง 10 เที่ยว

a s d f j k l ; a s d f j k l ; a s d f j k l ; a s d f j k l ; asdf jkl; asdf jkl; a s d f j k l ; a s d f j k l ; a s d f j k l ; a s d f j k l ; asdf jkl; asdf jkl; แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดเครื่องที่ 1.3 คำ�สั่ง: ให้กั้นหน้า 20 เคาะ และกั้นหลัง 50 เคาะ แล้วพิมพ์ตามแบบด้านล่าง 20 เที่ยว

asdfjkl; asdfjkl; asdfjkl; asdfjkl; asdfjkl; asdfjkl; asdfjkl; asdfjkl; asdfjkl; a s d f j k l ; a s d f j k l ; a s d f j k l ; a s d f j k l ; a s d f j k l ; asdfjkl; asdfjkl; a s d f j k l ; a s d f j k l ; a s d f j k l ; a s d f j k l ; a s d f j k ; แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดเครื่องที่ 1.4 คำ�สั่ง: ให้กั้นหน้า 20 เคาะ และกั้นหลัง 50 เคาะ แล้วพิมพ์ตามแบบด้านล่าง 20 เที่ยว

ass ass ass ass lad lad lad lad fall; fall; fall; ass lad fall; ask ask ask ask sd sad sad ass; lass; lass; lass; ask sad lass; jal jal jal jal all all all all dads; dads; dads; jal all dads; dad dad dad da dfad fad fad fall; fall; fall; fall; dad fad fal lad fall; fall; fall; ass lad fall; ask ask ask lad fall; fall; fall; ass lad fall; ask ask ask

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 29


คาบที่ 3 หลักการพิมพ์อังกฤษด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ ประวัติการฝึกพิมพ์ด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ ในยุคแรกที่มีการเริ่มฝึกพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์ในประเทศไทย เริ่มมีการฝึกบนระบบบฏิบัติการ DOS และมีโปรแกรมที่นิยมใช้ฝึกพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ได้แก่ โปรแกรมดวงจันทร์ ซึ่งมีทั้งภาษา ไทยและอังกฤษ ถ้าเป็นโปรแกรมที่ผลิตโดยชาวต่างชาติก็จะเป็น Marvis Beacon เฉพาะในภาษา อังกฤษ ในยุคต่อมาที่การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์เพิ่งเริ่มเป็นที่แพร่หลาย บริษัท คอมพิวเตอร์ เอจ เทคโนโลยี จำ�กัด ได้ผลิตโปรแกรมพิมพ์สัมผัส ทั้งไทย-อังกฤษ สำ�หรับฝึกพิมพ์ดีดบนระบบปฏิบัติ การ DOS บนแผ่นดิสก์ขนาด 5.25 นิ้ว ขึ้นมาในปี พ.ศ. 2537 ได้รับความนิยมมากเนื่องจากมีคุณภาพ และมีกราฟิกสีสันสวยงาม อีกทั้งมีเกมให้ฝึกพิมพ์อีกด้วย และในปี พ.ศ. 2538 ก็ได้ผลิตโปรแกรม พิมพ์ไทย ที่ทำ�งานบน Windows 3.0 บนแผ่น 3.5 นิ้ว และยังคงได้รับความนิยมอย่างมาก ต่อมา เมื่อมีการคิดค้นแผ่นซีดีขึ้นมา บริษัท คอมพิวเตอร์ เอจ เทคโนโลยี ก็ได้ผลิตโปรแกรมพิมพ์ 2001 ขึ้นในปี พ.ศ. 2539 ที่มีสมรรถนะสูงขึ้นมาอีกและมีการฝึกทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ เพราะแผ่น ซีดีมีความจุกว่าแผ่น 3.5 นิ้วมาก ทำ�ให้มีเกมฝึกพิมพ์เพิ่มได้อีกถึง 3 เกมด้วยกัน จากนั้นได้พัฒนาโปรแกรมสอบพิมพ์สัมผัส ขึ้นมาเพื่อใช้กับองค์กรที่ต้องการทดสอบการพิมพ์ผู้ สมัครงานและพนักงานต่างๆ ที่ต้องการเลื่อนขั้นในปี พ.ศ. 2542 มีองค์กรเช่น ธนาคารเพื่อการเกษตร และสหกรณ์ และบริษัทในเครือสามารถ ได้นำ�ไปใช้ สอบพิมพ์สัมผัส สามารถสร้างโจทย์ได้เอง และ สามารถตรวจและแสดงผลการสอบได้ทันที ส่วนโปรแกรมพิมพ์ 2001 ได้มีการพัฒนาเรื่อยมาและ ปรับมาใช้ชื่อ พิมพ์สัมผัส 2.0 ในปี พ.ศ. 2546 จนกระทั้งปี พ.ศ. 2549 บริษัทได้พัฒนาโปรแกรมสอบพิมพ์สัมผัส 2.0 ที่มีการใช้งานเหมาะกับโรงเรียนมากขึ้น จนได้รางวัลรองชนะเลิศ Thailand ICT Award ในปีเดียวกัน หมวด Education and Trainning และนำ�ไปใช้ในการแข่งขันทักษะวิชาชีพ ของสมาคมโรงเรียน อาชีวศึกษาเอกชน กลุ่มภาคกลางเป็นครั้งแรกในปี พ.ศ. 2551 ที่ โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี จังหวัดชลบุรี และได้เริ่มแข่งขันในภาคอื่นๆ ทั่วประเทศในเวลาต่อมา จากนั้นก็ได้เริ่มพัฒนาสอบพิมพ์สัมผัสให้ เข้ากับระบบเน็ทเวิร์คในห้องเรียนจนในปี พ.ศ. 2553 โดยมีโปรแกรม Pimserver เป็นตัวหลักในการควบคุมระบบเครือข่าย ทำ�ให้โรงเรียน และวิทยาลัยหลายแห่งทั่วประเทศนอกจากจะสามารถใช้โปรแกรมในการเรียนการสอนวิชาพิมพ์ดีด คอมพิวเตอร์ได้แล้วนั้น ยังสามารถสอบ และประหยัดเวลาในการตรวจได้อีกด้วย พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 30


การใช้โปรแกรมพิมพ์สัมผัส โปรแกรมพิมพ์สัมผัส 2.0 บนแผ่นซีดีที่มาพร้อมกับหนังสือเล่มนี้ สามารถเปิดได้จากแผ่นซีดี เท่านั้น หากแบบที่ใช้บนระบบเน็ทเวิร์คจะมีเนื้อหาเหมือนกัน แต่จะไม่มีเกมฝึกพิมพ์เพราะข้อจำ�กัด ทางด้านความเร็วในการใช้งาน (ผู้สอนสามารถดาวน์โหลดได้จาก pimsampas.com)

การเปิดโปรแกรมจากแผ่นซีดี เมื่อใส่แผ่นซีดีรอมเข้าไปในเครื่อง โดยทั่วไปแล้วโปรแกรมจะถูกเปิดขึ้นอัตโนมัติ หากโปรแกรมไม่ เปิดขึ้นมาอัตโนมัติ อาจเป็นเพราะซอฟต์แวร์ระบบบางตัวป้องกันมิให้เปิดโปรแกรมจากแผ่นซีดีขึ้น มาเองอัตโนมัติ ให้ทำ�ดังขั้นตอนต่อไปนี้ 1. ที่ Desktop เลือกไอคอน My Computer 2. เลือกไดรฟ์ที่ใช้สำ�หรับแผ่นซีดี เช่น E:\ แล้วดับเบิ้ลคลิ๊ก หรือคลิ๊กขวาแล้วเลือก Explore จาก เมนูที่ปรากฏขึ้น 3. ดับเบิ้ลคลิ๊กที่ไฟล์ pimsampasTH1.exe 4. โปรแกรมจะเริ่มทำ�งาน (หากมีหน้าต่างปรากฏเกี่ยวกับการรักษาความปลอดภัยของระบบ ให้ เลือก Unblocking)

หมายเหตุ หากยังไม่สามารถใช้งานได้ ให้ท่านลองนำ�แผ่นโปรแกรมนี้ไปเล่นกับเครื่องคอมพิวเตอร์อื่น เพื่อ ทดสอบว่าสามารถใช้ได้หรือไม่ • หากใช้ได้ แสดงว่าเครื่องคอมพิวเตอร์ของท่านอาจติดตั้งโปรแกรมวินโดวส์ไม่สมบูรณ์ ให้ แก้ไขติดตั้งโปรแกรมวินโดวส์ใหม่โดยผู้เชี่ยวชาญ • หากใช้ไม่ได้ อาจจะเป็นเพราะแผ่นซีดีรอมมีปัญหา โปรดติดต่อผู้สอนหรือบริษัทฯ หลังจากที่ท่านใส่แผ่นซีดีรอมแล้ว โปรแกรมจะทำ�งานตามขั้นตอนจนถึงจอภาพดังรูปหน้าถัดไป

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 31


วิธีการทำ�งาน เมื่อเข้าสู่จอภาพหลักดังที่แสดงข้างบนแล้ว ขออธิบายถึงส่วนต่างๆ ในจอภาพหลักของโปรแกรม “พิมพ์สัมผัส” ซึ่งแบ่งออกเป็น 3 ส่วนคือ • แถบปุ่มกดกลมด้านบน 6 ปุ่ม • ปุ่มสี่เหลี่ยมยาว 4 ปุ่ม ในแถบซ้ายมือตามแนวตั้ง • ส่วนพื้นที่ว่างด้านล่างใต้ปุ่มสี่เหลี่ยมยาวสำ�หรับรายละเอียดในแต่ละส่วนมีดังนี้

แถบปุ่มกลมด้านบน

ปุ่มด้านบน ประกอบด้วยปุ่มกลมๆ ซึ่งสามารถกดได้อยู่ 6 ปุ่ม ปุ่มดังกล่าวเรียงจากซ้ายไปขวา ดังนี้ ปุ่มดูรายละเอียดของสินค้า ซึ่งเป็นซอฟท์แวร์ที่ผลิตโดย บริษัท คอมพิวเตอร์เอจ เทคโนโลยี จำ�กัด ซึง่ หากคลิก๊ เม้าส์ไปทีร่ ายการทีต่ อ้ งการ ก็จะมีรายละเอียดของซอฟท์แวร์นน้ั แสดงขึน้ มา ปุ่มเปลี่ยนภาษา ใช้เลือกฝึกหัดภาษาไทย หรือภาษาอังกฤษ ในกรณีที่ใช้ระบบ Stand Alone (เล่นบนแผ่นซีดี) (หากใช้ระบบ Server จะแสดงภาษาที่เลือกเรียนเมื่อลงทะเบียนไว้) ปุ่มกำ�หนดการทำ�งานของโปรแกรม ใช้ในการเลือกภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษ ปิด-เปิดเสียง เพลง และเสียงประกอบ ใช้เลือกชื่อผู้ฝึกพิมพ์ และดูผลการฝึก ปุ่มวิธีใช้ เป็นปุ่มแสดงจอภาพบอกวิธีใช้ปุ่มต่างๆ

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 32


ปุ่มย่อโปรแกรม ใช้ย่อขนาดหน้าต่างโปรแกรมให้มีขนาดเล็กหุบลงไปยัง Task Bar ปุ่มออกจากโปรแกรม ซึ่งเมื่อกดแล้วก็จะออกจากตัวโปรแกรม

แถบปุ่มสี่เหลี่ยมยาวด้านซ้ายมือ ปุ่มแถบซ้ายมือตามแนวตั้งจะประกอบด้วย 4 ปุ่ม เรียงกันลงมา เมื่อกดปุ่มแบบฝึกหัดหรือปุ่ม แบบทดสอบครั้งแรกจะมีการให้ใส่ชื่อผู้ฝึกในครั้งแรก (สำ�หรับเวอร์ชั่นบนแผ่นซีดี)

ปุ่มแบบฝึกหัด จากนั้นโปรแกรมจะให้เลือกแบบฝึกหัดที่ต้องการ โดยจะมีหัวข้อต่างๆ พร้อมคำ�อธิบาย สำ�หรับบทใดที่ทำ�การฝึกแล้ว พื้นจะเปลี่ยนสีจากสีดำ�เป็นพื้นสีเทา เมื่อเลือกได้แล้วก็กด ปุ่ม “เริ่ม” ก็จะเข้าสู่แบบฝึกหัดในแต่ละบท ทั้งนี้สามารถเลือกใช้หรือไม่ใช้สีแสดงการวาง นิ้ว เลือกแสดงมือตัวอย่างหรือไม่ก็ได้ และแสดงบรรทัดตัวอย่างแยกเป็นบรรทัดคู่หรือไม่ ก็ได้ โดยกดปุ่ม Options

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 33


ปุ่มทดสอบ และฝึกฝนการพิมพ์ให้ชำ�นาญ เมื่อกดปุ่มนี้จะเข้าสู่แบบทดสอบ ซึ่งจะมีแบบทดสอบให้ เลือกสำ�หรับแบบทดสอบใดที่ทำ�การฝึกฝนไปแล้ว พื้นจะเปลี่ยนสีจากสีดำ�เป็นพื้นสีเทา เมื่อเลือกได้แล้วก็กดปุ่ม “เริ่ม” ก็จะเข้าสู่แบบทดสอบ ซึ่งจะมีการจับเวลาตามความยาก ง่ายของแต่ละแบบฝึกหัด และจะมีรายงานผลการทดสอบ ท่านสามารถฝึกซ้ำ�กี่ครั้งก็ได หรือเลือกขึ้นแบบทดสอบต่อไป หรือเลิกการทดสอบ ดังภาพ

ในจอภาพการเลือกแบบทดสอบ ยังมีอีกปุ่มหนึ่งคือ “Options>>” เมื่อท่านกดปุ่มนี้แล้ว ท่าน ยังสามารถกำ�หนดลักษณะการทำ�งานของโปรแกรมในส่วนแบบทดสอบได้ เพื่อความสะดวกในการ ทดสอบ ดังภาพด้านบนขวา

ปุ่มชมวิดิโอ แสดงการใช้แป้นพิมพ์ที่ถูกต้อง เมื่อกดปุ่มนี้จะเข้าสู่จอภาพแสดง การใช้ส่วนประกอบการ พิมพ์ การเคาะแป้น การนั่ง และการวางนิ้วที่ถูกต้อง เมื่อท่านได้เลือกการชมวิดิโอใด ก็จะ มีภาพแสดงพร้อมเสียงบรรยายให้ท่านฟัง ดังภาพล่างซ้าย

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 34


ปุ่มเล่นเกม ฝึกทักษะการพิมพ์สัมผัส เมื่อกดปุ่ม นี้จะเข้าสู่จอภาพแสดง การเล่ม ซึ่งมี เกมสนุกๆ และเป็นเกมการฝึกทักษะ การพิมพ์สัมผัส ให้เลือกถึง 4 เกมด้วย กัน ได้แก่ เกมมวยไทย เกมใต้บาดาล เกมคำ�หล่น และเกมถล่มเมือง ดัง ภาพในหน้าที่แล้ว (ไม่มีเกมในระบบ เรียนจาก Server)

ลักษณะการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ถูกสุขลักษณะ (จากหนังสือ คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่องานอาชีพ โดย ชนธัญ วัฒนสุทธิ์)

ท่านั่งพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์ การปรับท่านั่งให้ถูกต้องจะทำ�ให้ลดการบาดเจ็บอันเกิดจากการทำ�งานอย่างต่อเนื่องเป็นเวลา นาน โดย • นั่งหลังตั้งตรงแนบชิดกับพนักพิง • ปรับพนักพิงให้พอดีปรับให้ได้ 100 ํ - 110 ํ เพื่อให้กระดูกสันหลังถ่ายน้ำ�หนักไปยังพนักพิง • ไม่ควรมีหมอนดันหลังช่วงล่างเพราะจะทำ�ให้มีกระดูกสันหลังส่วนใดส่วนหนึ่งทำ�งานหนัก • ควรมีที่เท้าแขนที่ปรับระดับได้ ที่เท้าแขนวางแล้วไหล่ไม่ยก เพราะจะทำ�ให้กล้ามเนื้อไหล่เกิด อาการล้า • ท่อนแขนส่วนปลายขนานกับพื้นราบขณะที่วางนิ้วมือบนแป้นคียบอร์ดหรือเมาส์ • ปรับที่เท้าแขนและเบาะรองนั่งของเก้าอี้ให้พอดี • ไม่ควรวางข้อมือขณะพิมพ์งาน ควรมีที่วางข้อมือที่พอดีไม่สูงกว่าคีย์บอร์ด • เบาะนั่งเอนไปข้างหน้าเล็กน้อยไม่ให้ขอบเก้าอี้กดทับเส้นเลือดที่ข้อพับด้านในหัวเข่า หรือมีที่ วางเท้าไม่ให้เท้าลอยเมื่อได้นั่งแล้ว

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 35


การวางนิ้วบนแป้นเหย้าคียบอร์ด มีลักษณะเหมือนกับการพิมพ์ด้วยเครื่องพิมพ์ดีด โดยการเริ่มต้นพิมพ์ให้วางนิ้วลงบนแป้นเหย้า ซึ่งอยู่ตรงกลางของคีย์บอร์ด นิ้วโค้งงอเล็กน้อยปล่อยตามสบาย แป้นเหย้าแบ่งออกเป็นแป้นสำ�หรับ นิ้วมือซ้าย และนิ้วมือขวา โดยปรกติบนคีย์บอร์ดจะมีปุ่มนูนขึ้นเพื่อสามารถรู้สึกได้ด้วยปลายนิ้วเมื่อ สัมผัสโดน • นิ้วมือซ้ายนิ้วชี้จรดที่แป้น “F” มีปุ่มบนแป้นคีย์บอร์ดเป็นที่สังเกตุ นิ้วกลางอยู่ที่แป้น “D” นิ้วนางอยูที่แป้น “S” และนิ้วก้อยอยู่ที่แป้น “A” • ส่วนนิ้วมือขวา นิ้วชี้จรดที่แป้น “J” มีปุ่มนูนบนแป้นคีย์บอร์ดเป็นที่สังเกตุ นิ้วกลางอยู่ที่แป้น “K” นิ้วนางอยู่ที่แป้น “L” และนิ้วก้อยอยู่ที่แป้น “;”

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 36


การก้าวนิ้ว การก้าวนิ้วไปยังแป้นอื่นๆ บนคีย์บอร์ดนั้นให้ให้ยกข้อมือขึ้นก้าวนิ้วไปตามแผนผังตัวอย่างของบท นั้นๆ ตามสีที่ให้

ผังแสดงการก้าวนิ้วไปยังแป้นต่างๆ

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 37


การใช้งานปุ่มอื่นๆ ปุ่ม PrtSc/SysRq

• PrtSc หรือ Print Screen ใช้ในการจับภาพ หน้าจอที่กำ�ลังทำ�งานอยู่ สามารถ “วาง” (Paste) ลงในโปรแกรมต่างๆ เช่น Paint หรือ MS Office ได้ในโอกาสต่างๆ • SysRq ไม่มีการใช้งานแพร่หลายนักใช้ในวง จำ�กัดในบางโปรแกรม

ปุ่ม Scroll Lock

• ใช้เปิด/ปิดการทำ�งานของลูกศรบนคีย์บอร์ด ตัวเลข ใช้ได้กับบางโปรแกรมเท่านั้น

ปุ่ม Num Lock/Mouse Key

• ใช้เปิด/ปิดการทำ�งานของแป้นตัวเลข แล้วใช้ ลูกศร หรือ Home/End/PgUp (Page Up)/ PgDn (Page Down) /Del แทน ปรกติจะเปิด อยู่แล้วเมื่อเริ่มใช้งาน Windows

• Shift+Left Alt+Num lock ใช้เปิด/ปิด การใช้ งานเมาส์

ปุ่ม Pause/Break

• ในคีย์บอร์ดสมัยใหม่มักใช้คู่กับปุ่ม Windows โดยกด Windows+Pause/Break จะเรียก System Properties ขึ้นมา

ปุ่ม Insert

• ใช้สำ�หรับเปลี่ยนรูปแบบการใช้งานของ Cursor ระหว่างแบบ พิมพ์แทรก (Insert Mode) หรือ พิมพ์ทับ (Overtype Mode) ลงไปบนตัวอักษร เดิม ใช้ได้กับบางโปรแกรมเท่านั้น

ปุ่ม Delete

• ใ ช้สำ�หรับลบตัวอักษร(ที่อยู่หลัง) หรือ ไฟล์หรือ ไอคอนที่เลือกไว้

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 38


ปุ่ม Home/End

• ใช้สำ�หรับเลื่อน Cursor ไปที่จุดแรกสุด (Home) หรือท้ายสุด (End) ของบรรทัดใน MS Word หรือ เซลล์แรกสุดของแถวใน MS Excel • Ctrl+Home/End ใช้ไปยังจุดแรกสุดหรือท้าย สุดในเอกสาร MS Word หรือ เซลล์แรกสุดใน เอกสาร (A1) ใน MS Excel

ปุ่ม Page Up/Page Down

• ใช้สำ�หรับเลื่อนหน้าขึ้น (Page Up) และลง (Page Down)

ปุ่มลูกศรขึ้น/ลง/ซ้าย/ขวา

• ใช้สำ�หรับเลื่อนเคอร์เซอร์ขึ้น/ลง/ซ้าย/ขวา ตาม ทิศทาง

การใช้งานปุ่ม Fuction ปุ่ม F1

• ใช้เรียกการช่วยเหลือของโปรแกรมต่างๆ บน Windows • Windows Key+F1 ใช้เรียก MS Windows Help and Support Center • Ctrl+F1 ใช้เรียก Task Pane ใน MS Office

ปุ่ม F2

• ใช้เปลี่ยนชื่อไฟล์หรือไอคอนที่เลือกอยู่บน Windows • Alt+Ctrl+F2 ใช้เปิดเอกสารใหม่ใน MS Word • Ctrl+F2 ใช้เรียก Print Preview ใน MS Word

ปุ่ม F3

• ใช้เรียกการค้นหาขึ้นมาบน Windows Explorer • Shift+F3 ใช้เปลี่ยนส่วนที่เลือกเป็น Upper หรือ Lower Case หรือ เป็นตัว Capital ตัว แรกของทุกคำ� ใน MS Word

ปุ่ม F4

• สำ�หรับเรียกใช้งาน Address บน Windows Explorer • ทำ�ซ้ำ� สำ�หรับ MS Word 2000+ • Alt+F4 ใช้ปิดโปรแกรมที่กำ�ลังใช้งานหรือเปิด อยู่ • Ctrl+F4 ใช้ปิดเอกสารในโปรแกรมที่กำ�ลังใช้ งานหรือเปิดอยู่

ปุ่ม F5

• ใช้ Refresh โปรแกรมท่องอินเตอร์เน็ตส่วน ใหญ่ • ใช้เปิด find/replace/go to ใน MS Word • ใช้เริ่มต้นสไลด์ (Start Slideshow) ใน MS PowerPoint

ปุ่ม F6

• สำ�หรับเรียกใช้งาน Address Bar ใน Web Browser เช่น Internet Exploere หรือ Mozilla Firefox • Alt+Ctrl+F6 ใช้เปิดเอกสารสลับไปมาระหว่าง เอกสารที่เปิดอยู่แล้วใน MS Word

ปุ่ม F7

• ใช้เรียกการตรวจคำ�ผิด (Spell Check) หรือ ตรวจไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ (Grammar Check)

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 39


ปุ่ม F8

ปุ่ม F11

ปุ่ม F10

ปุ่ม F12

• ใช้เข้าสู่ “Windows Startup Menu” เมื่อ ต้องการเข้าสู่ Windows ใน Safe Mode

• ใช้งาน Menu Bar บน Windows เหมือนกด ปุ่ม Alt • Shift+F10 เหมือนกดคลิ๊กขวา บนไฟล์หรือ ไอคอนที่เลือกไว้

• ใช้เข้าสู่ Fullscreen Mode ใน Web Browser ส่วนใหญ่

• ใช้เรียกหน้าต่าง Save...as • Shift+F12 เพื่อ Save ใน MS Word • Ctrl+Shift+F12 เพื่อพิมพ์เอกสาร ใน MS Word

การสร้างทักษะการพิมพ์เร็วและแม่นยำ� 1. การวางแบบพิมพ์ การวางแบบพิมพ์ที่ถูกต้อง คือวางบนโต๊ะคอมพิวเตอร์ ซึ่งไม่มีสิ่งของวางอยู่ นอกจากแบบพิมพ์ ทางด้านขวาของคอมพิวเตอร์ ให้แบบพิมพ์เอียง 45 องศา 2. การดีดที่ถูกต้อง โดยดีดแป้นคีย์บอร์ดที่นิ้วแตะอยู่ พร้อมกับออกเสียงเป็นจังหวะเร็วพร้อม ๆ กัน เพื่อการดีดจะได้ ถูกต้องตามจังหวะ และสร้างความมั่นใจให้กับตนเองให้มากในเวลาดีด ก็จะได้ดีดที่ถูกต้อง เช่น asdf วรรค asdf วรรค เป็นต้น ไปจนครบตามโปรแกรมสำ�เร็จรูป โดยให้พิมพ์ซ้ำ�บทเดิมจนกว่า จะผ่าน แล้วจึงจะพิมพ์บทต่อไป เพื่อเป็นการสร้างทักษะด้านการพิมพ์ 3. การสืบนิ้ว เวลาพิมพ์อักษรแถวบนหรือล่าง ผู้พิมพ์จะต้องสืบนิ้วขึ้นหรือลงทุกครั้ง นิ้วที่สืบขึ้นหรือลงนี้ เมื่อ ดีดแล้วจะต้องรีบกลับมาอยู่ที่แป้นเหย้าเสมอ เช่น จาก D สืบนิ้วขึ้นไปพิมพ์ที่ E เมื่อสืบนิ้วพิมพ์ E แล้ว จะต้องรีบกลับนิ้วมาอยู่ที่ตัว D อย่างเดิม และในขณะที่ก้าวนิ้วขึ้นไปนั้น นิ้วอื่นวางแตะ เบา ๆ อยู่ที่แป้นเหย้า คือ เคลื่อนแต่นิ้วขึ้นแต่มือคงอยู่ที่เดิม 4. การเพิ่มความเร็วในการดีด การพิมพ์ให้เร็วขึ้นในแต่ละครั้ง มีความจำ�เป็นที่ต้องเร่งความเร็วขึ้น และคำ�ผิดต้องให้น้อยลง จนไม่พิมพ์ผิดเลย ในการพิมพ์ให้ซ้ำ�บทเดิม แต่การเร่งความเร็วเกินไปแล้วผิดมาก หรือการขาด จังหวะพิมพ์ที่ดี เช่น พิมพ์แล้วหยุดชะงัก พอเริ่มพิมพ์ก็หยุดชะงัก ซึ่งไม่ใช่วิธีการพิมพ์ที่ถูกต้อง และโอกาสที่พิมพ์เร็วก็ไม่มี วิธีการที่ดีที่สุด คือ การเคาะแป้นเป็นจังหวะพอดี ๆ แต่ได้ดีดที่ถูก ต้อง แล้วค่อย ๆ เพิ่มความเร็วขึ้นในแต่ละครั้งจะดีกว่าในการจับเวลาของแต่ละครั้ง โดยควรเพิ่ม จำ�นวนดีดในแต่ละครั้งของการพิมพ์อย่างน้อย 5-7 เคาะ พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 40


5. การฝึกฝนด้านการพิมพ์ต้องพยายามฝึกฝนอย่างจริงจัง ซึ่งเวลาเรียนในแต่ละชั่วโมงไม่เพียงพอ ผู้เรียนสามารถฝึกฝนได้ด้วยตนเองที่บ้านได้เพื่อเสริมสร้าง ความเร็วของการพิมพ์ให้มากขึ้น ซึ่งจะทำ�ให้ความเร็วและความแม่นยำ�จะพัฒนาไปพร้อม ๆ กัน 6. การพิมพ์ที่ดีอย่าวิตกกังวล ไม่มือสั่น กลัวผิด แล้วไม่กล้าเคาะแป้นอักษร ทำ�ให้มีโอกาสผิดง่ายที่ถูกต้องควรตัดสินใจเคาะ แป้นอย่างระมัดระวัง ตัดสินใจอย่างรวดเร็วและถูกต้องด้วยความมั่นใจจะดีกว่า การลังเลไม่ ตัดสินใจดีด และจะเป็นอุปสรรคของการพิมพ์ ทั้งด้านความเร็วและความแม่นยำ� และจะทำ�ให้ การตั้งใจพิมพ์ให้ถูกหมดทำ�ให้พิมพ์ไม่ได้ดีเท่าที่ควร ถือเป็นอุปสรรคด้านการพิมพ์เป็นอย่างมาก 7. มีสมาธิ สมาธิในการพิมพ์เป็นสิ่งหนึ่งจะช่วยให้พิมพ์ได้ดีขึ้นมาก เพราะถ้าขาดสมาธิแล้วจิตใจก็ไม่มีสมาธิ ทำ�ให้พิมพ์ไม่ดี เมื่อเวลาพิมพ์ต้องตัดปัญหาอื่นให้หมด คิดแต่เรื่องพิมพ์เพียงอย่างเดียว จะทำ�ให้ผู้ พิมพ์ประสบความสำ�เร็จ นั่งตัวตรง ตามองแบบ อย่าแอบมองแป้น พิมพ์ให้แม่น เคาะแป้นให้ ถูก มีสมาธิการพิมพ์ พิมพ์บ่อย ๆ ค่อย ๆ เก่ง ถ้าจะเร่งพิมพ์เร็ว ต้องแม่นยำ� การสร้างทักษะการ พิมพ์ ต้องพยายามเอาชนะตนเองทุกครั้งที่พิมพ์ อาจจะสมหวัง อาจจะผิดหวัง หรือใกล้บรรลุเป้า หมาย เป็นการกระตุ้นให้เกิดการมีชีวิตชีวา สนุกสนาน ไม่น่าเบื่อการคำ�นวณความเร็วในการ พิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์

การคำ�นวณความเร็วในการพิมพ์คอมพิวเตอร์ภาษาไทย มีหน่วยเป็น คำ�สุทธิต่อนาที (Net Word per Minute: NWPM) เช่นเดียวกับพิมพ์ดีด จะใช้หน่วย พื้นฐานเป็นดีด (stroke) ซึ่งคือการกดแป้นพิมพ์หนึ่งครั้ง รวมแป้น Space Bar ด้วย โดยใช้หลัก 5 ดีด เป็น 1 คำ� ในภาษาอังกฤษ หากผิด 1 คำ�เท่ากับผิด 10 คำ� แล้วนำ�ไปหารด้วยเวลา ออกมาเป็นจำ�นวน คำ�สุทธิต่อนาที (ถ้ามีเศษให้ปัดเศษขึ้น) ตัวอย่าง พิมพ์ได้ทั้งหมด 100 ดีด ผิด 5 ดีด ในเวลา 2 นาที จะสามารถคำ�นวนคำ�สุทธิต่อนาทีได้ ดังนี้ คือ 100 ดีดคิดเป็น 20 คำ� ผิด 5 ดีด เท่ากับผิด 1 คำ� นำ�ไปคูณ 10 เท่ากับผิด 10 คำ� จากนั้น นำ�ไปลบออกจากคำ�ที่พิมพ์ได้ทั้งหมด 20 คำ� เท่ากับพิมพ์ได้คำ�สุทธิ 10 คำ�ในเวลา 2 นาที เท่ากับ พิมพ์ได้ 5 คำ�สุทธิต่อนาที

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 41


แบบฝึกหัดการพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 1 การพิมพ์อักษรตามแป้นเหย้า (Home Key) A S D F J K L ; สาระการเรียนรู้

1. แป้นเหย้า 2. การวางนิ้วบนแป้นเหย้า 3. การพิมพ์อักษรแป้นเหย้า

สมรรถนะ

1. บอกความหมายของแป้นเหย้าได้ถูกต้อง 2. วางนิ้วบนแป้นเหย้าได้อย่างถูกต้อง 3. ก้าวนิ้วพิมพ์อักษรแป้นเหย้าได้ถูกต้อง 4. พิมพ์อักษรแป้นเหย้าได้ถูกต้องและรวดเร็ว

แบบฝึกหัด

1.1 การเคาะแป้น ASDFJK; 1.2 การเคาะแป้น ASDFJK; 1.3 Home key หรือ แป้นเหย้า 1.4 การเคาะแห้น A S D F J K L ;

วิธีการใช้โปรแกรมเพื่อพิมพ์แบบฝึกหัด

1. กำ�หนดภาษาที่พิมพ์เป็นภาษาอังกฤษด้วยปุ่มเลือกภาษา 2. เข้าเมนูหลักแล้วกดปุ่มแบบฝึกหัด 3. พิมพ์ชื่อผู้พิมพ์และกดปุ่มตกลง 4. เลือกแบบฝึกหัดที่ต้องการจากเมนู

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 42


จงฝึกพิมพ์แป้นเหย้าประจำ�นิ้วตามแผนผัง

แป้นเหย้า (Home Keys)

แป้น “A” กดด้วยนิ้วก้อยซ้าย

แป้น “S” กดด้วยนิ้วนางซ้าย

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 43


แป้น “D” กดด้วยนิ้วกลางซ้าย

แป้น “F” กดด้วยนิ้วชี้ซ้าย

แป้นไม้เอก “J” กดด้วยนิ้วชี้ขวา

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 44


แป้น “K” กดด้วยนิ้วกลางขวา

แป้น “L” กดด้วยนิ้วนางขวา

แป้น Semicolon “;” กดด้วยนิ้วก้อยขวา

โปรดระวังให้สายตายมองอยู่ที่แบบฝึกหัดในหนังสือ

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 45


แบบฝึกหัดการพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 1.1 วิธีใช้โปรแกรมและคำ�สั่ง: 1. กดปุ่ม”แบบฝึกหัด”เพื่อเข้าเมนู เลือกแบบฝึกหัดที่ 1.1 พิมพ์ตามโปรแกรม โดยให้ผ่านเกณฑ์ 100% หรือตามคำ�สั่งของครูผู้สอน และบันทึกผลการฝึกพิมพ์ทุกครั้ง เพื่อให้ผู้สอนบันทึกคะแนน การพิมพ์ 2. จากนั้นพิมพ์แบบด้านล่างลงในโปรแกรม Word กั้นหน้าและกั้นหลัง ข้างละ 1 นิ้ว 10 รอบ แล้วคำ�นวณความเร็วในการพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์จากแบบที่พิมพ์ (ซื่อสัตย์ต่อตนเอง ไม่ใช้แป้น Backspace)

asdf asdf asdf asdf jkl; jkl; jkl; asdf jkl; asdf jkl; asdf jkl; asdf jkl; เริ่มต้นดีมีชัยไปกว่าครึ่ง....พยายามงอนิ้วเคาะแป้นอักษร ให้มีลักษณะเหมือน ค้อนตอกตะปู ในระยะเริ่มต้น ไม่ต้องสนใจความเร็วในการพิมพ์มาก ให้ พยายามจำ�ตำ�แหน่งของการวางนิ้ว ให้เกิดความคุ้นเคยมากที่สุด และอย่าก้ม ลงไปมองแป้นพิมพ์โดยเด็ดขาด ให้มองที่จอภาพเท่านั้น ถ้าเกิดอาการปวดตา ก็ให้พักสายตา

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 46


แบบฝึกหัดการพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 1.2 วิธีใช้โปรแกรมและคำ�สั่ง: 1. กดปุ่ม”แบบฝึกหัด”เพื่อเข้าเมนู เลือกแบบฝึกหัดที่ 1.2 พิมพ์ตามโปรแกรม โดยให้ผ่านเกณฑ์ 100% หรือตามคำ�สั่งของครูผู้สอน และบันทึกผลการฝึกพิมพ์ทุกครั้ง เพื่อให้ผู้สอนบันทึกคะแนน การพิมพ์ (สัญลักษณ์ ↵ คือ การเคาะ Space Bar ต่อเนื่องไม่ต้องกด Enter) 2. จากนั้นพิมพ์แบบด้านล่างลงในโปรแกรม Word กั้นหน้าและกั้นหลัง ข้างละ 1 นิ้ว 10 รอบ แล้วคำ�นวณความเร็วในการพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์จากแบบที่พิมพ์ (ซื่อสัตย์ต่อตนเอง ไม่ใช้แป้น Backspace)

a s d f j k l ; a s d f j k l ; a s d f j k l ; a s d f j k l ; asdf jkl; asdf jkl; a s d f↵ jk l ; a s d f j k l ; a s d f j k l ; a s d f j k l ; asdf jkl; asdf jkl; แบบฝึกหัดการพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 1.3 วิธีใช้โปรแกรมและคำ�สั่ง: 1. กดปุ่ม”แบบฝึกหัด”เพื่อเข้าเมนู เลือกแบบฝึกหัดที่ 1.3 พิมพ์ตามโปรแกรม โดยให้ผ่านเกณฑ์ 100% หรือตามคำ�สั่งของครูผู้สอน และบันทึกผลการฝึกพิมพ์ทุกครั้ง เพื่อให้ผู้สอนบันทึกคะแนน การพิมพ์ (สัญลักษณ์ ↵ คือ การเคาะ Space Bar ต่อเนื่องไม่ต้องกด Enter) 2. จากนั้นพิมพ์แบบด้านล่างลงในโปรแกรม Word กั้นหน้าและกั้นหลัง ข้างละ 1 นิ้ว 10 รอบ แล้วคำ�นวณความเร็วในการพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์จากแบบที่พิมพ์ (ซื่อสัตย์ต่อตนเอง ไม่ใช้แป้น Backspace)

asdfjkl; asdfjkl; asdfjkl; asdfjkl; asdfjkl; asdfjkl; asdfjkl; asdfjkl; asdfjkl;↵ a s d f j k l ; a s d f j k l ; a s d f j k l ; a s d f j k l ; a s d f j k l ; asdfjkl; ↵ asdfjkl; a s d f j k l ; a s d f j k l ; a s d f j k l ; a s d f j k l ; a s d f j k ;

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 47


แบบฝึกหัดการพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 1.4 วิธีใช้โปรแกรมและคำ�สั่ง: 1. กดปุ่ม”แบบฝึกหัด”เพื่อเข้าเมนู เลือกแบบฝึกหัดที่ 1.4 พิมพ์ตามโปรแกรม โดยให้ผ่านเกณฑ์ 100% หรือตามคำ�สั่งของครูผู้สอน และบันทึกผลการฝึกพิมพ์ทุกครั้ง เพื่อให้ผู้สอนบันทึกคะแนน การพิมพ์ (สัญลักษณ์ ↵ คือ การเคาะ Space Bar ต่อเนื่องไม่ต้องกด Enter) 2. จากนั้นพิมพ์แบบด้านล่างลงในโปรแกรม Word กั้นหน้าและกั้นหลัง ข้างละ 1 นิ้ว 10 รอบ แล้วคำ�นวณความเร็วในการพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์จากแบบที่พิมพ์ (ซื่อสัตย์ต่อตนเอง ไม่ใช้แป้น Backspace)

ass ass ass ass lad lad lad lad fall; fall; fall; ass lad fall; ask↵ ask ask ask sd sad sad ass; lass; lass; lass; ask sad lass; jal jal↵ jal jal all all all all dads; dads; dads; jal all dads; dad dad dad↵ da dfad fad fad fall; fall; fall; fall; dad fad fal lad fall; fall; fall;↵ ass lad fall; ask ask ask lad fall; fall; fall; ass lad fall; ask ask ask

บรรณานุกรม • Richard Polt. A Brief History of Typewriters. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://site.xavier.edu/polt/typewriters/tw-history.html. (วันที่ค้นข้อมูล: 17 มิถุนายน 2556). • Typewriter. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://en.wikipedia.org/wiki/Typewriter. (วันที่ค้นข้อมูล: 17 มิถุนายน 2556). • Pluethipol Prachumphol. The Origins of Thai Typewriter Great Pride: The World Must Note. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://www.talkingmachine.org/. (วันที่ค้นข้อมูล: 17 มิถุนายน 2556). • ชนธัญ วัฒนสุทธิ์. คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่องานอาชีพ. (2556). กรุงเทพมหานคร: บริษัท คอมพิวเตอร์ เอจ เทคโนโลยี จำ�กัด.

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 48


หน่วยที่ 2

การบำ�รุงรักษาเครื่องพิมพ์ดีดและคอมพิวเตอร์/การใช้โปรแกรม Word

สาระการเรียนรู้

1. การบำ�รุงรักษาเครื่องพิมพ์ดีดและคอมพิวเตอร์ 2. ทบทวนแป้นเหย้า 3. แป้นอักษร E G U .

สมรรถนะ

1. บำ�รุงรักษาเครื่องพิมพ์ดีดและคอมพิวเตอร์เป็น 2. วางนิ้วบนแป้น E G U .ได้ถูกต้อง 3. ก้าวนิ้วจากแป้นเหย้า ไปวางที่แป้นอักษร E G U . ได้ถูกวิธี 4. ก้าวนิ้วจากแป้นเหย้า ไปเคาะที่แป้นอักษร ก้าวนิ้วจากแป้นเหย้า ไปเคาะที่แป้นอักษร E G U . ได้ถูกต้องแม่นยำ�

แบบฝึกหัด

2.1 เริ่มฝึกทักษะการพิมพ์ด้วยตัวท่านเอง การเคาะแป้นอักษร E G U . 2.2 เริ่มฝึกทักษะการพิมพ์ด้วยตัวท่านเอง การเคาะแป้นอักษร E G U . 2.3 การพิมพ์ประโยค E G U .

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 49


คาบที่ 4 การดูและรักษาเครื่องพิมพ์ดีด เครื่องพิมพ์ดีดหรือเครื่องพิมพ์ดีดไฟฟ้าก็ดีนั้น ในปัจจุบันลดบทบาทลงในธุรกิจทั่วไปเป็นอัน มากเนื่องจากลดความนิยมลงไปและมีเครื่องคอมพิวเตอร์พร้อมเครื่องพิมพ์เจ้ามาแทนที่ เพราะใช้ งานสะดวกและเรียบร้อยมากกว่า อีกทั้งยังประหยัดค่าซ่อมแซมเครื่องพิมพ์ดีดที่มีราคาแพงอีกด้วย อย่างไรก็ดีหากในสำ�นักงานยังคงมีเครื่องพิมพ์ดีดไว้ใช้งานในบางครั้ง เราก็ควรจะหมั่นดูแลรักษาไว้ใช้ งานเมื่อมีความจำ�เป็น

การดูแลรักษาประจำ�วัน

1. เมื่อเปิดผ้าคลุมออกควรพับเก็บให้เรียบร้อย ไม่เกะกะบริเวณทำ�งาน 2. เมื่อเลิกใช้ควรทำ�ความสะอาดด้วยการใช้แปรงขนอ่อนปัดฝุ่นออก 3. เคลียร์แท็ปที่ตั้งไว้ทั้งหมดออก 4. เลื่อนกั้นหน้าและกั้นหลังไว้ตรงจุดกึ่งกลางของแคร่ 5. เปิดคันโยกฟรีกระดาษ 6. เปิดคันโยกฟรีบรรทัด 7. ปรับปุ่มพิมพ์หนัก-เบา อยู่ในตำ�แหน่งที่เบาที่สุด 8. ทำ�ความสะอาดใต้เครื่องพิมพ์ดีด 9. ใช้ผ้าคลุมเครื่องให้เรียบร้อย

การบำ�รุงรักษาประจำ�สัปดาห์

1. สำ�รวจเครื่องพิมพ์ว่ามีส่วนใดชำ�รุดบ้างทุกสัปดาห์ 2. ใช้แปรงขนอ่อนปัดทำ�ความสะอาด บริเวณก้านตัวอักษรและตัวอักษร จากโคนก้านมายังปลาย ก้าน และใช้แปรงทองเหลืองทำ�ความสะอาดบริเวณหน้าตัวอักษร หรือใช้ดินน้ำ�มันทำ�ความ สะอาดแทนได้ 3. ใช้สำ�ลีหรือผ้าสะอาดจุ่มแอลกอฮอล์เช็ด ลูกยางใหญ่และลูกยางป้อนกระดาษ ไปตามแนวยาว ของลูกยางโดยรอบ 4. หากมีการพิมพ์กระดาษไขเป็นประจำ� ควรทำ�ความสะอาดลูกยางใหญ่และลูกยางป้อนกระดาษ ทุกครั้งหลังจากที่พิมพ์ไขเสร็จ และไม่ควรทิ้งกระดาษไขไว้ในเครื่องพิมพ์ พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 50


การบำ�รุงรักษาประจำ�เดือน

1. ตรวจเช็คผ้าพิมพ์ และเปลี่ยนเมื่อตัวอักษรมีสีจางลง ความถี่ในการเปลี่ยนผ้าพิมพ์ขึ้นกับชนิดหรือ ปริมาณการใช้งาน 2. ลูกยางป้อนกระดาษหน้า – หลัง อาจจะบวมหรือแตก เนื่องมาจากการพิมพ์กระดาษไขบ่อย ๆ โดนน้ำ�ยาลบคำ�ผิด และสภาพภูมิอากาศรอบ ๆ ในกรณีเช่นนี้ต้องเปลี่ยนลูกยาง 3. ใช้เครื่องเป่า เป่าทำ�ความสะอาดทั้งเครื่อง 4. ควรหล่อลื่นในบางจุดดังนี้ บริเวณราวเซต ร่องทางเดินลูกปืนแคร่ รางลูกปืนชิ๊ฟ ราวกั้นหน้า กั้น หลัง เป็นต้น

การบำ�รุงรักษาประจำ�ปี การบำ�รุงรักษาประจำ�ปีนั้น ก็เป็นไปในด้านการถอดล้างเครื่องพิมพ์ดีด ซึ่งทุกปีถ้าเป็นไปได้ควร ทำ�การล้างสักครั้ง เพื่อให้คราบน้ำ�มัน คราบเศษผง เศษยางลบที่ตกค้างอยู่ออกให้หมดและหยอดน้ำ� มันหล่อลื่นใหม่ เพราะอาการขัดข้องของเครื่องพิมพ์ดีดก็ขึ้นอยู่กับองค์ประกอบดังกล่าวได้ เมื่อ ทำ�การล้างทำ�ความสะอาดและหล่อลื่นใหม่ ก็สามารถใช้งานได้ดังเดิม

ข้อควรระวังในการใช้เครื่องพิมพ์ดีด

1. ไม่ควรใส่กระดาษสำ�เนาเกิน 5 แผ่น สำ�หรับกระดาษบาง และ 4 แผ่น สำ�หรับกระดาษหนา 2. ไม่ควรใส่ผ้าหมึกกลับทาง 3. อย่าลบคำ�ผิดในเครื่องพิมพ์ ควรใช้วิธีเลื่อนแคร่ไปสุดด้านใดด้านหนึ่ง 4. เมื่อเลิกใช้เครื่อง ควรโยกคันโยกเปิดฟรีกระดาษ 5. อย่าดึงกระดาษออกจากเครื่อง โดยไม่ได้ดึงค้นโยกฟรีกระดาษ 6. ควรอ่านคู่มือที่แนบมากับเครื่อง ก่อนใช้เครื่องพิมพ์ดีด 7. อย่านำ�หนังสือหรือสิ่งของต่าง ๆ วางไว้บนแคร่ของเครื่องพิมพ์ดีด 8. อย่าเท้าแขนบนฝาครอบและแป้นพิมพ์

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 51


คาบที่ 5 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องหน่วยที่ 2 ขึ้นแป้นใหม่ การพิมพ์อักษรแป้น E G U .

ผังแป้น E G U .

แป้น E ใช้นิ้วกลางซ้ายก้าวขึ้นแถวบน

แป้น G ใช้นิ้วชี้ซ้ายก้าวออกมาด้านข้าง พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 52


แป้น U ใช้นิ้วชี้ขวาก้าวขึ้นไปด้านบน

แป้น . ใช้นิ้วนางขวาก้าวลงมาด้านล่าง การก้าวนิ้ว ตามปกติจะต้องวางนิ้วอยู่ที่แป้นเหย้าประจำ� ให้ก้าวนิ้วไปพิมพ์ทีละนิ้ว เมื่อพิมพ์เสร็จ แต่ละนิ้ว ให้ดึงนิ้วกลับแป้นเหย้า ประจำ�นิ้วทันที

แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 2.1 คำ�สั่ง: ให้กั้นหน้า 20 เคาะ และกั้นหลัง 50 เคาะ แล้วพิมพ์ตามแบบด้านล่าง 10 บรรทัด

ded ded ded ded ded leak leak leak deal deal deal deal lake lake lake lake lake fgf fgf fgf full full flag flag flag deus dues dues juj juj juj fuse fuse glad glad glad juke juke jukeleg leg leg l..l l..l l..l due. due. due. ale. ale. ale. ale. l..l l...l ded ded fas lak las falk; deal deal deal lake lake lake deal deal deal lake lake lake lake deus dues dues juj juj juj fuse fuse;

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 53


แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 2.2 คำ�สั่ง: ให้กั้นหน้า 20 เคาะ และกั้นหลัง 50 เคาะ แล้วพิมพ์ตามแบบด้านล่าง 10 เที่ยว

ask ask jug jug jug jade jade jade sell sell sell see see see lad lad used used used used dead dead sad sad sad fed fed fed desk desk desk desk gass gass dug dug dug sue sue sue sale sale add; add; add; add; sell sell sell see see see lad lad sell sell sell see see see lad lad แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 2.3 การพิมพ์เป็นคำ� 1. ให้กั้นหน้า 20 เคาะ และกั้นหลัง 50 เคาะ แล้วพิมพ์ตามแบบด้านล่าง 10 เที่ยว 2. พิมพ์แบบจับเวลา 1 นาที โดยพิมพ์ตามแบบ ไม่ต่ำ�กว่า 10 จบ 3. เมื่อเสร็จแต่ละจบ ให้ตรวจทาน หาแป้นผิด วรรคผิด แล้วพยามปรับปรุง 4. หากไม่มีข้อผิดพลาดแล้ว ให้เร่งนิ้วขึ้น

Jas see us. Jude fells as asd as Lee. Dus fed use a saled. Sak sells use eggs. Da juggle a glass. A lad sees a lake. Jas see us. Juge fells as sad as Lee. Dus fed us a saled. Sak sells us eggs. Da juggle a glass. A lad sees a lake.

คำ�แนะนำ�การพิมพ์สัมผัสเพิ่มเติม 1. เมื่อพิมพ์คำ�ไหนผิดแล้วอย่าหยุดชะงัก ให้พยายามพิมพ์ต่อไปให้ต่อเนื่อง มากที่สุด 2. ให้กำ�หนดปลายทางของนิ้วที่จะเคาะเสมอ แล้วจึงปล่อยนิ้วออกไปที่แป้น อย่างรวดเร็วและรีบดึงนิ้วกลับมาที่แป้นเหย้าทันที

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 54


คาบที่ 6 การพิมพ์อังกฤษด้วยโปรแกรมประมวลผลคำ� โปรแกรมประมวลผลคำ� โปรแกรมประมวลผลคำ� (Word Processor) คือซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ (Computer Software) ที่ใช้ในการจัดทำ�เอกสารประเภทข้อความเป็นหลัก เช่นการจัดทำ�บันทึกข้อความ จดหมาย รายงานและหนังสือต่างๆ เป็นต้น

โปรแกรมประมวลผลคำ�ในยุคเริ่มต้น

ภาพหน้าจอ WordPerfect v. 5.1 for DOS

ภาพหน้าจอ WordStar for DOS

โปรแกรมประมวลผลคำ�ในยุคแรก (ตั้งแต่ช่วงปีคริสต์ทศวรรษ 1980) ที่คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (Personal Computer:PC) เริ่มเป็นที่แพร่หลายได้แก่ WordPerfect XyWrite Microsoft Word เป็นต้น ซึ่งในช่วงเวลานั้น โปรแกรมเหล่านี้ทำ�งานบนระบบปฏิบัติการ DOS และ ใช้คำ�สั่งข้อความในการทำ�งานโปรแกรมเป็นส่วนใหญ่ ยัง ไม่มีกราฟิกสวยงามเหมือนโปรแกรมสมัยใหม่ในปัจจุบัน ส่วนคอมพิวเตอร์ชนิด Macintosh ซึ่งจำ�หน่ายโดยบริษัท Apple มีโปรแกรม MacWrite ทีใ่ ช้ในงานประมวลผลคำ� ในประเทศไทยนั้นในยุคเริ่มแรกโปรแกรมประมวลผล คำ�ที่เป็นที่นิยมใช้คือโปรแกรม WordStar ซึ่งสามารถใช้ งานในภาษาอังกฤษได้อย่างเดียว ต่อมาในปี 2529 นาย แพทย์ชุษณะ มะกรสาร ได้สร้างโปรแกรมราชวิถี หรือชื่อ อย่างไม่เป็นทางการ ราชวิถีเวิร์ด (หรือเวิร์ด-ราชวิถี) ซึ่ง เขียนจากภาษาแอสเซมบลี (Assembly) ทั้งหมด ต่อมา จึงเกิดโปรแกรม CU Writer ขึ้นในปี 2532 และเปิดให้ใช้ เป็นโปรแกรมสาธารณะ

ภาพหน้าจอ ราชวิถีเวิร์ด พีซี (RW) for DOS

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 55


โปรแกรม Microsoft Word

ภาพหน้าจอ Microsoft Word v. 5.0 for DOS (v.1.0-5.0 หน้าจอคล้ายกันหมด)

ส่ ว นโปรแกรมที่ มี ก ารพั ฒ นาอย่ า ง ยาวนานและถู ก ใช้ แ พร่ ห ลายมากใน ปัจจุบัน คือโปรแกรม Microsoft Office Word โดยบริษัทไมโครซอฟต์ (Microsoft) ประเทศสหรัฐอเมริกา ที่ถูกพัฒนาตั้งแต่ปี 1983 ในชื่อ “Multi-Tool Word” สำ�หรับ ระบบปฏิบัติการ Xenix และ MS-DOS ต่อ มาจึงถูกเปลี่ยนชื่อเป็น Microsoft Word

ในปี 1991 Microsoft Word 5.5 บน MS-DOS เป็นเริ่มเป็นที่แพร่หลายอย่างสูง โดยเริ่มมีการใช้เมาส์ในการสั่งงานโปรแกรมเป็นครั้งแรก จากนั้น Microsoft จึงผลิต Microsoft Word 1.0 ตามด้วยเวอร์ชั่น 2.0 บน Microsoft Windows ในปีเดียวกัน และเริ่มเปลี่ยนมาใช้เวอร์ชั่นในรูปแบบแบบปีคริสตศักราชในปี 1995 คือ Microsoft Word 95 ออกจำ�หน่าย Microsoft ได้พัฒนาโปรแกรม Word เรื่อยมาจนถึง Microsoft Word 2007 ในปี 2007 เป็นครั้ง แรกที่ Microsoft ได้ใช้นามสกุลไฟล์ .docx แทนที่นามสกุลไฟล์ .doc ที่ได้ใช้มาแต่เริ่มแรก และได้ใช้ ระบบแถบริบบอน (Ribbon Bar) เป็นครั้งแรกแทน Tool Bar และได้รับความนิยมใช้อย่างแพร่หลาย จนปัจจุบัน อย่างไรก็ดีแม้ว่าปัจจุบันจะ Microsoft จะได้ผลิต Microsoft Word จนถึงเวอร์ชั่น 2010 แต่ Microsoft Word 2007 ก็คงจะยังมีบางองค์กรใช้งานอีกระยะหนึ่ง เนื่องจากองค์กรต่างๆ มีต้นทุนใน การจัดหาและใช้เวลาในเรียนรู้การประยุกต์ใช้ซอฟต์แวร์ในระบบนั่นเอง

ภาพหน้าจอ Microsoft Word 2010

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 56


โปรแกรม OpenOffice.org นอกจากโปรแกรม Microsoft Word แล้วนั้น ยังมีโปรแกรมประมวล ผลคำ� OpenOffice.org Writer ซึ่ง เป็นส่วนหนึ่งของชุด OpenOffice. org หรือเรียกสั้นๆ ว่า OOo หรือ OpenOffice ซึ่งประกอบด้วยส่วน อื่นๆ เช่นโปรแกรมตาราง โปรแกรม นำ�เสนอผลงาน โปรแกรมฐานข้อมูล OOo เป็นโปรแกรมแบบ “open source” โดยหมายถึงโปรแกรมที่ ถูกพัฒนาโดยกลุ่มนักเขียนโปรแกรม อิสระ เปิดให้ใช้ฟรีโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย

ภาพหน้าจอ OpenOffice.org Writer

เดิม OOo ถูกพัฒนามาจากโปรแกรม StarOffice ซึ่งต่อมาถูกบริษัท Sun Microsystem ประเทศ สหรัฐอเมริกา เข้าซื้อ และถูกเปิดเผย Source Code (ข้อมูลการเขียนโปรแกรม) สู่สาธารณะในปีค.ศ. 1999 เพื่อให้นักเขียนโปรแกรมอิสระเข้าพัฒนาโปรแกรมโดยสังคมออนไลน์ ปัจจุบัน บริษัท IBM (International Business Machines) ประเทศสหรัฐอเมริกา ได้เข้ามาร่วมพัฒนา OOo โดยบรรจุเข้า เป็นส่วนหนึ่งของโปรแกรม Lotus Notes

โปรแกรม Google Docs: Document โปรแกรม Document ในระบบ Google Docs โดย บริษัท Google ประเทศสหรัฐอเมริกา เป็น โปรแกรมประมวลผลคำ�อีกรูปแบบหนึง่ ทีใ่ ช้เทคโนโลยี Cloud Computing โดยนิยมเรียกว่า ระบบ ประมวลผลแบบกลุ่มแมฆ ซึ่งโปรแกรมจะทำ�งานบน Browser (โปรแกรมท่องเว็ปไซต์ เช่น Internet

ภาพหน้าจอ Google Docs: Document พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 57


Explorer หรือ Firefox) โดยไม่ต้องติดตั้งโปรแกรมอื่นเพิ่มเติม การประมวลผลคำ�หลักจะถูกส่งไป ประมวลผลยังเครื่องข่ายที่ห่างไกลออกไปแล้วถูกส่งกลับมายังเครื่องคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้งาน โดย โปรแกรม Document นี้จะมีลักษณะเรียบง่าย จึงทำ�งานได้ไม่ซับซ้อน (เวอร์ชั่นปัจจุบัน) เหมาะ สำ�หรับเอกสารข้อความทั่วๆ ไป งานที่ซับซ้อนอย่างเอกสารจดหมายราชการหรือจดหมายธุรกิจไทย จะทำ�ได้ไม่ดีนัก

การใช้งาน Microsoft Word เบื้องต้น การเปิดโปรแกรม

1. กด “ปุ่มเริ่ม” (Start Button) 2. เลือก All Programs >>เลือก Microsoft Office จากเมนู >> เลือก Microsoft Office Word 2010

ส่วนประกอบของแถบเครื่องมือในโปรแกรมชุด Word 2010

ภาพหน้าจอแสดงส่วนประกอบของ MS Office 2010

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 58


แถบเครื่องมือของ MS Word รุ่น (เวอร์ชั่น) 2010 นั้นมีส่วนประกอบดังต่อไปนี้ 1. แถบเครื่องมือลัด (Quick Access Toolbar) ประกอบด้วยปุ่มลัดต่างๆ ที่สามารถกำ�หนดเอง ได้ตามต้องการโดยการกดปุ่มลูกศรชี้ลงเพื่อเลือกปุ่มเพิ่มเติม 2. แถบเครื่องมือ (Ribbon Bar) ประกอบด้วยแท็บ เอกสาร (File) และแท็บอื่นๆ 3. กลุ่มเครื่องมือ (Group) คือกลุ่มของเครื่องมือต่างๆ ที่แบ่งตามประเภทการใช้งาน 4. กระดานด้านซ้ายและขวา (Left and Right Panel) กระดานที่อยู่ด้านซ้ายที่ใช้บ่อยคือ คลิปบอร์ด (Clipboard) ส่วนกระดานที่ใช้บ่อยทางด้านขวาคือ รูปแบบ (Style) 5. ไม้บรรทัด (Ruler) ทั้งแนวตั้ง (ซ้าย) และแนวนอน (บน) โดยมี ไอคอน View Ruler (ดูไม้บรรทัด) อยู่ท้างด้านขวาบนของไม้บรรทัด 6. เอกสาร (Document) บริเวณนีแ้ สดงเอกสารทีก่ �ำ ลังเปิดอยู่ โดยมุมมองจะ กำ�หนดได้ทแ่ี ท็บ View หรือ View Controls (ข้อ 11.) ด้านล่าง เช่น แบบ เหมือนพิมพ์ หรือ แบบเอกสารร่าง 7. ตัวบอกเลขหน้า (Page Indicator) บอกเลขหน้าปัจจุบันและบอก จำ�นวนหน้าทั้งหมดในเอกสาร เมื่อคลิ๊กที่นี่จะเปิดหน้าต่าง Find and Replace ขึ้นมา ใช้สำ�หรับค้นหาและแทนที่คำ� 8. ตัวบอกจำ�นวนคำ� (Word Indicator) บอกจำ�นวนคำ�ที่มีอยู่ใน ภาพหน้าจอหน้าต่าง Word Count เอกสาร และเมื่อคลิ๊กที่นี่จะเปิดหน้าต่าง Word Count ขึ้นมาเพื่อ แสดงข้อมูลเกี่ยวกับคำ� ตัวสะกด ย่อหน้า และบรรทัดในเอกสาร 9. ตัวตรวจทาน (Proof Indicator) แสดงจุดที่ต้องตรวจทาน เพราะ อาจมีคำ�ผิด หรือในภาษาอังกฤษ อาจมีคำ�ซ้ำ� ไวยากรณ์ผิด หรือเว้น วรรคระหว่างคำ�มากเกินไป คลิ๊กที่ปุ่มเพื่อแสดงจุดที่ต้องแก้ไข โดย โปรแกรมมีการแนะนำ�คำ�ที่ถูกต้องให้ด้วย 10. ปุ่มภาษา (Language) แสดงภาษาที่ใช้บนแป้นพิมพ์ปัจจุบัน หาก กดปุ่มสลับภาษา “~” (Grave Accent ซึง่ อยูม่ มุ ซ้ายบนของคียบ์ อร์ด) ภาษาทีแ่ สดงอยูบ่ นปุม่ ก็จะเปลีย่ นไป ภาพหน้าจอเมือ่ กดปุม่ Proof Controls 11. ปุ่มควบคุมมุมมอง (View Controls) เป็นกลุ่มของปุ่มที่จะควบคุม มุมมองที่กำ�ลังทำ�งานอยู่ประกอบด้วย Print Layout (แสดงเหมือน ภาพหน้าจอ View Controls พิมพ์) Full Screen Reading (แสดงเต็มหน้าจอสำ�หรับอ่าน) Web Layout (แสดงแบบเว็บ) Outline (แสดงแบบโครงร่างเนื้อหา) Draft (แสดงแบบร่าง) 12. ปุ่มย่อขยายมุมมอง (Zoom Controls) เป็นกลุ่มของเครื่องมือที่ใช้ 1. Print Layout ในการย่อขยายมุมมองของเอกสารเพื่อให้สะดวกต่อการทำ�งาน เช่น 2. Full Screen Reading ขยายเข้าเพื่อตรวจทานตัวสะกด หรือย่อเล็กลงให้เห็นทั้งหน้าเพื่อดู 3. Web Layout รูปแบบการจัดเอกสาร 4. Outline 5. Draft พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 59


คลิ๊กเพื่อย่อมุมมอง แสดง%การย่อ/ขยาย คลิ๊กเพื่อเลือก % ขนาดการแสดงเอกสาร

เลื่อนซ้าย/ขวาเพื่อย่อ/ขยาย

ภาพหน้าจอ Zoom Controls

คลิ๊กเพื่อขยายมุมมอง

แท็บ File

1. ปุ่ม “ Save” ใช้เพื่อจัดเก็บไฟล์ที่ทำ�งานอยู่ ถ้ายังไม่มีการตั้งชื่อไฟล์มาก่อน โปรแกรมจะให้ตั้ง ชื่อไฟล์ และถ้ามีชื่อไฟล์แล้วโปรแกรมจะจัดเก็บทับลงชื่อเดิม สามารถเลือกนามสกุลของเอกสาร ได้หลากหลายแบบ 2. ปุ่ม “Save As” ใช้เพื่อบันทึกเอกสารปัจจุบันไว้ในแฟ้มอื่นหรือบันทึกเป็นรูปแบบอื่น เช่นเป็น เวอร์ชั่นที่เก่ากว่าสำ�หรับ Word 2003 หรือใช้เพื่อเปลี่ยนชื่อเอกสารก่อนหรือหลังจากแก้ไขแล้ว เป็นชื่ออื่นเพื่อเก็บเอกสารเดิมไว้ 3. ปุ่ม “Open” ใช้เพื่อเปิดเอกสารจากแฟ้มที่ต้องการ 4. ปุ่ม “Close” ใช้สำ�หรับปิดโปรแกรม 5. ปุ่ม “Info” ใช้เพื่อตั้งค่าหรือดูข้อมูลของเอกสาร และเพื่อ ตั้งค่าสำ�หรับการทำ�งานร่วมกัน โดยมีปุ่ม Protect Document เพื่อตั้งค่า Permission สำ�หรับกำ�หนดการเข้าถึงของ ผู้ใช้และผู้ใช้คนอื่นเมื่อเปิดเอกสารนี้ ปุ่ม Check for Issues เพื่อตั้งค่า Prepare for Sharing หรือการแบ่งปันเอกสาร เพื่อดูหรือแก้ไขเอกสารร่วมกัน โดยเน้นไปที่การตรวจว่ามีข้อมูลส่วนตัวในเอกสารหรือไม่ เหมาะ สำ�หรับผู้พิการหรือไม่ และตรวจว่าสามารถใช้กับโปรแกรม Word เวอร์ชั่นก่อนหน้านี้หรือไม่ และสุดท้ายปุ่ม Manage Version เพื่อจัดการ version ของเอกสาร พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 60


6. ปุ่ม “Recent” ใช้เพื่อดูเอกสารที่เพิ่งเปิดล่าสุด สามารถกดไอคอน Pin หรือหมุดที่อยู่ด้านหลัง ชื่อและแฟ้มเอกสาร เพื่อกำ�หนดให้แสดงหรือยกเลิกการแสดงรายการเอกสารนั้นๆ ให้ อยู่บน กระดานนี้เมื่อเปิดใช้งานโปรแกรม เลือก “Quick access the number of Recent Document เพื่อกำ�หนดจำ�นวนรายการชื่อไฟล์ที่เปิดใช้ล่าสุด และสามารถเลือก “Recover Unsaved Document” เพื่อเรียกคืนไฟล์ที่ยังไม่ได้จัดเก็บขณะที่โปรแกรมปิดตัวลงโดยไม่ได้คาดหมาย 7. ปุ่ม “New” ใช้เพื่อสร้างเอกสารใหม่ 8. ปุ่ม “Print” เป็นปุ่มสำ�หรับการจัดการด้านการพิมพ์ 9. ปุ่ม “Save & Send” ใช้สำ�หรับจัดเก็บเอกสารเป็นรูปแบบอื่น แล้วส่งด้วยโปรแกรมหรือแบ่งปัน ไปยังผู้อื่น 10. ปุ่ม “Help” ใช้สำ�หรับเปิดการช่วยเหลือเมื่อเกิดปัญหาการใช้งานหรือต้องการเรียนรู้การใช้งาน โปรแกรม 11. ปุ่ม “Add-Ins” ใช้เพื่อเปิดตัวเลือกของโปรแกรมเสริมที่ถูกติดตั้งบนเครื่องคอมพิวเตอร์ เช่น หากมีการติดตั้งโปรแกรม Adobe Acrobat ก็จะมีตัวเลือกเพื่อจัดการไฟล์ .pdf 12. ปุ่ม “Options” ใช้เพื่ือเปิดหน้าต่าง Word Options เพื่อตั้งค่าการใช้งานโปรแกรมขั้นสูง 13. ปุ่ม “Exit” ใช้เพื่อออกจากโปรแกรม โดยโปรแกรมจะถามว่าจะจัดเก็บโปรแกรมหรือไม่หากการ แก้ไขเอกสารยังมิได้ถูกจัดเก็บ

การสร้างเอกสารใหม่

1. กดแท็บ File 2. เลือก “New” โปรแกรมจะเปิดหน้าต่างขึ้นมา 3. เลือก “Blank Document” 4. เลือก “Create”

การจัดเก็บเอกสาร

1. เลือกแท็บ File 2. เลือก จัดเก็บ “Save” หรือ จัดเก็บ เป็น “Save as…” 3. ตั้งชื่อไฟล์ 4. กดปุ่ม “Save”

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 61


ข้อแตกต่างระหว่าง “Save” และ “Save as…” • ปุ่มจัดเก็บ (Save) หากเอกสารยังไม่ถูกตั้งชื่อโปรแกรมจะให้ผู้ใช้ตั้งชื่อก่อน หากมีชื่อเอกสาร แล้วจะไม่มีการถามชื่อเอกสารอีกแต่จะเก็บบันทึกลงบนเอกสารปัจจุบันที่เปิดอยู่ • ปุ่มจัดเก็บเป็น (Save as…) โปรแกรมจะเปิดให้ตั้งชื่อเอกสารใหม่ หากจัดเก็บในชื่อเดิม โปรแกรมจะให้ยืนยันในการจัดเก็บทับบนเอกสาร ข้อมูลเดิมจะถูกทับด้วยข้อมูลใหม่และไม่ สามารถเรียกคืนกลับมาได้

การปิดเอกสาร การปิดเอกสารแต่ไม่ปิดโปรแกรม เพื่อสามารถเปิดเอกสารใหม่หรือเอกสารอื่นมาใช้ได้ทันที ไม่ ต้องรอการเปิดโปรแกรมขึ้นมาใช้ใหม่ 1. ให้เลือกแท็บ File 2. แล้วเลือก Close แต่หากยังไม่ได้จัดเก็บเอกสารโปรแกรมจะถามให้จัดเก็บเอกสารหรือไม่ • กดปุ่ม “Yes” จะเหมือนการกดปุ่ม “Save” โปรแกรมจะจัดเก็บทับลงบนชื่อปัจจุบัน หาก ยังไม่ได้ตั้งชื่อเอกสารโปรแกรมจะให้ตั้งชื่อก่อนปิดเอกสาร • กดปุ่ม “No” โปรแกรมจะไม่ทำ�การจัดเก็บการเปลี่ยนแปลงหลังจากการบันทึกครั้งสุดท้าย • กดปุ่ม “Cancel” โปรแกรมจะยกเลิกการปิดเอกสาร แล้วกลับไปยังเอกสารที่เปิดอยู่ ปัจจุบัน

การปิดโปรแกรม

• ปิดโดยการใช้ปุ่มกากบาท ที่มุมขวาบน จะปิดเอกสารปัจจุบัน หากเอกสารที่เปิดอยู่เป็น เอกสารสุดท้าย การใช้ปุ่มกากบาทจึงจะเป็นการปิดโปรแกรม • หากต้องการปิดโปรแกรม (ปิดเอกสารทั้งหมด) 1. กดปุ่ม Office 2. เลือกมุมขวาล่าง “Exit Word” โปรแกรมจะปิดเอกสารทีละอันจนหมด

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 62


การใช้แถบเครื่องมือเบื้องต้น (Ribbon) แท็บ Home ในการใช้เครื่องมือในแท็บ Home นั้น ผู้ใช้จำ�เป็นจะต้องมีทักษะการเลือกข้อความเพื่อปรับแต่ง ข้อความตามวัตถุประสงค์

การเลือกข้อความ • การเลือกข้อความโดยใช้เมาส์ลาก 1. คลิ๊กเมาส์เพื่อตำ�แหน่งเคอร์เซอร์ที่หัวหรือท้ายข้อความ 2. แล้วลากเมาส์ไปยังตำ�แหน่งท้ายข้อความ (หรือหัวข้อความ) โดยไม่ต้องปล่อยคลิ๊ก 3. ปล่อยคลิ๊กเมื่อแถบสีดำ�คลุมข้อความที่ต้องการทั้งหมด

คลิ๊ก

ปล่อย ลาก

• การเลือกข้อความโดยการใช้เมาส์ + Shift 1. คลิ๊กเมาส์เพื่อตำ�แหน่งเคอร์เซอร์ที่หัวหรือท้ายข้อความ 2. กด Shift พร้อมกับคลิ๊กที่ท้ายข้อความ (หรือหัวข้อความอีกด้านหนึ่ง)

คลิ๊ก

คลิ๊ก+Shift

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 63


เมนู คลิปบอร์ด (Clipboard) เมนูคลิปบอร์ดนั้นมีปุ่มต่างๆ ดังนี้ 1. Cut 2. Copy 3. Format Painter 4. Paste การคัดลอก (Cut) เมื่อต้องการตัดให้ทำ�ดังนี้ a. ทำ�การเลือกข้อความ วัตถุ รูปร่างหรือกล่องข้อความ b. ทำ�อย่างใดอย่างหนึ่งต่อไปนี้ ข้อความที่ถูกเลือกจะหายไป 1. กดปุ่มตัด (Cut) ในแท็บ “Home” 2. หรือ คลิ๊กขวาเพื่อแสดงเมนูแล้วเลือก ตัด (Cut) 3. หรือ ใช้กด Ctrl +“X” c. กดเคอร์เซอร์ที่ตำ�แหน่งที่ต้องการวาง แล้วกดปุ่มวาง (Paste) โปรแกรมจะทำ�การวางข้อความหรือวัตถุนั้นๆ การคัดลอก (Copy) ในกรณีการคัดลอกจะคล้ายกับการตัดแต่ ข้อความหรือวัตถุที่ถูกเลือกจะไม่ถูกตัดออกไปจากเอกสาร (กด Ctrl + “C” แทนการกดปุ่ม “Copy”) คัดลอก/ระบายรูปแบบ (Format Painter) เป็นการจำ�เอารูปแบบของข้อความหรือวัตถุมาใช้ กับส่วนอื่นของเอกสาร สามารถคลิ๊กขวาเพื่อเรียกจากเมนูได้

a. เลือกข้อความหรือวัตถุที่ต้องการ แล้วกดปุ่มคัดลอกรูปแบบ เคอร์เซอร์จะมีรูปแปรงทาสี อยู่ด้านซ้ายมือ เพื่อแสดงสถานะพร้อมการระบายรูปแบบ b. เลือกข้อความหรือวัตถุที่ต้องการระบายรูปแบบโดยใช้เมาส์คลิ๊กเลือกวัตถุหรือลากคลุม ข้อความ โปรแกรมจะเปลี่ยนรูปแบบข้อความหรือวัตถุที่เลือกให้ตรงกับต้นแบบ

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 64


เมนู รูปแบบอักษร (Font)

เมื่อเลือกข้อความที่ต้องการแล้วสามารถตั้งค่ารูปแบบอักษรได้ดัวยปุ่มต่อไปนี้ 1. รูปแบบตัวอักษร (Font Type) ผู้ใช้สามารถเลือกฟอนต์ต่างๆ 2. ขนาดตัวอักษร (Font Size) ปรับขนาดตัวอักษร (ปรกติจดหมายใช้ 16 pt) 3. เพิ่มขนาดตัวอักษร (Grow Font) กดเพื่อเพิ่มขนาดอักษร 4. ลดขนาดตัวอักษร (Shrink Font) กดเพื่อลดขนาดอักษร 5. เปลีย่ นตัวพิมพ์ขอ้ ความ (Change Case) เปลีย่ นตัวพิมพ์ใหญ่หรือตัวพิมพ์เล็กสำ�หรับคำ�ในภาษาอังกฤษ เช่น ตัวพิมพ์ใหญ่ขน้ึ ต้นประโยค หรือ ตัวพิมพ์ใหญ่ทง้ั คำ�สำ�หรับชือ่ เฉพาะ 6. ล้างรูปแบบตัวอักษร (ทั้งบรรทัด) (Clear Formatting) เพื่อกลับไปใช้รูปแบบตั้งต้น 7. ตัวหนา (Bold) จัดรูปแบบเป็นตัวหนาสำ�หรับข้อความที่ต้องการเน้น 8. ตัวเอียง (Italic) จัดรูปแบบตัวเอียงสำ�หรับข้อความที่ต้องการความแตกต่างจากข้อความปรกติ เช่น ข้อความที่นำ�มาจากผู้อื่น เป็นต้น 9. ขีดเส้นใต้ (เลือกแบบ/สีของเส้นใต้ได้) (Underline) 10. ขีดฆ่า (Strikethrough) 11. ตัวห้อย (Subscript) 12. ตัวยกกำ�ลัง (Superscript) 13. ลักษณะพิเศษ (Text Effect) 14. ใส่สีเน้นข้อความ (Text Highlight Color) 15. ใส่สีตัวอักษร (Font Color) พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 65


การเปลี่ยนตัวใหญ่/เล็ก (Change Case) สามารถเลือกได้ดังนี้ • เปลี่ยนเป็นรูปแบบประโยค (Sentence case) ต้องเลือกทั้งประโยคภาษาอังกฤษให้ถูกต้อง ควรระวังคำ�นามที่ไม่ใช่คำ�ทั่วไป จะถูกเปลี่ยนผิดไป • เปลี่ยนเป็นตัวเล็กหมด (lowercase) • เปลี่ยนเป็นตัวใหญ่หมด (UPPERCASE) • เปลี่ยนตัวอักษรขึ้นต้นคำ�เป็นตัวใหญ่ (Capitalize Each Word) แต่ละคำ�ในประโยคจะขึ้นต้นด้วยตัวอักษรตัวใหญ่ (Capital Letter) • เปลี่ยนสลับตัวเล็ก/ตัวใหญ่ (tOGGLE cASE)

สัญลักษณ์ที่มองไม่เห็น ก่อนจะไปรู้จักการตั้งค่าย่อหน้าจะต้องรู้จัก สัญลักษณ์ที่มองไม่เห็นในเอกสาร สัญลักษณ์ที่มองไม่เห็นจะถูกใช้แทนส่วนประกอบ ของประโยค โดยสามารถเปิดปิดได้ด้วยปุ่ม ¶ • สัญลักษณ์ “ ฺ ” แทนเครื่องหมายเว้นวรรคในประโยค • สัญลักษณ์ “¶” แทนเครื่องหมายขึ้นย่อหน้าใหม่ หรือการกด “Enter” แสดงการสิ้นสุดย่อหน้า • สัญลักษณ์ “ ” แทนเครื่องหมายแท็บ (Tab) • สัญลักษณ์ “ ” แสดงการตัดบรรทัด โดยยังไม่ขึ้นย่อหน้าใหม่ (กด Shift+Enter)

เมนู การตั้งค่ารูปแบบย่อหน้า (Paragraph)

การตั้งค่ารูปแบบย่อหน้าให้คลิ๊กเลือกที่ส่วนใดส่วนหนึ่งของย่อหน้า ต้องการ โปรแกรมจะประยุกต์รูปแแบบลงบนย่อหน้านั้นๆ

แล้วกดปุ่มตั้งค่ารูปแบบที่

1. ใส่สัญลักษณ์/จุดหน้าหัวข้อย่อย (Bullets) ใช้สร้างหัวข้อย่อยที่ไม่ต้องการลำ�ดับ 2. ใส่ลำ�ดับหัวข้อ (Numbering) ใช้สร้างหัวข้อย่อยที่ต้องการลำ�ดับ 3. จัดรูปแบบหัวข้อหลายชั้น (Multilevel List) ใช้สร้างหัวข้อย่อยที่ซอยย่อยลงไปหลายชั้น พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 66


4. ลดระยะชิดขอบซ้าย (Decrease Indent) ขยับระยะด้านซ้ายของย่อหน้า แต่ไม่ใช่ระยะของ bullet หรือ numbering ซึ่งจะอยู่ทางซ้ายของแนวนี้

10. จัดย่อหน้าชิดขวา (Align Text Right) 11. จัดย่อหน้าชิดขอบซ้ายขวา (Justify) คือการ จัดย่อหน้าให้ข้อความชิดทั้งขอบซ้ายและขวา แต่ สำ�หรับข้อความภาษาไทยอาจเลือกใช้ Thai Distributed แทนจะทำ�ให้ระยะวรรคดู เหมาะสมกว่าในกรณีทั่วๆ ไป

5. เพิ่มระยะชิดขอบซ้าย (Increase Indent) ขยับระยะด้านขวาของย่อหน้า 6. จัดเรียงลำ�ดับ (Sort) ใช้เรียงลำ�ดับของ bullet หรือ numbering

12. จัดย่อหน้าแบบไทย (Thai Distributed) คล้าย แบบ Justify แต่จะมีการปรับระยะหว่างตัวอักษร เพื่อลดระยะวรรคด้วย ทำ�ให้บรรทัดดูเต็มกว่า

7. เปิด/ปิดแสดงสัญลักษณ์ที่ซ่อนอยู่ (Show/Hide Paragraph Masks/ Symbols)

13. จัดระยะระหว่างบรรทัด (Line Spacing) 14. ใส่สีพื้นหลังข้อความ (Shading)

8. จัดย่อหน้าชิดซ้าย (Align Text Left)

15. ใส่เส้นขอบรอบข้อความ (Bordering)

9. จัดย่อหน้าอยู่กึ่งกลาง (Center)

การขึ้นลำ�ดับหัวข้อย่อย (ขั้นที่ต่ำ�กว่า)

ในกรณีที่มีหัวข้อย่อยให้กด Tab หรือ คลิ๊กปุ่ม ย่อยที่ต่ำ�กว่า

(เพิ่มระยะขอบ) หัวข้อหลักจะกลายเป็นหัวข้อ

การจัดการลำ�ดับหัวข้อให้ต่อเนื่องหรือเริ่มใหม่

1. คลิ๊กที่เลขลำ�ดับหัวข้อ จะแสดงพื้นหลังเป็นสีเทาทั้งชุดลำ�ดับ 2. คลิ๊กขวา เพื่อแสดงเมนู แล้วเลือก Continue Numbering เพื่อแสดงเลขลำ�ดับต่อจากเลขชุด ลำ�ดับก่อนหน้า หรือ เลือก “Restart at 1” เพื่อเริ่มลำ�ดับใหม่

เมนูการจัดรูปแบบ (Style) ผู้ใช้สามารถตั้งค่ารูปแบบข้อความ สามารถตั้งค่าให้นำ� ไปใช้ได้กับทั้งเอกสาร ทำ�ให้ประหยัดเวลาในการตั้งค่ารูป แบบที่มักจะประกอบด้วย ความสูง แบบฟอนต์ ตัวหนา หรือตัวเอียง แตกต่างกัน การใช้การจัดรูปแบบข้อความจึง ช่วยประหยัดเวลาได้มาก

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 67


1. รายการรูปแบบตัวอักษร (Style Menu) เลือก รูปแบบหัวข้อ ชื่อเรื่อง รูปแบบปรกติ และตั้งค่ารูป แบบเอง ผูใ้ ช้สามารถตัง้ ค่ารูปแบบเองโดยการกดเลือก จาก Style Library เมือ่ กดปุม่ drop down

2. เลือกรูปแบบตัวอักษรกลุ่มอื่น ผู้ใช้สามารถการจัดรูปแบบ ลักษณะอื่นที่มีอยู่แล้ว

การตั้งค่าลักษณะรูปแบบที่เลือกอยู่ให้ประยุกต์ใช้กับทั้ง เอกสาร (Update Style)

1. เลือกข้อความที่ใช้รูปแบบที่ต้องการตั้งค่ารูปแบบสำ�หรับทั้งเอกสาร 2. ปรับเปลี่ยนรูปแบบตามต้องการ 3. คลิ๊กขวาที่รูปแบบ (Style) ที่ต้องการเปลี่ยน เช่น Title หรือ Heading 1 4. เลือก “Update XXX to Match Selection” (XXX แทนรูปแบบที่เลือก)

เมนูจัดการ (Editing) 1. ค้นหา (Find) ค้นหาคำ�ที่ต้องการในเอกสาร 2. แทนที่ (Replace) แทนที่คำ�ในเอกสารด้วยคำ�ที่ต้องการ 3. เลือก (Select) ใช้เลือกทั้งเอกสาร เลือกวัตถุ หรือเลือกข้อความที่มีรูปแบบตรงกันกับที่เลือก อยู่ปัจจุบัน

แท็บ Insert

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 68


แท็บนี้รวบรวมเอาการแทรกวัตถุต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นข้อความ ตาราง รูปภาพ คลิปอาร์ท รูป ร่างต่างๆ สมาร์ทอาร์ท แผนภูมิ หัวกระดาษ/ท้ายกระดาษ หรือกล่องข้อความเป็นต้น เป็นการ แทรกวัตถุต่างๆ ไปยังจุดที่อยู่ของเคอร์เซอร์

เมนู Pages (แทรกหน้า)

1. Cover Page (แทรกปกหน้า) สามารถแทรกหน้าปกได้ หน้า ปกจะถูกแทรกเป็นหน้าแรกสุดของเอกสาร หน้าแรกสุดเดิมจะ ถูกเลื่อนลงมาหนึ่งหน้า 2. Blank Page (แทรกหน้าเปล่า) เป็นการแทรกหน้าเปล่าหนึ่ง หน้าก่อนจุดที่กดปุ่มแทรกหน้าเปล่า ข้อความหลังจุดนั้นจะเริ่ม ที่หน้าใหม่หลังหน้าเปล่า 3. Page Break (แทรกตัวแบ่งหน้า) เป็นคำ�สั่งเหมือนกับการ แทรกตัวแบ่งหน้าเหมือนในเมนู Page Layout เป็นการขึ้น หน้าใหม่ทันที

เมนู Tables (แทรกตาราง) 1. แทรกตารางอัตโนมัติ ผู้ใช้สามารถเลื่อนเมาส์ไปบนตัวอย่าง ตาราง โดยตัวอย่างของตารางที่เราจะสร้างจะขึ้นสีส้มให้เห็น ชัดเจน ดังตัวอย่างจะได้ตารางขนาด 5x5 2. Insert Table... ใช้เมนูสร้างตารางอย่างละเอียด (ดูหน้าถัด ไป) 3. Draw Table วาดตารางทีละเซลล์ (ช่อง) 4. Convert Text to Table... (ดูหน้าถัดไป) 5. Excel Spreadsheet แทรกตาราง Excel 6. Quick Tables สร้างตารางด่วน

การใช้ Insert Table

1. จำ�นวนคอลัมน์ 2. จำ�นวนแถว 3. กำ�หนดขนาดคอลัมน์เอง 4. พอดีกับเนื้อหาอัตโนมัติ 5. พอดีกับหน้าต่างอัตโนมัติ 6. จำ�ไปใช้กับตารางใหม่ พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 69


การใช้ Convert Text to Table...

การใช้ Convert Text To Table หรือ การแปลงข้อความเป็นตารางนั้นสามารถทำ�ง่ายๆ ดังนี้ 1. พิมพ์ข้อความโดยแต่ละบรรทัดแทนแถว และใช้ Tab เพื่อแบ่งคอลัมน์ และกด Enter เพื่อขึ้น แถว (บรรทัดใหม่) 2. เลือกคลุมข้อความที่ต้องการแปลงเป็นตาราง 3. กดปุ่ม แท็บ Insert>>Table>>Convert Text to Table... 4. เลือก “AutoFit to Content” แล้วกดปุ่ม OK 5. ข้อความที่ถูกเลือกจะกลายเป็นตารางทันที

เมนู Illustration (แทรกรูปประกอบ)

1. Picture (แทรกรูปภาพ) เลือกไฟล์รูปภาพเพื่อแทรกลงในเอกสาร 2. Clip Art (แทรกคลิปอาร์ท) แทรกคลิป-อาร์ทที่มีอยู่แล้วหรือจาก อินเตอร์เน็ตลงในเอกสาร 3. Shapes (แทรกรูปวาด) แทรกรูปทรงที่ต้องการเช่น สี่เหลี่ยม สามเหลี่ยม วงกลม รูปดาว ลูกศร และรูปทรงอื่นๆ ลงในเอกสาร 4. SmartArt (แทรกสมาร์ทอาร์ท) ตกแต่งตัวอักษรอัตโนมัติด้วยรูปแบบต่างๆ อัตโนมัติ 5. Chart (แทรกแผนภูมิ) แทรกแผนภูมิโดยการป้อนข้อมูล 6. Screenshot (แทรกสกรีนช็อต) แทรกคลิปรูปหน้าจอโดยไม่ต้องออกจากโปรแกรม

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 70


การแทรกรูปวาด (Insert Shapes)

1. กดปุ่ม “Shapes” 2. เลือกรูปวาดที่ต้องการจากเมนู 3. คลิ๊กแล้วลาก เพื่อสร้างรูปวาดที่ต้องการ

เมนู Header&Footer (แทรกหัวกระดาษท้ายกระดาษ)

1. Header (แทรกหัวกระดาษ) แทรกข้อความบนหัวกระดาษด้านบนอัตโนมัติ เช่น ชื่อองค์กร ชื่อเอกสาร ชนิดของเอกสาร หรือ วันที่ 2. Footer (แทรกท้ายกระดาษ) แทรกข้อความท้ายกระดาษ เช่น เลขหน้า ชนิด ของเอกสาร วันที่ หรือ ชื่อที่อยู่บริษัท 3. Page Number (แทรกเลขหน้า) แทรกเลขหน้าตามรูปแบบอัตโนมัติบนหัว กระดาษหรือท้ายกระดาษ

Tip:

สามารถคลิ๊กขวาที่ส่วนหัวหรือท้ายจดหมาย แล้วเลือก “Edit Header/Footer” เพื่อเข้าสู่โหมด จัดการหัว/ท้ายจดหมาย

เมนู Text (แทรกข้อความ)

1. Text Box (แทรกกล่องข้อความ) กล่องข้อความซึ่งสามารถเคลื่อนย้ายได้อิสระ 2. Quick Parts (แทรกส่วนของข้อความด่วน) แทรก วันที่ เวลา ชื่อไฟล์ จำ�นวน หน้า ได้ทันที 3. WordArt (แทรกตัวอักษรประดิษฐ์) แทรกตัวอักษรประดิษฐ์ทต่ี ง้ั ค่ารูปแบบอัตโิ นมัติ เหลือเพียงแต่เลือกรูปแบบแล้วพิมพ์ข้อความที่ต้องการลงไป พร้อมกับเลือก ฟอนต์ พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 71


4. Drop Cap (แทรกตัวอักษรใหญ่นำ�หน้า) ทำ�ตัวอักษรแรกสุดของย่อหน้าเป็นตัวใหญ่ 5. Microsoft Signature Line (แทรกบรรทัดลายเซ็นต์) 6. Date and Time (แทรกวันและเวลา) 7. Insert Object (แทรกวัตถุ/เอกสารข้อความ)

เมนู Symbols (แทรกสัญลักษณ์)

1. Equation (แทรกสัญลักษณ์สมการ) 2. Symbol (แทรกสัญลักษณ์ทั่วไป)

แท็บ Page Layout เมนู Page Setup (ตั้งค่าหน้ากระดาษ)

1. Margins (ระยะขอบ) สามารถเลือกระยะที่กำ�หนดให้ไว้เป็น มาตรฐานได้ หรือจะเลือกแบบกำ�หนดเองได้ (Custom Margins) 2. Orientation (การวางแนว) สามารถเลือกหน้ากระดาษแนว ตั้ง (Portrait) หรือแนวนอน (Landscape) ได้ 3. Size (ขนาด) สามารถเลือกขนาดของกระดาษตามมาตรฐานมากมาย 4. Columns (คอลัมน์) สามารถเลือกจำ�นวนคอลัมน์ต่อหนึ่งหน้ากระดาษได้ 5. Breaks (ตัวแบ่งหน้า) ตัวแบ่งหน้าคือสัญลักษณ์บอกโปรแกรมว่าให้ขึ้นหน้ากระดาษใหม่หรือ แบ่งส่วนของเอกสารเพื่อกำ�หนดรูปแบบต่างๆ กันได้ a. ตัวแบ่งหน้า (Page) เป็นตัวแบ่งให้ข้อความหลังจากตัวแบ่งนั้นเริ่มต้นที่หน้าใหม่ b. ตัวขึ้นคอลัมน์ใหม่ (Column) เป็นตัวแบ่งให้ข้อความหลังจากตัวขึ้นคอลัมน์ใหม่นั้นเริ่มต้นที่คอลัมน์ ถัดไป c. ตัวล้อมข้อความ (Text Wrapping) ตัวแยกข้อความออกจากข้อความล้อมรอบรูปภาพหรือวัตถุ (ใช้ สำ�หรับ Web Page) d. หน้าถัดไป (Next Page) คือตัวแบ่งส่วนกำ�หนดจุดเริ่มส่วนใหม่ที่หน้าถัดไป พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 72


e. ต่อเนื่อง (Continuous) คือตัวแบ่งส่วน กำ�หนดจุดเริ่มส่วนใหม่ในหน้าเดียวกัน f. หน้าคู่หรือหน้าคี่ (Odd or Even Page) คือตัวแบ่งส่วนกำ�หนดจุดเริ่มส่วนใหม่ที่หน้า คู่หรือหน้าคี่ถัดไป

ส่วนประกอบและเทคนิคอื่นๆ การเปลี่ยนหน่วยไม้บรรทัด

1. เลือกแท็บ File 2. กดปุ่ม “Options” 3. เลือกหัวข้อซ้ายมือ “Advance” 4. เลื่อนหน้าลงมาที่หัวข้อ “Display” 5. เลือก “Show measurements in units of:” เป็นหน่วยที่ต้องการ

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 73


การกั้นหน้าและกั้นหลัง

1. กั้นหน้า (Left Margin) คือ ระยะจากขอบกระดาษด้านซ้ายมือ 2. กั้นหลัง (Right Margin) คือ ระยะจากขอบกระดาษด้านขวามือ 3. เยื้องบรรทัดแรก (First Line Indent) คือ ระยะเริ่มต้นตัวอักษรตัวแรกของย่อหน้าบน บรรทัดแรก (เมื่อขึ้นย่อหน้าใหม่ แล้วกดปุ่ม “Tab” โปรแกรมจะจัดระยะเยื้องบรรทัดแรกให้ ทันที ค่ามาตรฐานที่ตั่งไว้คือ 0.5 นิ้ว หรือประมาณ 1.27 ซม.) 4. กั้นหน้าลอย (Hanging Indent) คือ ระยะที่บรรทัดที่สองและบรรทัดที่เหลือของย่อหน้าจะ เริ่มต้น

การเปลี่ยนค่าเริ่มต้นของระยะแท็บหยุดตั้งต้น ระยะแท็บหยุดตั้งต้นคือค่าระยะห่างระหว่างการกดปุ่มแท็บ บนคีย์บอร์ดแต่ละครั้งที่เอกสารนั้นๆ จะใช้ (ค่าเริ่มต้นเป็น 0.5 นิ้ว หรือ 1.27 ซม.) 1. ไปที่ Page Layout (หรือ Home) 2. ในเมนู Page Setup (หรือ Paragraph) เลือกปุ่มเรียก “Paragraph Window” 3. เลือกปุ่ม “Tabs…” 4. ใส่ค่าในช่อง “Default Tab Stops”

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 74


การกดปุ่มลัดบนคีย์บอร์ด (Keyboard Shortcuts) 1. Ctrl+C 2. Ctrl+X 3. Ctrl+V 4. Ctrl+Z 5. Ctrl+L 6. Ctrl+R 7. Ctrl+Shft+Spacebar 8. Ctrl+Hyphen 9. Ctrl+B 10. Ctrl +I 11. Ctrl +U 12. Ctrl +SHFT+< 13. Ctrl +SHFT+> 14. Ctrl +[ 15. Ctrl +] 16. Ctrl+F 17. Ctrl+Shift+G 18. Ctrl+ 19. Ctrl+

การคัดลอก การตัด การวาง การเลิกทำ� (คำ�สั่งล่าสุด) การจัดย่อหน้าชิดซ้าย การจัดย่อหน้าชิดขวา แทรกวรรคที่ถูกแยกไม่ได้ แทรกเครื่องหมาย “ ‘ “ ที่ถูกแยกออกไม่ได้(สำ�หรับภาษาอังกฤษ) ทำ�ตัวหนา ทำ�ตัวเอียง ขีดเส้นใต้ข้อความ ลดขนาดข้อความ เพิ่มขนาดข้อความ ลดขนาด 1 point เพิ่มขนาด 1 point ค้นหาคำ� นับจำ�นวนคำ�จำ�นวนอักษร (ปุ่มลูกศรชี้ขวา) ไปยังคำ�ถัดไป (ปุ่มลูกศรชี้ซ้าย) ไปยังคำ�ก่อนหน้า

การดูและรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์ การจัดสภาพแวดล้อม การระบายความร้อน เครื่ อ งคอมพิ ว เตอร์ เ มื่ อ ทำ � งานไปสั ก พั ก หนึ่ ง จะเกิ ด ความร้ อ นสะสมที่ แ ผงวงจร อิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ โดยเฉพาะชิพประมวล ผลทำ�ให้เครื่องคอมพิวเตอร์ต่างๆ มักมีการ ระบายความร้อนออกจากภายในเคส ดังนั้น ควรจั ด ตำ � แหน่ ง ของเครื่ อ งคอมพิ ว เตอร์ ใ ห้ มี การระบายอากาศออกทางด้านหลังหรือด้าน ข้างที่มีการระบายความร้อนได้ดี ไม่ชิดกำ�แพง หรือมอนิเตอร์ ที่จะทำ�ให้ปิดบังการระบาย พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 75


ความร้อน หากเป็นเครื่องโน๊ตบุ๊คหรือแล็ปท็อปที่ใช้สำ�หรับพกพาได้ มักจะมีการระบายความร้อนที่ ด้านล่าง เมื่อจำ�เป็นต้องใช้งานเป็นเวลานานๆ หรือใช้งานเป็นประจำ�บนโต๊ะ ควรจัดหาอุปกรณ์หนุน ตัวเครื่องให้เกิดช่องว่างระหว่างโต๊ะหรือตัวเครื่อง อาจจะมีพัดลมขนาดเล็กสำ�หรับดูดหรือเป่าลมร้อน ออกมา ไม่ควรวางบนผ้านุ่มหนา เบาะ หรือเก้าอี้โซฟา ที่มีความนุ่ม ควรหลีกเลี่ยงที่จะทำ�ให้เกิดการ อุดบังช่องระบายความร้อนออกจากภายในเครื่อง

การป้องกันกระแสไฟฟ้าดับหรือกระชาก ในบางพื้นที่กระแสไฟฟ้าอาจมาไม่สม่ำ�เสมอ หรือแม้แต่ในพื้นที่เมือง ซึ่งมีความคงที่ของกระแสไฟฟ้าก็อาจเกิดอุบัติเหตุไฟฟ้าดับ ไฟฟ้าตก หรือ ไฟฟ้ากระชากได้เป็นบางครั้ง แต่ความเสียหายอาจเกิดขึ้นได้กับเครื่อง คอมพิวเตอร์ หรือเอกสารที่กำ�ลังทำ�งานอยู่ดังนั้นจึงควรติดตั้งเครื่องสำ�รอง ไฟฟ้าหรือ UPS เพื่อป้องกันความเสียหายที่อาจตามมา

การป้องกันสนามแม่เหล็กไฟฟ้า เนื่องจากในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ อาจมีส่วนประกอบของแม่เหล็กอยู่ เช่น ลำ�โพง การวาง ตำ�แหน่งของอุปกรณ์นั้นๆ จึงสำ�คัญต่อการทำ�งานของอุปกรณ์ต่างๆ ร่วมกัน เช่น ลำ�โพงหากวางไว้ ใกล้หน้าจอมอนิเตอร์ อาจทำ�ให้เกิดการเหนี่ยวนำ�ของสนามแม่เหล็กทำ�ให้หน้าจอแสดงผลผิดเพี้ยน แสดงสีไม่สมบูรณ์ หรือหากวางใกล้ฮาร์ดดิสก์ที่มีจานแม่เหล็กก็อาจเกิดความเสียหายได้ จึงควรวาง อุปกรณ์เหล่านี้ให้ออกห่างจากอุปกรณ์อื่น

การทำ�ความสะอาด การทำ�ความสะอาดภายนอกของเคสและมอนิเตอร์ การทำ � ความสะอาดภายนอกของเคสควรปิ ด สวิ ท ช์ แ ละ ถอดปลั๊กไฟฟ้าออกก่อน ใช้ผ้าผ้าแห้งเช็ดทำ�ความสะอาดฝุ่น ภายนอกก่อน แล้วใช้ไมโครไฟเบอร์หรือผ้าทำ�ความสะอาด แว่นตาทำ�ความสะอาดเฉพาะส่วนของหน้าจอเพื่อไม่ให้เกิด รอยขีดข่วน ไม่ควรใช้น้ำ� แอลกอฮอล์ หรือทินเนอร์ ทำ�ความ สะอาดเพราะอาจเกิดความเสียหายได้ หากมีคราบเลอะ สกปรกควรใช้ น้ำ � ยาทำ � ความสะอาดภายนอกของเครื่ อ ง คอมพิวเตอร์เท่านั้น โดยควรศึกษารายละเอียดจากผู้ขายให้ ครบถ้วน และทดลองใช้ในบริเวณเล็กๆ และไม่เป็นที่สังเกตุก่อน เพื่อป้องกันการเกิดรอยหากน้ำ�ยา ทำ�ลายผิวของเครื่อง

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 76


การทำ�ความสะอาดภายในเคสคอมพิวเตอร์ เนื่องจากภายในเคสคอมพิวเตอร์เต็มไปด้วยแผงวงจรและสายไฟฟ้า สามารถเกิดการสะสมของ ฝุ่นละอองได้มาก จึงควรมีการทำ�ความสะอาดอยู่เสมอ 3-4 เดือนครั้ง หรืออย่างน้อยปีละครั้ง โดย ปูผ้าหรือกระดาษหนังสือพิมพ์เพื่อป้องกันพื้นผิวโต๊ะ ปิดสวิทช์และถอดปลั๊กไฟฟ้าออกก่อน ถอดสาย ไฟฟ้าที่เชื่อมต่ออยู่กับเคส แล้วจึงถอดฝาครอบออก จากนั้นจึงใช้เครื่องเป่าฝุ่นละอองตามแผงวงจร สายไฟฟ้า และพัดลมออกจนหมด ใช้ผ้าแห้งเช็ดฝุ่นที่เหลือตามส่วนต่างๆ และพัดลม จากนั้นจึงปิดฝา ครอบดังเดิม หากไม่มั่นใจหรือไม่สะดวกสามารถนำ�ไปให้ช่างประจำ�ร้านคอมพิวเตอร์ทำ�ความสะอาด ภายในได้

การทำ�ความสะอาดคีย์บอร์ดและเมาส์ การทำ�ความสะอาดคีย์บอร์ดให้คว่ำ�คีย์บอร์ดลง แล้วเคาะเบาๆ เพื่อให้ฝุ่นละอองหลุดออกมา หากมี เครื่องเป่าก็สามารถใช้เครื่องเป่าฝุ่นละอองออกมาได้ ส่วนเมาส์รุ่นใหม่ๆ มักเป็นแบบ Optical ซึ่งไม่ต้อง ดูแลรักษามากนอกจากพื้นผิวภายนอก หากสกปรก ให้ใช้ผ้าแห้งสะอาดเช็ด หรือใช้น้ำ�ยาทำ�ความสะอาด อุปกรณ์คอมพิวเตอร์เท่านั้น

การบำ�รุงรักษาเครื่องพิมพ์ (Printer) เนื่องจากหัวเข็มที่ใช้ในการพิมพ์เอกสารออกทางเครื่องพิมพ์ นั้นมีขนาดเล็กมาก จึงต้องมีการดูแลและบำ�รุงรักษาอยู่เสมอ โดยศึกษาจากคู่มือของเครื่องพิมพ์เป็นหลัก หากเครื่องพิมพ์เป็น ชนิดที่มีการติดตั้งแท็งค์หมึกเพื่อเติมหมึกได้นั้น จะต้องมีการ ดูแลรักษาสม่ำ�เสมอเพราะอาจอุดตันได้ง่ายกว่าเครื่องที่ไม่ได้มี การติดตั้งแท็งค์หมึก

การใช้งานเพื่อยืดอายุการใช้งาน การเปิดและปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์มากมาย เมื่อเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์จะ เกิดกระแสไฟฟ้ากระชากขึ้นสูงกว่าปรกติ ทำ�ให้หากเปิด-ปิดเครื่องคอมพิวเตอร์บ่อยครั้งจะทำ�ให้ วงจรอิเล็กทรอนิกส์ภายในเสื่อมสภาพหรือเสียหายได้เร็วขึ้น หากไม่มีความจำ�เป็นไม่ควรเปิดและปิด เครื่องคอมพิวเตอร์บ่อยๆ ควรตั้งค่าการทำ�งานของ Screensaver เพื่อรักษาหน้าจอคอมพิวเตอร์ไว้ ระหว่างที่มิได้มีการใช้งานระหว่างวัน พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 77


ป้องกันคอมพิวเตอร์จากความร้อนและแสงแดด นอกจากป้องกันความร้อนสะสมภายในเครื่องคอมพิวเตอร์แล้ว ควรใช้งานในที่มีอากาศถ่ายเท สะดวก หรือติดเครื่องปรับอากาศ เพราะจะทำ�ให้ระบายความร้อนได้ดี และหลีกเลี่ยงการใช้งานต่อ เนื่องเป็นเวลานาน นอกจะทำ�ให้ยืดอายุการใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์ได้แล้วนั้น การหยุดพักเพื่อลด ความเครียดและผ่อนคลายกล้ามเนื้อส่วนต่างๆ ยังดีสำ�หรับสุขภาพอีกด้วย

ป้องกันคอมพิวเตอร์จากฝุ่นละออง ฝุ่นละอองเป็นตัวการหนึ่งที่ทำ�ให้เครื่องคอมพิวเตอร์เสื่อมประสิทธิภาพลงหรือเกิดความเสียหาย เพราะฝุ่นละออกอาจไปทับถมและกีดขวางการเดินของกระแสไฟฟ้า ทำ�ให้การระบายความร้อน ทำ�ได้ไม่เต็มที่ หรือติดขัดอุปกรณ์ต่างๆ ให้เสียหายหรือทำ�งานได้ไม่เต็มที่ นอกจากนี้หากฝุ่นละออง เข้าไปยังภายในของเครื่องพิมพ์ (Printer) อาจทำ�ให้หัวเข็มของเครื่องพิมพ์เกิดการอุดตันเสียหายได้ ง่าย จึงควรใช้ผ้าคลุมเครื่องคอมพิวเตอร์และเครื่องพิมพ์ไว้เสมอเมื่อมิได้มีการใช้งาน หรือเสร็จสิ้นการ ใช้งานระหว่างวัน

หลีกเลี่ยงน้ำ�หรือความชื้น ควรหลีกเลี่ยงการนำ�เครื่องดื่มมารับประทานหรือวางไว้ในบริเวณทำ�งานระหว่างใช้งานเครื่อง คอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ทุกชนิด เพราะอุบัติเหตุเกิดขึ้นได้เสมอ หากมีน้ำ�หรือ ความชื้นเข้าภายในเครื่องคอมพิวเตอร์อาจจทำ�ให้เกิดการลัดวงจรได้ จะทำ�ให้แผงวงจรเกิดความเสีย หาย

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 78


แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 2 ขึ้นแป้นใหม่ การพิมพ์อักษรแป้น G U .

การก้าวนิ้ว ตามปกติจะต้องวางนิ้วอยู่ที่แป้นเหย้าประจำ� ให้ก้าวนิ้วไปพิมพ์ทีละนิ้ว เมื่อพิมพ์เสร็จ แต่ละนิ้ว ให้ดึงนิ้วกลับแป้นเหย้า ประจำ�นิ้วทันที

การเคาะแป้นอักษร E G U .

แป้น E ใช้นิ้วกลางซ้ายก้าวขึ้นแถวบน

แป้น G ใช้นิ้วชี้ซ้ายก้าวออกมาด้านข้าง

แป้น U ใช้นิ้วชี้ขวาก้าวขึ้นไปด้านบน

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 79


แป้น . ใช้นิ้วนางขวาก้าวลงมาด้านล่าง แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 2.1 วิธีใช้โปรแกรมและคำ�สั่ง: 1. กดปุ่ม”แบบฝึกหัด”เพื่อเข้าเมนู เลือกแบบฝึกหัดที่ 2.1 พิมพ์ตามโปรแกรม โดยให้ผ่านเกณฑ์ 100% หรือตามคำ�สั่งของครูผู้สอน และบันทึกผลการฝึกพิมพ์ทุกครั้ง เพื่อให้ผู้สอนบันทึกคะแนน การพิมพ์ ์ (สัญลักษณ์ ↵ คือ การเคาะ Space Bar ต่อเนื่องไม่ต้องกด Enter) 2. จากนั้นพิมพ์แบบด้านล่างลงในโปรแกรม Word กั้นหน้าและกั้นหลัง ข้างละ 1 นิ้ว 10 รอบ แล้วคำ�นวณความเร็วในการพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์จากแบบที่พิมพ์ (ซื่อสัตย์ต่อตนเอง ไม่ใช้แป้น Backspace)

ded ded ded ded ded leak leak leak deal deal deal deal lake lake lake↵ lake lake fgf fgf fgf full full flag flag flag deus dues dues juj juj juj fuse↵ fuse glad glad glad juke juke jukeleg leg leg l..l l..l l..l due. due. due. ale.↵ ale. ale. ale. l..l l...l ded ded fas lak las falk; deal deal deal lake lake↵ lake deal deal deal lake lake lake lake deus dues dues juj juj juj fuse fuse;

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 80


แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 2.2 วิธีใช้โปรแกรมและคำ�สั่ง: 1. กดปุ่ม”แบบฝึกหัด”เพื่อเข้าเมนู เลือกแบบฝึกหัดที่ 2.2 พิมพ์ตามโปรแกรม โดยให้ผ่านเกณฑ์ 100% หรือตามคำ�สั่งของครูผู้สอน และบันทึกผลการฝึกพิมพ์ทุกครั้ง เพื่อให้ผู้สอนบันทึกคะแนน การพิมพ์ ์ (สัญลักษณ์ ↵ คือ การเคาะ Space Bar ต่อเนื่องไม่ต้องกด Enter) 2. จากนั้นพิมพ์แบบด้านล่างลงในโปรแกรม Word กั้นหน้าและกั้นหลัง ข้างละ 1 นิ้ว 10 รอบ แล้วคำ�นวณความเร็วในการพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์จากแบบที่พิมพ์ (ซื่อสัตย์ต่อตนเอง ไม่ใช้แป้น Backspace)

ask ask jug jug jug jade jade jade sell sell sell see see see lad lad used↵ used used used dead dead sad sad sad fed fed fed desk desk desk desk↵ gass gass dug dug dug sue sue sue sale sale add; add; add; add; sell sell↵ sell see see see lad lad sell sell sell see see see lad lad แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 2.3 วิธีใช้โปรแกรมและคำ�สั่ง: 1. กดปุ่ม”แบบฝึกหัด”เพื่อเข้าเมนู เลือกแบบฝึกหัดที่ 2.3 พิมพ์ตามโปรแกรม โดยให้ผ่านเกณฑ์ 100% หรือตามคำ�สั่งของครูผู้สอน และบันทึกผลการฝึกพิมพ์ทุกครั้ง เพื่อให้ผู้สอนบันทึกคะแนน การพิมพ์ ์ (สัญลักษณ์ ↵ คือ การเคาะ Space Bar ต่อเนื่องไม่ต้องกด Enter) 2. จากนั้นพิมพ์แบบด้านล่างลงในโปรแกรม Word กั้นหน้าและกั้นหลัง ข้างละ 1 นิ้ว 10 รอบ แล้วคำ�นวณความเร็วในการพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์จากแบบที่พิมพ์ (ซื่อสัตย์ต่อตนเอง ไม่ใช้แป้น Backspace)

Jas see us. Jude fells as asd as Lee. Dus fed use a saled. Sak sells use↵ eggs. Da juggle a glass. A lad sees a lake. Jas see us. Juge fells as sad as↵ Lee. Dus fed us a saled. Sak sells us eggs. Da juggle a glass. A lad sees a↵ lake.

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 81


หน่วยที่ 3

การพิมพ์อักษรแป้น R O H , สาระการเรียนรู้

1. แป้นอักษร R O H .

สมรรถนะ

1. การก้าวนิ้วบนแป้น R O H . ได้ถูกต้อง 2. การก้าวนิ้วจากแป้นเหย้า ไปวางที่แป้นอักษร R O H .ได้ถูกวิธี 3. การก้าวนิ้วจากแป้นเหย้า ไปเคาะที่แป้นอักษร R O H .ได้ถูกต้องแม่นยำ�

แบบฝึกหัด

3.1 เริ่มแป้นใหม่ การเคาะแป้นอักษร R O H . 3.2 การเคาะแป้นอักษร R O H . 3.3 การเคาะแป้นอักษร R O H .

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 82


คาบที่ 7 แบบฝึกหัดพิมพ์ดีดด้วยเครื่องหน่วยที่ 3

ขึ้นแป้นใหม่ การเคาะแป้นอักษร R O H ,

แป้น R ใช้นิ้วชี้ซ้ายก้าวขึ้นแถวบน

แป้น H ใช้นิ้วชี้ขวาก้าวออกมาด้านข้าง พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 83


แป้น O ใช้นิ้วนางขวาก้าวขึ้นไปด้านบน

แป้น , ใช้นิ้วกลางขวาก้าวลงมาด้านล่าง

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 84


แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 3.1 คำ�สั่ง: 1. ให้กั้นหน้า 20 เคาะ และกั้นหลัง 50 เคาะ แล้วพิมพ์ตามแบบด้านล่าง 10 เที่ยว 2. พิมพ์แบบจับเวลา 1 นาที โดยพิมพ์ตามแบบ ไม่ต่ำ�กว่า 10 จบ 3. เมื่อเสร็จแต่ละจบ ให้ตรวจทาน หาแป้นผิด วรรคผิด แล้วพยามปรับปรุง 4. หากไม่มีข้อผิดพลาดแล้ว ให้เร่งนิ้วขึ้น

frf frf frf fur fur fur read read read read read read free free jhj jhj jhj has has has hard hard hard lash lash lash lash lol lol lol dog dog dog dog dog look look look look guod guod guod guod jk, jk, jk, k,k k,k egg, egg, egg, red, red, red, red,

แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 3.2 ฝึกพิมพ์ตามแบบฝึกหัด พยายามฝึกฝนทุก ๆ วันเพื่อเพิ่มทักษะการพิมพ์ ไม่เอาตัวไปเปรียบกับคนที่พิมพ์ได้เก่งแล้ว แต่ให้เปรียบเทียบกับผลการฝึกของตัวเองที่ผ่านมา คำ�สั่ง: 1. ให้กั้นหน้า 20 เคาะ และกั้นหลัง 50 เคาะ แล้วพิมพ์ตามแบบด้านล่าง 10 เที่ยว 2. พิมพ์แบบจับเวลา 1 นาที โดยพิมพ์ตามแบบ ไม่ต่ำ�กว่า 10 จบ 3. เมื่อเสร็จแต่ละจบ ให้ตรวจทาน หาแป้นผิด วรรคผิด แล้วพยามปรับปรุง 4. หากไม่มีข้อผิดพลาดแล้ว ให้เร่งนิ้วขึ้น

far far far lol lol lol here here here here gold gold gold our pur old old old her her her sure sure sure sure rule dule frf frf rug rug rug jhj jhj jhj jhj hear hear hear rose rose rose had had had so, so, so, or, or, or, fuse fuse sold sold sold ora.

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 85


คาบที่ 8 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 3.3 ก่อนลงมือพิมพ์ทุกครั้ง ตรวจตราสภาพแวดล้อมให้เรียบร้อย สิ่งที่จะต้องใช้ในการพิมพ์ เช่น ต้นแบบ หนังสือ แป้นพิมพ์ ฯลฯ จะต้องอยู่ในสภาพที่เรียบร้อย สิ่งที่จำ�เป็นจะต้องใช้ควรอยู่ในระยะที่มือเอื้อมถึง คำ�สั่ง: 1. ให้กั้นหน้า 20 เคาะ และกั้นหลัง 50 เคาะ แล้วพิมพ์ตามแบบด้านล่าง 10 เที่ยว 2. พิมพ์แบบจับเวลา 1 นาที โดยพิมพ์ตามแบบ ไม่ต่ำ�กว่า 10 จบ 3. เมื่อเสร็จแต่ละจบ ให้ตรวจทาน หาแป้นผิด วรรคผิด แล้วพยามปรับปรุง 4. หากไม่มีข้อผิดพลาดแล้ว ให้เร่งนิ้วขึ้น

Kus sold freas eggs. Edgar has a red jug. A jude holds a flag; Dora Gus looks glad. Her dad, Joel Sollar, reads for all of us. Kus sold fresh eggs. Edgar has a red jug. A jude holds a flag; Dora Gus looks glad. Her dad, Joel Sollar, reads for all of us. .endtitle

หนึ่งวันว่างเว้นพิมพ์ดีด หนึ่งวันทักษะเลือนหาย การพิมพ์สัมผัสด้วยนิ้วทั้ง 10 นั้น แท้จริงไม่ได้ยากเย็นอย่างที่หลายคนเข้าใจ ไม่ได้เป็นพรสวรรค์ที่ใครให้มา หากแต่เป็นผลของการฝึกฝนอย่างเอาจริงเอา จังของคนเราก็เท่านั้นเอง การทำ�สิ่งใดสิ่งหนึ่งติดต่อกันเป็นระยะเวลานานก็ จะทำ�ให้เกิดความคุ้นเคยและความคล่องตัวที่ใครๆ ก็สามารถเริ่มต้นหัดกันได้

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 86


คาบที่ 9 แบบฝึกหัดพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 3

ขึ้นแป้นใหม่ การเคาะแป้นอักษร R O H ,

แป้น R ใช้นิ้วชี้ซ้ายก้าวขึ้นแถวบน

แป้น H ใช้นิ้วชี้ขวาก้าวออกมาด้านข้าง

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 87


แป้น O ใช้นิ้วนางขวาก้าวขึ้นไปด้านบน

แป้น , ใช้นิ้วกลางขวาก้าวลงมาด้านล่าง

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 88


แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 3.1 วิธีใช้โปรแกรมและคำ�สั่ง: 1. กดปุ่ม”แบบฝึกหัด”เพื่อเข้าเมนู เลือกแบบฝึกหัดที่ 3.1 พิมพ์ตามโปรแกรม โดยให้ผ่านเกณฑ์ 100% หรือตามคำ�สั่งของครูผู้สอน และบันทึกผลการฝึกพิมพ์ทุกครั้ง เพื่อให้ผู้สอนบันทึกคะแนน การพิมพ์ (สัญลักษณ์ ↵ คือ การเคาะ Space Bar ต่อเนื่องไม่ต้องกด Enter) 2. จากนั้นพิมพ์แบบด้านล่างลงในโปรแกรม Word กั้นหน้าและกั้นหลัง ข้างละ 1 นิ้ว 10 รอบ แล้วคำ�นวณความเร็วในการพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์จากแบบที่พิมพ์ (ซื่อสัตย์ต่อตนเอง ไม่ใช้แป้น Backspace)

frf frf frf fur fur fur read read read read read read free free jhj jhj jhj has↵ has has hard hard hard lash lash lash lash lol lol lol dog dog dog dog↵ dog look look look look guod guod guod guod jk, jk, jk, k,k k,k egg, egg,↵ egg, red, red, red, red,

แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 3.2 วิธีใช้โปรแกรมและคำ�สั่ง: 1. กดปุ่ม”แบบฝึกหัด”เพื่อเข้าเมนู เลือกแบบฝึกหัดที่ 3.2 พิมพ์ตามโปรแกรม โดยให้ผ่านเกณฑ์ 100% หรือตามคำ�สั่งของครูผู้สอน และบันทึกผลการฝึกพิมพ์ทุกครั้ง เพื่อให้ผู้สอนบันทึกคะแนน การพิมพ์ (สัญลักษณ์ ↵ คือ การเคาะ Space Bar ต่อเนื่องไม่ต้องกด Enter) 2. จากนั้นพิมพ์แบบด้านล่างลงในโปรแกรม Word กั้นหน้าและกั้นหลัง ข้างละ 1 นิ้ว 10 รอบ แล้วคำ�นวณความเร็วในการพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์จากแบบที่พิมพ์ (ซื่อสัตย์ต่อตนเอง ไม่ใช้แป้น Backspace)

far far far lol lol lol here here here here gold gold gold our↵ pur old old old her her her sure sure sure sure rule dule frf frf↵ rug rug rug jhj jhj jhj jhj hear hear hear rose rose rose had had↵ had so, so, so, or, or, or, fuse fuse sold sold sold ora. พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 89


แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 3.3 วิธีใช้โปรแกรมและคำ�สั่ง: 1. กดปุ่ม”แบบฝึกหัด”เพื่อเข้าเมนู เลือกแบบฝึกหัดที่ 3.3 พิมพ์ตามโปรแกรม โดยให้ผ่านเกณฑ์ 100% หรือตามคำ�สั่งของครูผู้สอน และบันทึกผลการฝึกพิมพ์ทุกครั้ง เพื่อให้ผู้สอนบันทึกคะแนน การพิมพ์ (สัญลักษณ์ ↵ คือ การเคาะ Space Bar ต่อเนื่องไม่ต้องกด Enter) 2. จากนั้นพิมพ์แบบด้านล่างลงในโปรแกรม Word กั้นหน้าและกั้นหลัง ข้างละ 1 นิ้ว 10 รอบ แล้วคำ�นวณความเร็วในการพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์จากแบบที่พิมพ์ (ซื่อสัตย์ต่อตนเอง ไม่ใช้แป้น Backspace)

Kus sold freas eggs. Edgar has a red jug. A jude holds a flag;↵ Dora Gus looks glad. Her dad, Joel Sollar, reads for all of us.↵ Kus sold fresh eggs. Edgar has a red jug. A jude holds a flag;↵ Dora Gus looks glad. Her dad, Joel Sollar, reads for all of us.

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 90


หน่วยที่ 4

การพิมพ์อักษรแป้น T C I M : สาระการเรียนรู้

1. แป้นอักษร T C I M : 2. การก้าวนิ้วจากแป้นเหย้า ไปวางที่แป้นอักษร T C I M :

สมรรถนะ

1. วางนิ้วบนแป้น T C I M : ได้ถูกต้อง 1. ก้าวนิ้วจากแป้นเหย้า ไปวางแป้นอักษร T C I M : ได้ถูกวิธี 2. ก้าวนิ้วจากแป้นเหย้า ไปเคาะแป้นอักษร T C I M : ได้ถูกต้องแม่นยำ�

แบบฝึกหัด

4.1 เริ่มแป้นใหม่ การเคาะแห้นอักษร T C I M : 4.2 ฝึกทบทวนแป้น T C I M : 4.3 ผึกพิมพ์เป็นประโยค

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 91


แป้น I ก้าวนิ้วกลางขวาขึ้นไปแถวบน

แป้น M ก้าวนิ้วชี้ขวาลงมาแถวล่าง

แป้น : ใช้นิ้วก้อยขวาพิมพ์ นิ้วก้อยซ้ายกด SHIFT

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 93


แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 4.3 ทบทวน ฝึกพิมพ์ดีด ต้องอดทน จนที่สุด จึงก้าวรุด ได้ความ ตามมุ่งหมาย หากหนึ่งวัน ว่างเว้น มิใกล้กราย ทักษะหาย เลือนลด หมดฝีมือ คำ�สั่ง: 1. ให้กั้นหน้า 20 เคาะ และกั้นหลัง 50 เคาะ แล้วพิมพ์ตามแบบด้านล่าง 10 เที่ยว 2. พิมพ์แบบจับเวลา 1 นาที โดยพิมพ์ตามแบบ ไม่ต่ำ�กว่า 10 จบ 3. เมื่อเสร็จแต่ละจบ ให้ตรวจทาน หาแป้นผิด วรรคผิด แล้วพยามปรับปรุง 4. หากไม่มีข้อผิดพลาดแล้ว ให้เร่งนิ้วขึ้น

Dear Suda: I guess I am all set for the game. I must get some ice-cream for the floks as I come home; that is all that I must do. Oh, I must get some cake, too.

หมั่นฝึกฝนเพื่อเพิ่มทักษะอย่างสม่ำ�เสมอ การเคาะแป้นอักษรด้วยความกลัวหรือวิตกกังวลเป็นสิ่งที่อาจจะเกิดกับผู้ที่ไม่ เคยสัมผัสเครื่องมาก่อน พยายามหลีกเลี่ยง เมื่อมีความมั่นใจและฝึกฝนบ่อยๆ ย่อมมีโอกาสที่จะประสบผลสำ�เร็จได้เช่นเดียวกับคนอื่น ๆ

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 95


แป้น I ก้าวนิ้วกลางขวาขึ้นไปแถวบน

แป้น M ก้าวนิ้วชี้ขวาลงมาแถวล่าง

แป้น : ใช้นิ้วก้อยขวาพิมพ์ นิ้วก้อยซ้ายกด SHIFT

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 97


แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 4.3 วิธีใช้โปรแกรมและคำ�สั่ง: 1. กดปุ่ม”แบบฝึกหัด”เพื่อเข้าเมนู เลือกแบบฝึกหัดที่ 4.3 พิมพ์ตามโปรแกรม โดยให้ผ่านเกณฑ์ 100% หรือตามคำ�สั่งของครูผู้สอน และบันทึกผลการฝึกพิมพ์ทุกครั้ง เพื่อให้ผู้สอนบันทึกคะแนน การพิมพ์ (สัญลักษณ์ ↵ คือ การเคาะ Space Bar ต่อเนื่องไม่ต้องกด Enter) 2. จากนั้นพิมพ์แบบด้านล่างลงในโปรแกรม Word กั้นหน้าและกั้นหลัง ข้างละ 1 นิ้ว 10 รอบ แล้วคำ�นวณความเร็วในการพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์จากแบบที่พิมพ์ (ซื่อสัตย์ต่อตนเอง ไม่ใช้แป้น Backspace)

Dear Suda: I guess I am all set for the game. I must get some↵ ice-cream for the floks as I come home; that is all that I must↵ do. Oh, I must get some cake, too.

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 99


คาบที่ 13-14 แบบฝึกหัดพิมพ์ดีดด้วยเครื่องหน่วยที่ 5 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 5.1 ทบทวนแป้นเหย้า คำ�สั่ง: 1. ให้กั้นหน้า 20 เคาะ และกั้นหลัง 50 เคาะ แล้วพิมพ์ตามแบบด้านล่าง 10 เที่ยว 2. พิมพ์ตามแบบ ไม่ต่ำ�กว่า 10 จบ 3. เมื่อเสร็จแต่ละจบ ให้ตรวจทาน หาแป้นผิด วรรคผิด แล้วพยามปรับปรุง 4. หากไม่มีข้อผิดพลาดแล้ว ให้เร่งนิ้วขึ้น

asdfjkl; asdfjkl; asdfjkl; asdfjkl; asdfjkl; asdfjkl;

แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 5.2 ทบทวน แป้น E คำ�สั่ง: 1. ให้กั้นหน้า 20 เคาะ และกั้นหลัง 50 เคาะ แล้วพิมพ์ตามแบบด้านล่าง 10 เที่ยว 2. พิมพ์ตามแบบ ไม่ต่ำ�กว่า 10 จบ 3. เมื่อเสร็จแต่ละจบ ให้ตรวจทาน หาแป้นผิด วรรคผิด แล้วพยามปรับปรุง 4. หากไม่มีข้อผิดพลาดแล้ว ให้เร่งนิ้วขึ้น

de see de sets de jets de gets de deads lead. Ed fed us eggs. He sells seeds to lee.

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 101


แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 5.5

ทบทวนแป้น R คำ�สั่ง: 1. ให้กั้นหน้า 20 เคาะ และกั้นหลัง 50 เคาะ แล้วพิมพ์ตามแบบด้านล่าง 10 เที่ยว 2. พิมพ์ตามแบบ ไม่ต่ำ�กว่า 10 จบ 3. เมื่อเสร็จแต่ละจบ ให้ตรวจทาน หาแป้นผิด วรรคผิด แล้วพยามปรับปรุง 4. หากไม่มีข้อผิดพลาดแล้ว ให้เร่งนิ้วขึ้น

fr red fr road fr rise fr raed fr rider rode. Rue reads her letters. There are doors. แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 5.6 ทบทวนแป้น H

คำ�สั่ง: 1. ให้กั้นหน้า 20 เคาะ และกั้นหลัง 50 เคาะ แล้วพิมพ์ตามแบบด้านล่าง 10 เที่ยว 2. พิมพ์ตามแบบ ไม่ต่ำ�กว่า 10 จบ 3. เมื่อเสร็จแต่ละจบ ให้ตรวจทาน หาแป้นผิด วรรคผิด แล้วพยามปรับปรุง 4. หากไม่มีข้อผิดพลาดแล้ว ให้เร่งนิ้วขึ้น

jh had jh lash jh home jh heat jh fresh shed. Hil sold fresh eggs. Am has a red jug. แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 5.7 ทบทวนแป้น T

คำ�สั่ง: 1. ให้กั้นหน้า 20 เคาะ และกั้นหลัง 50 เคาะ แล้วพิมพ์ตามแบบด้านล่าง 10 เที่ยว 2. พิมพ์ตามแบบ ไม่ต่ำ�กว่า 10 จบ 3. เมื่อเสร็จแต่ละจบ ให้ตรวจทาน หาแป้นผิด วรรคผิด แล้วพยามปรับปรุง 4. หากไม่มีข้อผิดพลาดแล้ว ให้เร่งนิ้วขึ้น

ft too ft tour ft that ft raid ft total tode. Tad trims trees. Tom tried this trick. พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 103


คาบที่ 15 แบบฝึกหัดพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 5 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 5.1

ทบทวนแป้นเหย้า วิธีใช้โปรแกรมและคำ�สั่ง: 1. กดปุ่ม”แบบฝึกหัด”เพื่อเข้าเมนู เลือกแบบฝึกหัดที่ 5.1 พิมพ์ตามโปรแกรม โดยให้ผ่านเกณฑ์ 100% หรือตามคำ�สั่งของครูผู้สอน และบันทึกผลการฝึกพิมพ์ทุกครั้ง เพื่อให้ผู้สอนบันทึกคะแนน การพิมพ์ (สัญลักษณ์ ↵ คือ การเคาะ Space Bar ต่อเนื่องไม่ต้องกด Enter) 2. จากนั้นพิมพ์แบบด้านล่างลงในโปรแกรม Word กั้นหน้าและกั้นหลัง ข้างละ 1 นิ้ว 10 รอบ แล้วคำ�นวณความเร็วในการพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์จากแบบที่พิมพ์ (ซื่อสัตย์ต่อตนเอง ไม่ใช้แป้น Backspace)

asdfjkl; asdfjkl; asdfjkl; asdfjkl; asdfjkl; asdfjkl;

แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 5.2 ทบทวน แป้น E วิธีใช้โปรแกรมและคำ�สั่ง: 1. กดปุ่ม”แบบฝึกหัด”เพื่อเข้าเมนู เลือกแบบฝึกหัดที่ 5.2 พิมพ์ตามโปรแกรม โดยให้ผ่านเกณฑ์ 100% หรือตามคำ�สั่งของครูผู้สอน และบันทึกผลการฝึกพิมพ์ทุกครั้ง เพื่อให้ผู้สอนบันทึกคะแนน การพิมพ์ (สัญลักษณ์ ↵ คือ การเคาะ Space Bar ต่อเนื่องไม่ต้องกด Enter) 2. จากนั้นพิมพ์แบบด้านล่างลงในโปรแกรม Word กั้นหน้าและกั้นหลัง ข้างละ 1 นิ้ว 10 รอบ แล้วคำ�นวณความเร็วในการพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์จากแบบที่พิมพ์ (ซื่อสัตย์ต่อตนเอง ไม่ใช้แป้น Backspace)

de see de sets de jets de gets de deads lead.↵ Ed fed us eggs. He sells seeds to lee.

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 105


แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 5.6 ทบทวนแป้น H

วิธีใช้โปรแกรมและคำ�สั่ง: 1. กดปุ่ม”แบบฝึกหัด”เพื่อเข้าเมนู เลือกแบบฝึกหัดที่ 5.6 พิมพ์ตามโปรแกรม โดยให้ผ่านเกณฑ์ 100% หรือตามคำ�สั่งของครูผู้สอน และบันทึกผลการฝึกพิมพ์ทุกครั้ง เพื่อให้ผู้สอนบันทึกคะแนน การพิมพ์ (สัญลักษณ์ ↵ คือ การเคาะ Space Bar ต่อเนื่องไม่ต้องกด Enter) 2. จากนั้นพิมพ์แบบด้านล่างลงในโปรแกรม Word กั้นหน้าและกั้นหลัง ข้างละ 1 นิ้ว 10 รอบ แล้ว คำ�นวณความเร็วในการพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์จากแบบที่พิมพ์ (ซื่อสัตย์ต่อตนเอง ไม่ใช้แป้น Backspace)น

jh had jh lash jh home jh heat jh fresh shed.↵ Hil sold fresh eggs. Am has a red jug. แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 5.7 ทบทวนแป้น T

วิธีใช้โปรแกรมและคำ�สั่ง: 1. กดปุ่ม”แบบฝึกหัด”เพื่อเข้าเมนู เลือกแบบฝึกหัดที่ 5.7 พิมพ์ตามโปรแกรม โดยให้ผ่านเกณฑ์ 100% หรือตามคำ�สั่งของครูผู้สอน และบันทึกผลการฝึกพิมพ์ทุกครั้ง เพื่อให้ผู้สอนบันทึกคะแนน การพิมพ์ (สัญลักษณ์ ↵ คือ การเคาะ Space Bar ต่อเนื่องไม่ต้องกด Enter) 2. จากนั้นพิมพ์แบบด้านล่างลงในโปรแกรม Word กั้นหน้าและกั้นหลัง ข้างละ 1 นิ้ว 10 รอบ แล้วคำ�นวณความเร็วในการพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์จากแบบที่พิมพ์ (ซื่อสัตย์ต่อตนเอง ไม่ใช้แป้น Backspace)

ft too ft tour ft that ft raid ft total tode.↵ Tad trims trees. Tom tried this trick. แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 5.8 ทบทวนแป้น C

วิธีใช้โปรแกรมและคำ�สั่ง: 1. กดปุ่ม”แบบฝึกหัด”เพื่อเข้าเมนู เลือกแบบฝึกหัดที่ 5.8 พิมพ์ตามโปรแกรม โดยให้ผ่านเกณฑ์ 100% หรือตามคำ�สั่งของครูผู้สอน และบันทึกผลการฝึกพิมพ์ทุกครั้ง เพื่อให้ผู้สอนบันทึกคะแนน การพิมพ์ (สัญลักษณ์ ↵ คือ การเคาะ Space Bar ต่อเนื่องไม่ต้องกด Enter) 2. จากนั้นพิมพ์แบบด้านล่างลงในโปรแกรม Word กั้นหน้าและกั้นหลัง ข้างละ 1 นิ้ว 10 รอบ แล้วคำ�นวณความเร็วในการพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์จากแบบที่พิมพ์ (ซื่อสัตย์ต่อตนเอง ไม่ใช้แป้น Backspace) พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 107


หน่วยที่ 6

การพิมพ์อักษรแป้น W V Y P สาระการเรียนรู้

1. แป้นอักษร W V Y P 2. การก้าวนิ้วจากแป้นเหย้า ไปวางที่แป้นอักษร W V Y P

สมรรถนะ

1. วางนิ้วบนแป้น W V Y P ได้ถูกต้อง 2. ก้าวนิ้วจากแป้นเหย้า ไปวางที่แป้นอักษร W V Y P ได้ถูกวิธี 3. ก้าวนิ้วจากแป้นเหย้า ไปเคาะแป้นอักษร W V Y P ได้ถูกต้องแม่นยำ�

แบบฝึกหัด

6.1 แป้น W V Y P บทใหม่แล้ว เริ่มหัดแป้นใหม่กันเถอะ 6.2 และแล้วก็นำ�มาผสมให้เป็นคำ� 6.3 ฝึกพิมพ์ผสมเป็นประโยค 6.4 แบบฝึกหัดผสมประโยค วางนิ้วที่แป้นเหย้า

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 109


แป้น V ก้าวนิ้วชี้ซ้ายลงไปแถวล่าง

แป้น Y ก้าวนิ้วชี้ขวาขึ้นไปแถวบนเยื้องลงมาทางซ้ายเล็กน้อย

แป้น P ก้าวนิ้วก้อยขวาขึ้นไปแถวบน

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 111


คาบที่ 17 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 6.3 ประโยคในภาษาอังกฤษมักเริ่มต้นด้วยอักษรตัวใหญ่ ให้กด Shift ในการเปลี่ยนอักษร ไม่ควรใช้ ปุ่ม Capital Lock จะทำ�ให้การพิมพ์ล่าช้า คำ�สั่ง: 1. ให้กั้นหน้า 20 เคาะ และกั้นหลัง 50 เคาะ แล้วพิมพ์ตามแบบด้านล่าง 10 เที่ยว 2. พิมพ์แบบจับเวลา 1 นาที โดยพิมพ์ตามแบบ ไม่ต่ำ�กว่า 10 จบ 3. เมื่อเสร็จแต่ละจบ ให้ตรวจทาน หาแป้นผิด วรรคผิด แล้วพยามปรับปรุง 4. หากไม่มีข้อผิดพลาดแล้ว ให้เร่งนิ้วขึ้น

Wald was wide a wake while we were away. Velma favoured ver vivid, veried viwew. Yes, they say Jula may really fly today. Pool picks up papers to wrap the apples. แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 6.4 การพิมพ์เป็นประโยค คำ�สั่ง: 1. ให้กั้นหน้า 20 เคาะ และกั้นหลัง 50 เคาะ แล้วพิมพ์ตามแบบด้านล่าง 10 เที่ยว 2. พิมพ์แบบจับเวลา 1 นาที โดยพิมพ์ตามแบบ ไม่ต่ำ�กว่า 10 จบ 3. เมื่อเสร็จแต่ละจบ ให้ตรวจทาน หาแป้นผิด วรรคผิด แล้วพยามปรับปรุง 4. หากไม่มีข้อผิดพลาดแล้ว ให้เร่งนิ้วขึ้น

Dear Malle: The committee for the play desires to get you to serve as the head of the ticked committee. Our aides, of course, will help; I, too, will assist.

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 113


แป้น Y ก้าวนิ้วชี้ขวาขึ้นไปแถวบนเยื้องลงมาทางซ้ายเล็กน้อย

แป้น P ก้าวนิ้วก้อยขวาขึ้นไปแถวบน

แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 6.1 วิธีใช้โปรแกรมและคำ�สั่ง: 1. กดปุ่ม”แบบฝึกหัด”เพื่อเข้าเมนู เลือกแบบฝึกหัดที่ 6.1 พิมพ์ตามโปรแกรม โดยให้ผ่านเกณฑ์ 100% หรือตามคำ�สั่งของครูผู้สอน และบันทึกผลการฝึกพิมพ์ทุกครั้ง เพื่อให้ผู้สอนบันทึกคะแนน การพิมพ์ (สัญลักษณ์ ↵ คือ การเคาะ Space Bar ต่อเนื่องไม่ต้องกด Enter) 2. จากนั้นพิมพ์แบบด้านล่างลงในโปรแกรม Word กั้นหน้าและกั้นหลัง ข้างละ 1 นิ้ว 10 รอบ แล้วคำ�นวณความเร็วในการพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์จากแบบที่พิมพ์ (ซื่อสัตย์ต่อตนเอง ไม่ใช้แป้น Backspace)

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 115


แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 6.3

วิธีใช้โปรแกรมและคำ�สั่ง: 1. กดปุ่ม”แบบฝึกหัด”เพื่อเข้าเมนู เลือกแบบฝึกหัดที่ 6.3 พิมพ์ตามโปรแกรม โดยให้ผ่านเกณฑ์ 100% หรือตามคำ�สั่งของครูผู้สอน และบันทึกผลการฝึกพิมพ์ทุกครั้ง เพื่อให้ผู้สอนบันทึกคะแนน การพิมพ์ (สัญลักษณ์ ↵ คือ การเคาะ Space Bar ต่อเนื่องไม่ต้องกด Enter) 2. จากนั้นพิมพ์แบบด้านล่างลงในโปรแกรม Word กั้นหน้าและกั้นหลัง ข้างละ 1 นิ้ว 10 รอบ แล้วคำ�นวณความเร็วในการพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์จากแบบที่พิมพ์ (ซื่อสัตย์ต่อตนเอง ไม่ใช้แป้น Backspace)

Wald was wide a wake while we were away.↵ Velma favoured ver vivid, veried viwew.↵ Yes, they say Jula may really fly today.↵ Pool picks up papers to wrap the apples. แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 6.4

วิธีใช้โปรแกรมและคำ�สั่ง: 1. กดปุ่ม”แบบฝึกหัด”เพื่อเข้าเมนู เลือกแบบฝึกหัดที่ 6.4 พิมพ์ตามโปรแกรม โดยให้ผ่านเกณฑ์ 100% หรือตามคำ�สั่งของครูผู้สอน และบันทึกผลการฝึกพิมพ์ทุกครั้ง เพื่อให้ผู้สอนบันทึกคะแนน การพิมพ์ (สัญลักษณ์ ↵ คือ การเคาะ Space Bar ต่อเนื่องไม่ต้องกด Enter) 2. จากนั้นพิมพ์แบบด้านล่างลงในโปรแกรม Word กั้นหน้าและกั้นหลัง ข้างละ 1 นิ้ว 10 รอบ แล้วคำ�นวณความเร็วในการพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์จากแบบที่พิมพ์ (ซื่อสัตย์ต่อตนเอง ไม่ใช้แป้น Backspace) ใช้โจทย์ของการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 6.4

Dear Malle: The committee for the play desires to get you to serve as↵ the head of the ticked committee. Our aides, of course, will help;↵ I, too, will assist.

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 117


คาบที่ 19 แบบฝึกหัดพิมพ์ดีดด้วยเครื่องหน่วยที่ 7

ขึ้นแป้นใหม่ การพิมพ์อักษรแป้น Q N X /

แป้น Q ก้าวนิ้วก้อยซ้ายขึ้นไปแถวบน

แป้น N ก้าวนิ้วชี้ขวาลงมาแถวล่าง

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 119


แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 7.2 การพิมพ์เป็นคำ� คำ�สั่ง: 1. ให้กั้นหน้า 20 เคาะ และกั้นหลัง 50 เคาะ แล้วพิมพ์ตามแบบด้านล่าง 10 เที่ยว 2. พิมพ์แบบจับเวลา 1 นาที โดยพิมพ์ตามแบบ ไม่ต่ำ�กว่า 10 จบ 3. เมื่อเสร็จแต่ละจบ ให้ตรวจทาน หาแป้นผิด วรรคผิด แล้วพยามปรับปรุง 4. หากไม่มีข้อผิดพลาดแล้ว ให้เร่งนิ้วขึ้น

Nid fixed sixty, and Kid fixed sixteen. The quiet queen quoted the quaint quip. Tip can never run on and on as Lek can. C/A is capital account; C/O in care of. การก้าวนิ้วที่ดี การก้าวนิ้วยาว ๆ จะเป็นปัญหาสำ�หรับทั้งการพิมพ์ด้วยเครื่องและการพิมพ์ ด้วยคอมพิวเตอร์ มักมีผู้ที่ชอบเอามือพาดโต๊ะหรือแป้นพิมพ์เวลาพิมพ์ คอมพิวเตอร์ เพราะแป้นพิมพ์เครื่อง Computer เป็นแป้นพิมพ์แบบอ่อน การกดแต่ละครั้งไม่ต้องใช้แรงมาก หากลองเปลี่ยนมาเป็นยกมือให้พ้นโต๊ะ พยายามไม่ให้ส่วนของมือสัมผัสกับโต๊ะ ให้ใช้เพียงแต่ปลายนิ้วเท่านั้น

คาบที่ 20 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 7.3 การพิมพ์เป็นประโยค คำ�สั่ง: 1. ให้กั้นหน้า 20 เคาะ และกั้นหลัง 50 เคาะ แล้วพิมพ์ตามแบบด้านล่าง 10 เที่ยว พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 121


แป้น N ก้าวนิ้วชี้ขวาลงมาแถวล่าง

แป้น X ก้าวนิ้วนางซ้ายลงไปแถวล่าง

แป้น / ก้าวนิ้วก้อยขวาลงมาแถวล่าง

พิมพ์ให้เร็วและถูกต้อง เมื่อพิมพ์คำ�ไหนผิดแล้ว ให้พยายามแก้ไขในการฝึกครั้งต่อไป หรือถ้าผิดมาก ๆ ก็ให้ทบทวนบทเดิมอีกสักรอบ

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 123


แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 7.3 วิธีใช้โปรแกรมและคำ�สั่ง: 1. กดปุ่ม”แบบฝึกหัด”เพื่อเข้าเมนู เลือกแบบฝึกหัดที่ 7.3 พิมพ์ตามโปรแกรม โดยให้ผ่านเกณฑ์ 100% หรือตามคำ�สั่งของครูผู้สอน และบันทึกผลการฝึกพิมพ์ทุกครั้ง เพื่อให้ผู้สอนบันทึกคะแนน การพิมพ์ (สัญลักษณ์ ↵ คือ การเคาะ Space Bar ต่อเนื่องไม่ต้องกด Enter/ เครื่องหมาย ~ คือ การพิมพ์ต่อเนื่องโดยไม่ต้องมีวรรคหรือ Enter) 2. จากนั้นพิมพ์แบบด้านล่างลงในโปรแกรม Word กั้นหน้าและกั้นหลัง ข้างละ 1 นิ้ว 10 รอบ แล้วคำ�นวณความเร็วในการพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์จากแบบที่พิมพ์ (ซื่อสัตย์ต่อตนเอง ไม่ใช้แป้น Backspace) ใช้โจทย์ของการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 7.3

I can see all six men as they work over a log pile.↵ One is using his axe; see, he has just swung it way over his head.↵ They might quit soon: It is half done.

สังเกตข้อบกพร่องของตัวเองหลังจากการฝึกแต่ละครั้งเสมอ ฝึกพิมพ์ดีด ต้องอดทน จนที่สุด จึงก้าวรุด พิมพ์ได้ความ ตามมุ่งหมาย หากหนึ่งวัน ว่างเว้น มิใกล้กราย ทักษะหาย เลือนลด หมดฝีมือ

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 125


คาบที่ 22 แบบฝึกหัดพิมพ์ดีดด้วยเครื่องหน่วยที่ 8

ขึ้นแป้นใหม่ แป้นพิมพ์อักษรแป้น B ? Z -

แป้น B ก้าวนิ้วชี้ซ้ายลงมาแถวล่างเฉียงมาทางขวาเล็กน้อย

แป้น ? ก้าวนิ้วก้อยขวาลงมาด้านข้าง และนิ้วก้อยมือซ้ายยกแคร่

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 127


แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 8.2 คำ�สั่ง: 1. ให้กั้นหน้า 20 เคาะ และกั้นหลัง 50 เคาะ แล้วพิมพ์ตามแบบด้านล่าง 10 เที่ยว 2. พิมพ์แบบจับเวลา 1 นาที โดยพิมพ์ตามแบบ ไม่ต่ำ�กว่า 10 จบ 3. เมื่อเสร็จแต่ละจบ ให้ตรวจทาน หาแป้นผิด วรรคผิด แล้วพยามปรับปรุง 4. หากไม่มีข้อผิดพลาดแล้ว ให้เร่งนิ้วขึ้น

Supa said the zebra in the zoo is lazy. Dang buys big boxes built by B. Bubbin. May I go? Will he quit? Is Vena home? A father-in-law cries--plead--for her. จงเรียนด้วยความตั้งใจ อย่าชะงักถ้าพิมพ์ผิด เพราะการหยุดก็ไม่สามารถจะแก้ไขอะไรได้ จงพิมพ์ต่อไปให้ดีที่สุดเท่าที่จะสามารถพิมพ์ได้ เมื่อหัดพิมพ์แรกๆ อุปสรรคอาจมีมาก แต่หารู้ไม่ว่าคนที่พิมพ์เร็วทุกคนต่างก็ เคยเริ่มต้นจากจุดนี้เช่นกัน ดังนั้นจึงควรอดทนต่ออุปสรรคต่างๆ หาข้อที่ผิด แล้วฝึกฝนจนคล่อง นั่นคือการพัฒนาความเร็วในการพิมพ์

คาบที่ 23 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 8.3 การพิมพ์เป็นประโยค คำ�สั่ง: 1. ให้กั้นหน้า 20 เคาะ และกั้นหลัง 50 เคาะ แล้วพิมพ์ตามแบบด้านล่าง 10 เที่ยว 2. พิมพ์แบบจับเวลา 1 นาที โดยพิมพ์ตามแบบ ไม่ต่ำ�กว่า 10 จบ 3. เมื่อเสร็จแต่ละจบ ให้ตรวจทาน หาแป้นผิด วรรคผิด แล้วพยามปรับปรุง 4. หากไม่มีข้อผิดพลาดแล้ว ให้เร่งนิ้วขึ้น

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 129


คาบที่ 24 แบบฝึกหัดพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 8

ขึ้นแป้นใหม่ แป้นพิมพ์อักษรแป้น B ? Z -

แป้น B ก้าวนิ้วชี้ซ้ายลงมาแถวล่างเฉียงมาทางขวาเล็กน้อย

แป้น ? ก้าวนิ้วก้อยขวาลงมาด้านข้าง และนิ้วก้อยมือซ้ายยกแคร่

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 131


แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 8.2 วิธีใช้โปรแกรมและคำ�สั่ง: 1. กดปุ่ม”แบบฝึกหัด”เพื่อเข้าเมนู เลือกแบบฝึกหัดที่ 8.2 พิมพ์ตามโปรแกรม โดยให้ผ่านเกณฑ์ 100% หรือตามคำ�สั่งของครูผู้สอน และบันทึกผลการฝึกพิมพ์ทุกครั้ง เพื่อให้ผู้สอนบันทึกคะแนน การพิมพ์ (สัญลักษณ์ ↵ คือ การเคาะ Space Bar ต่อเนื่องไม่ต้องกด Enter) 2. จากนั้นพิมพ์แบบด้านล่างลงในโปรแกรม Word กั้นหน้าและกั้นหลัง ข้างละ 1 นิ้ว 10 รอบ แล้วคำ�นวณความเร็วในการพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์จากแบบที่พิมพ์ (ซื่อสัตย์ต่อตนเอง ไม่ใช้แป้น Backspace)

Supa said the zebra in the zoo is lazy.↵ Dang buys big boxes built by B. Bubbin.↵ May I go? Will he quit? Is Vena home?↵ A father-in-law cries--plead--for her. แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 8.3 วิธีใช้โปรแกรมและคำ�สั่ง: 1. กดปุ่ม”แบบฝึกหัด”เพื่อเข้าเมนู เลือกแบบฝึกหัดที่ 8.3 พิมพ์ตามโปรแกรม โดยให้ผ่านเกณฑ์ 100% หรือตามคำ�สั่งของครูผู้สอน และบันทึกผลการฝึกพิมพ์ทุกครั้ง เพื่อให้ผู้สอนบันทึกคะแนน การพิมพ์ (สัญลักษณ์ ↵ คือ การเคาะ Space Bar ต่อเนื่องไม่ต้องกด Enter) 2. จากนั้นพิมพ์แบบด้านล่างลงในโปรแกรม Word กั้นหน้าและกั้นหลัง ข้างละ 1 นิ้ว 10 รอบ แล้วคำ�นวณความเร็วในการพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์จากแบบที่พิมพ์ (ซื่อสัตย์ต่อตนเอง ไม่ใช้แป้น Backspace) ใช้โจทย์ของการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 8.3

He and the ten men got the one day off.↵ They know that the form will save time.↵ If he is to do it, when is he to do it?

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 133


หน่วยที่ 9

การพิมพ์อักษรแป้น 1 2 3 4 สาระการเรียนรู้

1. แป้นอักษร 1 2 3 4 2. การก้าวนิ้วจากแป้นเหย้า ไปวางที่แป้นอักษร 1 2 3 4 3. การก้าวนิ้วจากแป้นเหย้า ไปเคาะที่แป้นอักษร 1 2 3 4

สมรรถนะ

1. วางนิ้วบนแป้น 1 2 3 4 ได้ถูกต้อง 2. ก้าวนิ้วจากแป้นเหย้า ไปวางที่แป้นอักษร 1 2 3 4 ได้ถูกวิธี 3. ก้าวนิ้วจากแป้นเหย้า ไปเคาะแป้นอักษร 1 2 3 4 ได้ถูกต้องแม่นยำ�

แบบฝึกหัด

9.1 แป้นใหม่ การใช้แป้นตัวเลข 1 2 3 4 9.2 พิมพ์ตามแบบอย่างน้อย 4 จบ ฝึกผสมกับตัวอักษร 9.3 พิมพ์ตามแบบอย่างน้อย 4 จบ ทบทวนการใช้แป้นตัวเลข

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 135


แป้น 3 นิ้วกลางซ้ายก้าวไปแถวบน

แป้น 4 นิ้วชี้ซ้ายก้าวไปแถวบน

แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 9.1 คำ�สั่ง: 1. ให้กั้นหน้า 20 เคาะ และกั้นหลัง 50 เคาะ แล้วพิมพ์ตามแบบด้านล่าง 10 เที่ยว 2. พิมพ์แบบจับเวลา 1 นาที โดยพิมพ์ตามแบบ ไม่ต่ำ�กว่า 10 จบ 3. เมื่อเสร็จแต่ละจบ ให้ตรวจทาน หาแป้นผิด วรรคผิด แล้วพยามปรับปรุง 4. หากไม่มีข้อผิดพลาดแล้ว ให้เร่งนิ้วขึ้น

1234 2341 3421 2134 2431 4123 2413 2314 3421 3142 3124 3241 4321 4213 4231 4213 1342 1243 1423 1234 พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 137


คาบที่ 26 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 9.3 เพิ่มทักษะ วิชาพิมพ์สัมผัสเป็นวิชาที่จะต้องลงมือปฏิบัติและฝึกฝนจนเกิดความชำ�นาญ การพิมพ์ทุกครั้งต้องมี สมาธิ การพิมพ์โดยไม่มีจุดมุ่งหมายนั้นไม่ช่วยสร้างทักษะแต่อย่างใด คำ�สั่ง: 1. ให้กั้นหน้า 20 เคาะ และกั้นหลัง 50 เคาะ แล้วพิมพ์ตามแบบด้านล่าง 10 เที่ยว 2. พิมพ์แบบจับเวลา 1 นาที โดยพิมพ์ตามแบบ ไม่ต่ำ�กว่า 10 จบ 3. เมื่อเสร็จแต่ละจบ ให้ตรวจทาน หาแป้นผิด วรรคผิด แล้วพยามปรับปรุง 4. หากไม่มีข้อผิดพลาดแล้ว ให้เร่งนิ้วขึ้น

Just as quickly as you can, ship me 42 or 43 sets of the runner boats you advertised. Be sure that half are size 12 and half size 14. We are in a rush; so, please ship the goods by air express. จบไปอีกหนึ่งบท พยายามฝึกฝนทุก ๆ วันเพื่อเพิ่มพูนเทคนิคให้ดีขึ้นเรื่อยๆ

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 139


แป้น -็ ใช้นิ้วก้อยซ้ายกด Shift นิ้วชี้ขวากดแป้น -้

แป้น -๋ ใช้นิ้วก้อยซ้ายกด Shift นิ้วชี้ขวากดแป้น -่

แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 9.1

วิธีใช้โปรแกรมและคำ�สั่ง: 1. กดปุ่ม”แบบฝึกหัด”เพื่อเข้าเมนู เลือกแบบฝึกหัดที่ 9.1 พิมพ์ตามโปรแกรม โดยให้ผ่านเกณฑ์ 100% หรือตามคำ�สั่งของครูผู้สอน และบันทึกผลการฝึกพิมพ์ทุกครั้ง เพื่อให้ผู้สอนบันทึกคะแนน การพิมพ์ (สัญลักษณ์ ↵ คือ การเคาะ Space Bar ต่อเนื่องไม่ต้องกด Enter) 2. จากนั้นพิมพ์แบบด้านล่างลงในโปรแกรม Word กั้นหน้าและกั้นหลัง ข้างละ 1 นิ้ว 10 รอบ แล้วคำ�นวณความเร็วในการพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์จากแบบที่พิมพ์ (ซื่อสัตย์ต่อตนเอง ไม่ใช้แป้น Backspace)

1234 2341 3421 2134 2431 4123 2413↵ 2314 3421 3142 3124 3241 4321 4213↵ 4231 4213 1342 1243 1423 1234

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 141


หน่วยที่ 10

การพิมพ์อักษรแป้น 7 8 9 0 สาระการเรียนรู้

1. แป้นอักษร 7 8 9 0 2. การก้าวนิ้วจากแป้นเหย้า ไปวางที่แป้นอักษร 7 8 9 0 3. การก้าวนิ้วจากแป้นเหย้า ไปเคาะที่แป้นอักษร 7 8 9 0

สมรรถนะ

1. วางนิ้วบนแป้น 7 8 9 0 ถูกต้อง 2. ก้าวนิ้วจากแป้นเหย้า ไปเคาะแป้นอักษร 7 8 9 0 ถูกต้องแม่นยำ�

แบบฝึกหัด

10.1 เริ่มแป้นใหม่ การใช้แป้นตัวเลข 7 8 9 0 10.2 ฝึกพิมพ์กันเถอะ 10.3 ฝึกพิมพ์ด้วยความเต็มใจ 10.4 พิมพ์รักษาจังหวัดให้สม่ำ�เสมอ

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 143


แป้น 9 นิ้วนางขวาก้าวขึ้นไปแถวบน

แป้น 0 นิ้วก้อยขวาก้าวขึ้นไปแถวบน

แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 10.1 ฝึกพิมพ์กันเถอะ

คำ�สั่ง: 1. ให้กั้นหน้า 20 เคาะ และกั้นหลัง 50 เคาะ แล้วพิมพ์ตามแบบด้านล่าง 10 เที่ยว 2. พิมพ์แบบจับเวลา 1 นาที โดยพิมพ์ตามแบบ ไม่ต่ำ�กว่า 10 จบ 3. เมื่อเสร็จแต่ละจบ ให้ตรวจทาน หาแป้นผิด วรรคผิด แล้วพยามปรับปรุง 4. หากไม่มีข้อผิดพลาดแล้ว ให้เร่งนิ้วขึ้น

7890 8907 9078 8097 0789 8079 8970 0978 9780 7908 9790 7897 9879 0879 9807 8709 8780 8790 7890 7890 9870 7899 8877 9987 9870 0097 0078 0098 0098 9987 9990 8880 7770 0807 90970878 พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 145


แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 10.4 พิมพ์รักษาจังหวะให้สม่ำ�เสมอ

พิมพ์ตามแบบฝึกหัดต่อไปนี้ คำ�สั่ง: 1. ให้กั้นหน้า 20 เคาะ และกั้นหลัง 50 เคาะ แล้วพิมพ์ตามแบบด้านล่าง 10 เที่ยว 2. พิมพ์แบบจับเวลา 1 นาที โดยพิมพ์ตามแบบ ไม่ต่ำ�กว่า 10 จบ 3. เมื่อเสร็จแต่ละจบ ให้ตรวจทาน หาแป้นผิด วรรคผิด แล้วพยามปรับปรุง 4. หากไม่มีข้อผิดพลาดแล้ว ให้เร่งนิ้วขึ้น

In 1979, there were 199 men in each of 199 lodges. We need 70 or 80, or even 90, of size 101 blouses. On June 7, the 7 men left Home 7 on the 7-17 bus. Train No. 88 will leave at 8:18 from track No. 78.

คาบที่ 30 แบบฝึกหัดพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 10

ขึ้นแป้นใหม่ การพิมพ์อักษรแป้น 7 8 9 0

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 147


แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 10.1

วิธีใช้โปรแกรมและคำ�สั่ง: 1. กดปุ่ม”แบบฝึกหัด”เพื่อเข้าเมนู เลือกแบบฝึกหัดที่ 10.1 พิมพ์ตามโปรแกรม โดยให้ผ่านเกณฑ์ 100% หรือตามคำ�สั่งของครูผู้สอน และบันทึกผลการฝึกพิมพ์ทุกครั้ง เพื่อให้ผู้สอนบันทึกคะแนน การพิมพ์ (สัญลักษณ์ ↵ คือ การเคาะ Space Bar ต่อเนื่องไม่ต้องกด Enter) 2. จากนั้นพิมพ์แบบด้านล่างลงในโปรแกรม Word กั้นหน้าและกั้นหลัง ข้างละ 1 นิ้ว 10 รอบ แล้วคำ�นวณความเร็วในการพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์จากแบบที่พิมพ์ (ซื่อสัตย์ต่อตนเอง ไม่ใช้แป้น Backspace)

7890 8907 9078 8097 0789 8079 8970 0978 9780 7908 9790 7897↵ 9879 0879 9807 8709 8780 8790 7890 7890 9870 7899 8877 9987↵ 9870 0097 0078 0098 0098 9987 9990 8880 7770 0807 90970878 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 10.2

วิธีใช้โปรแกรมและคำ�สั่ง: 1. กดปุ่ม”แบบฝึกหัด”เพื่อเข้าเมนู เลือกแบบฝึกหัดที่ 10.2 พิมพ์ตามโปรแกรม โดยให้ผ่านเกณฑ์ 100% หรือตามคำ�สั่งของครูผู้สอน และบันทึกผลการฝึกพิมพ์ทุกครั้ง เพื่อให้ผู้สอนบันทึกคะแนน การพิมพ์ (สัญลักษณ์ ↵ คือ การเคาะ Space Bar ต่อเนื่องไม่ต้องกด Enter) 2. จากนั้นพิมพ์แบบด้านล่างลงในโปรแกรม Word กั้นหน้าและกั้นหลัง ข้างละ 1 นิ้ว 10 รอบ แล้วคำ�นวณความเร็วในการพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์จากแบบที่พิมพ์ (ซื่อสัตย์ต่อตนเอง ไม่ใช้แป้น Backspace)

191 191 191 1091 1091 ;0; ;0; ;0; ;9; ;9; ;p0; ;p0; ;p0; ;p0; j7j j7j j7j ju7j↵ ju7j ju7j ju7j k8k k8k k8k ki8k ki8k ki8k ki8k The next meeting of the↵ club will be on October 7. She said he can count from 1 to 100 in↵ 19 seconds. They will call us to order at 8:30 or 18:10 after.

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 149


หน่วยที่ 11

การพิมพ์อักษรแป้นตัวเลข 5 6 สาระการเรียนรู้

1. แป้นอักษร 5 6 2. การก้าวนิ้วจากแป้นเหย้า ไปวางที่แป้นอักษร 5 6 3. การก้าวนิ้วจากแป้นเหย้า ไปวางที่แป้นอักษร 5 6

สมรรถนะ

1. วางนิ้วบนแป้น 5 6 ถูกต้อง 2. ก้าวนิ้วจากแป้นเหย้า ไปวางที่แป้นอักษร 5 6 ได้ถูกวิธี 3. ก้าวนิ้วจากแป้นเหย้า ไปเคาะแป้นอักษร 5 6 ถูกต้องแม่นยำ�

แบบฝึกหัด

11.1 แป้นใหม่ การใช้แป้นตัวเลข 5 6 11.2 การใช้แป้นตัวเลข 5 6 ฝึกผสมประโยค 11.3 การใช้แป้นตัวเลข 5 6 ผสมประโยค 11.4 ทบทวนการใช้แป้นตัวเลข 5 6

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 151


แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 11.1 แป้นใหม่ การใช้แป้นตัวเลข 5 6

คำ�สั่ง: 1. ให้กั้นหน้า 20 เคาะ และกั้นหลัง 50 เคาะ แล้วพิมพ์ตามแบบด้านล่าง 10 เที่ยว 2. พิมพ์แบบจับเวลา 1 นาที โดยพิมพ์ตามแบบ ไม่ต่ำ�กว่า 10 จบ 3. เมื่อเสร็จแต่ละจบ ให้ตรวจทาน หาแป้นผิด วรรคผิด แล้วพยามปรับปรุง 4. หากไม่มีข้อผิดพลาดแล้ว ให้เร่งนิ้วขึ้น

56 65 55 66 65 56 66 65 j6j j6j ju6j ju6j ju6j ju6j f5f f5f fr5f fr5f fr5f fr5f We shall need 6 pencils or 5 pens for 6 means. The boy found tickets No. 15, 16, 56, 65 and 165. แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 11.2 การใช้แป้นตัวเลข 5 6 ฝึกผสมประโยค

คำ�สั่ง: 1. ให้กั้นหน้า 20 เคาะ และกั้นหลัง 50 เคาะ แล้วพิมพ์ตามแบบด้านล่าง 10 เที่ยว 2. พิมพ์แบบจับเวลา 1 นาที โดยพิมพ์ตามแบบ ไม่ต่ำ�กว่า 10 จบ 3. เมื่อเสร็จแต่ละจบ ให้ตรวจทาน หาแป้นผิด วรรคผิด แล้วพยามปรับปรุง 4. หากไม่มีข้อผิดพลาดแล้ว ให้เร่งนิ้วขึ้น

The flight was on Friday, April 13. I was to leave at 9:15, but the flight was held up. We left at 3:15 p.m., as the strom grew worse. Our luck held, though. We landed at 7:25, in good time for the meeting. I talked to 123 people for 45 minutes; but I left at 9:57 and was at home by 1:15 a.m. หมั่นขยันฝึกซ้อม สังเกตข้อบกพร่องของตัวเองและพยายามแก้ไขในการฝึกครั้งต่อ ๆ ไป

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 153


คาบที่ 33 แบบฝึกหัดพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 11

ขึ้นแป้นใหม่ การพิมพ์อักษรแป้นตัวเลข 5 6

แป้น 5 นิ้วชี้ซ้ายก้าวขึ้นไปแถวบน

แป้น 6 นิ้วขวาซ้ายก้าวขึ้นไปแถวบน

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 155


แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 11.3 การใช้แป้นตัวเลข 5 6 ผสมประโยค

วิธีใช้โปรแกรมและคำ�สั่ง: 1. กดปุ่ม”แบบฝึกหัด”เพื่อเข้าเมนู เลือกแบบฝึกหัดที่ 11.3 พิมพ์ตามโปรแกรม โดยให้ผ่านเกณฑ์ 100% หรือตามคำ�สั่งของครูผู้สอน และบันทึกผลการฝึกพิมพ์ทุกครั้ง เพื่อให้ผู้สอนบันทึกคะแนน การพิมพ์ (สัญลักษณ์ ↵ คือ การเคาะ Space Bar ต่อเนื่องไม่ต้องกด Enter) 2. จากนั้นพิมพ์แบบด้านล่างลงในโปรแกรม Word กั้นหน้าและกั้นหลัง ข้างละ 1 นิ้ว 10 รอบ แล้วคำ�นวณความเร็วในการพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์จากแบบที่พิมพ์ (ซื่อสัตย์ต่อตนเอง ไม่ใช้แป้น Backspace) ใช้โจทย์ของการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 11.3

The sum of 5 and 4 and 6 is 15. I live at 475 Fifth Avenue.↵ Turn to page 89. Ask for 65 stamps. The 46 men go at 6:15.↵ The 56 men and 65 boys have done 561 hours of work.

แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 11.4 ทบทวนการใช้แป้นตัวเลข 5 6

วิธีใช้โปรแกรมและคำ�สั่ง: 1. กดปุ่ม”แบบฝึกหัด”เพื่อเข้าเมนู เลือกแบบฝึกหัดที่ 11.4 พิมพ์ตามโปรแกรม โดยให้ผ่านเกณฑ์ 100% หรือตามคำ�สั่งของครูผู้สอน และบันทึกผลการฝึกพิมพ์ทุกครั้ง เพื่อให้ผู้สอนบันทึกคะแนน การพิมพ์ (สัญลักษณ์ ↵ คือ การเคาะ Space Bar ต่อเนื่องไม่ต้องกด Enter/ เครื่องหมาย ~ คือ การพิมพ์ต่อเนื่องโดยไม่ต้องมีวรรคหรือ Enter) 2. จากนั้นพิมพ์แบบด้านล่างลงในโปรแกรม Word กั้นหน้าและกั้นหลัง ข้างละ 1 นิ้ว 10 รอบ แล้วคำ�นวณความเร็วในการพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์จากแบบที่พิมพ์ (ซื่อสัตย์ต่อตนเอง ไม่ใช้แป้น Backspace) ใช้โจทย์ของการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 11.4

I am 56. This is the first-class mail. He has up-to-date news.↵ Joe is 26. Read pages 56-65. The 560 men left at 6:35 a.m.↵ Use a 6-inch line. The note is due on May 5, 1965. Sue is 29.

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 157


คาบที่ 34 แบบฝึกหัดพิมพ์ดีดด้วยเครื่องหน่วยที่ 12 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 12.1 ทบทวนตัวเลข ฝึกทักษะการพิมพ์ตัวเลข

คำ�สั่ง: 1. ให้กั้นหน้า 20 เคาะ และกั้นหลัง 50 เคาะ แล้วพิมพ์ตามแบบด้านล่าง 10 เที่ยว 2. พิมพ์แบบจับเวลา 1 นาที โดยพิมพ์ตามแบบ ไม่ต่ำ�กว่า 10 จบ 3. เมื่อเสร็จแต่ละจบ ให้ตรวจทาน หาแป้นผิด วรรคผิด แล้วพยามปรับปรุง 4. หากไม่มีข้อผิดพลาดแล้ว ให้เร่งนิ้วขึ้น

0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52 53 57 55 56 57 58 59 60 61 62 63 64 65 66 67 68 69 70 71 72 73 74 75 76 77 78 79 80 81 82 83 84 85 86 87 88 89 90 91 92 93 94 95 96 97 98 99 100 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 12.2 ฝึกทักษะการพิมพ์ตัวเลข

คำ�สั่ง: 1. ให้กั้นหน้า 20 เคาะ และกั้นหลัง 50 เคาะ แล้วพิมพ์ตามแบบด้านล่าง 10 เที่ยว 2. พิมพ์แบบจับเวลา 1 นาที โดยพิมพ์ตามแบบ ไม่ต่ำ�กว่า 10 จบ 3. เมื่อเสร็จแต่ละจบ ให้ตรวจทาน หาแป้นผิด วรรคผิด แล้วพยามปรับปรุง 4. หากไม่มีข้อผิดพลาดแล้ว ให้เร่งนิ้วขึ้น

My May 3 record of 28 typists: range, 20 to 59; median, 37. Each of the 28 cases shipped on Order 820 wieghs 350 pounds. Jack spoke to 150 young people and 275 to 300 men and women. Alvin is 24, weighs 190 pounds, and is 4 feet 9 inches tall. พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 159


แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 12.4 ฝึกทักษะการพิมพ์ตัวเลข

คำ�สั่ง: 1. ให้กั้นหน้า 20 เคาะ และกั้นหลัง 50 เคาะ แล้วพิมพ์ตามแบบด้านล่าง 10 เที่ยว 2. พิมพ์แบบจับเวลา 1 นาที โดยพิมพ์ตามแบบ ไม่ต่ำ�กว่า 10 จบ 3. เมื่อเสร็จแต่ละจบ ให้ตรวจทาน หาแป้นผิด วรรคผิด แล้วพยามปรับปรุง 4. หากไม่มีข้อผิดพลาดแล้ว ให้เร่งนิ้วขึ้น

If you use an elite-type machine, margins at 20 and 85 will give a 60space line. On a pica-type machine, margins set at 12 and 77 will give a 60-space line. These settings allow 5 extra spaces for the ringing of the bell. Count 12 elites for 10 pica spaces to a horizontal inch and 6 lines to a vertical inch. A full-sized sheet of paper has 66 lines; a half sheet has 33 lines. A 4-inch line has 40 pica or 48 elite spaces. A 5-inch line has 50 pica or 60 elite spaces.

เหลื​ืออีกไม่กี่บทแล้ว ขอให้ขยันซ้อมต่อไป อาจอาศัยเกมช่วยในการฝึกซ้อม หรืออาศัยการคุยผ่าน Internet กับเพื่อน เพื่อฝึกฝนความเร็วในการพิมพ์ สุดท้ายนี้ขอให้ขอบคุณตนเองที่ตั้งใจเรียนตลอดมา

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 161


แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 12.3

วิธีใช้โปรแกรมและคำ�สั่ง: 1. กดปุ่ม”แบบฝึกหัด”เพื่อเข้าเมนู เลือกแบบฝึกหัดที่ 12.3 พิมพ์ตามโปรแกรม โดยให้ผ่านเกณฑ์ 100% หรือตามคำ�สั่งของครูผู้สอน และบันทึกผลการฝึกพิมพ์ทุกครั้ง เพื่อให้ผู้สอนบันทึกคะแนน การพิมพ์ (สัญลักษณ์ ↵ คือ การเคาะ Space Bar ต่อเนื่องไม่ต้องกด Enter) 2. จากนั้นพิมพ์แบบด้านล่างลงในโปรแกรม Word กั้นหน้าและกั้นหลัง ข้างละ 1 นิ้ว 10 รอบ โดยใช้ ปุ่มจัดรูปแบบ"ใส่ลำ�ดับหัวข้อ (Numbering)" แล้วคำ�นวณความเร็วในการพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์ จากแบบที่พิมพ์ (ซื่อสัตย์ต่อตนเอง ไม่ใช้แป้น Backspace) ใช้โจทย์ของการพิมพ์ดีดด้วยเครื่อง ที่ 12.3

1. The 10 were left from the 10,000 we got on May 1.↵ 2. The 28 men left on Train No. 88 from Track No. 3.↵ 3. The 39 books have been on Shelf 3 since August 9.↵ 4. The 47 girls made a score of 747 in 44.7 seconds.↵ 5. The 56 men were divided into 6 teams for 5 games.↵ 6. We need 27 or 38, or even 49, of size 56 blouses.↵ 7. The 1/2 rate fits 1/4 of the old sets, 1/4 of the new.

ทบทวน การใช้ปุ่มจัดรูปแบบ"ใส่ลำ�ดับหัวข้อ (Numbering)" ในโปรแกรม Word 1. เริ่มบรรทัดใหม่ 2. เลือกแท็บ Home>>เมนู Paragraph>>ปุ่ม "ใส่ลำ�ดับหัวข้อ"

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 163


หน่วยที่ 13

การพิมพ์อักษรแป้น ( ) # สาระการเรียนรู้

1. แป้นอักษร ( ) # 2. การก้าวนิ้วจากแป้นเหย้า ไปที่แป้นอักษร ( ) #

สมรรถนะ

1. วางนิ้วบนแป้น ( ) # ถูกต้อง 2. ก้าวนิ้วจากแป้นเหย้า ไปวางที่แป้นอักษร ( ) # ได้ถูกวิธี 3. ก้าวนิ้วจากแป้นเหย้า ไปเคาะแป้นอักษร ( ) # ถูกต้องแม่นยำ�

แบบฝึกหัด

15.1 แป้นใหม่ ( ) # 15.2 แบบฝึกหัดแป้น ( ) # 15.3 แบบฝึกพัฒนาความเร็ว 15.4 แบบฝึกพัฒนาความเร็ว

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 165


แป้น # ใช้นิ้วก้อยขวากด Shift นิ้วกลางซ้ายก้าวไปแถวบน

แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 13.1

คำ�สั่ง: 1. ให้กั้นหน้า 20 เคาะ และกั้นหลัง 50 เคาะ แล้วพิมพ์ตามแบบด้านล่าง 10 เที่ยว 2. พิมพ์แบบจับเวลา 1 นาที โดยพิมพ์ตามแบบ ไม่ต่ำ�กว่า 10 จบ 3. เมื่อเสร็จแต่ละจบ ให้ตรวจทาน หาแป้นผิด วรรคผิด แล้วพยามปรับปรุง 4. หากไม่มีข้อผิดพลาดแล้ว ให้เร่งนิ้วขึ้น

d#d d#d D#D D#D (;#;) (;#;) (;#;) (;#;) (;#;) (;#;) Use the shift lock (No. 3) and (No. 8) for typing. Please send me 56# of the #123 plastic right away. We may need (a) five new men for (b) two new girls. แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 13.2

พิมพ์เป็นชุด คำ�สั่ง: 1. ให้กั้นหน้า 20 เคาะ และกั้นหลัง 50 เคาะ แล้วพิมพ์ตามแบบด้านล่าง 10 เที่ยว 2. พิมพ์แบบจับเวลา 1 นาที โดยพิมพ์ตามแบบ ไม่ต่ำ�กว่า 10 จบ 3. เมื่อเสร็จแต่ละจบ ให้ตรวจทาน หาแป้นผิด วรรคผิด แล้วพยามปรับปรุง 4. หากไม่มีข้อผิดพลาดแล้ว ให้เร่งนิ้วขึ้น

a#a a#a a#a a#a s#s s#s s#s s#s d#d d#d d#d d#d f#f f#f f#f f#f j(j j(j j(j j(j k(k k(k k(k k(k l(l l(l l(l l(l ;(; ;(; ;(; ;(; j)j j)j j)j j)j k)k k)k k)k k)k l)l l)l l)l l)l ;); ;); ;); ;);

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 167


คาบที่ 39 แบบฝึกหัดพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 13

ขึ้นแป้นใหม่ การพิมพ์อักษรแป้น ( ) #

แป้น ( ใช้นิ้วก้อยซ้ายกด Shift นิ้วกลางขวาก้าวไปแถวบน

แป้น ) ใช้นิ้วก้อยซ้ายกด Shift นิ้วนางขวาก้าวไปแถวบน

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 169


แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 13.2

วิธีใช้โปรแกรมและคำ�สั่ง: 1. กดปุ่ม”แบบฝึกหัด”เพื่อเข้าเมนู เลือกแบบฝึกหัดที่ 13.2 พิมพ์ตามโปรแกรม โดยให้ผ่านเกณฑ์ 100% หรือตามคำ�สั่งของครูผู้สอน และบันทึกผลการฝึกพิมพ์ทุกครั้ง เพื่อให้ผู้สอนบันทึกคะแนน การพิมพ์ (สัญลักษณ์ ↵ คือ การเคาะ Space Bar ต่อเนื่องไม่ต้องกด Enter) 2. จากนั้นพิมพ์แบบด้านล่างลงในโปรแกรม Word กั้นหน้าและกั้นหลัง ข้างละ 1 นิ้ว 10 รอบ แล้วคำ�นวณความเร็วในการพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์จากแบบที่พิมพ์ (ซื่อสัตย์ต่อตนเอง ไม่ใช้แป้น Backspace)

a#a a#a a#a a#a s#s s#s s#s s#s d#d d#d d#d d#d f#f f#f f#f f#f↵ j(j j(j j(j j(j k(k k(k k(k k(k l(l l(l l(l l(l ;(; ;(; ;(; ;(;↵ j)j j)j j)j j)j k)k k)k k)k k)k l)l l)l l)l l)l ;); ;); ;); ;); แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 13.3

วิธีใช้โปรแกรมและคำ�สั่ง: 1. กดปุ่ม”แบบฝึกหัด”เพื่อเข้าเมนู เลือกแบบฝึกหัดที่ 13.3 พิมพ์ตามโปรแกรม โดยให้ผ่านเกณฑ์ 100% หรือตามคำ�สั่งของครูผู้สอน และบันทึกผลการฝึกพิมพ์ทุกครั้ง เพื่อให้ผู้สอนบันทึกคะแนน การพิมพ์ (สัญลักษณ์ ↵ คือ การเคาะ Space Bar ต่อเนื่องไม่ต้องกด Enter) 2. จากนั้นพิมพ์แบบด้านล่างลงในโปรแกรม Word กั้นหน้าและกั้นหลัง ข้างละ 1 นิ้ว 10 รอบ แล้วคำ�นวณความเร็วในการพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์จากแบบที่พิมพ์ (ซื่อสัตย์ต่อตนเอง ไม่ใช้แป้น Backspace)

In order to type the # symbol, we use our left middle finger walking↵ over to top row to type #. We normally use this. On the other hand,↵ we use our right middle finger to the ( or the open parenthesis symbol↵ and the ring finger to type ) the close parenthesis symbol.

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 171


หน่วยที่ 14

การพิมพ์อักษรแป้น $ & % สาระการเรียนรู้

1. แป้นอักษร $ & % 2. การก้าวนิ้วจากแป้นเหย้า ไปวางที่แป้นอักษร $ & % 3. การก้าวนิ้วจากแป้นเหย้า ไปวางที่แป้นอักษร $ & %

สมรรถนะ

1. วางนิ้วบนแป้น $ & %ถูกต้อง 2. ก้าวนิ้วจากแป้นเหย้า ไปวางที่แป้นอักษร $ & %ได้ถูกวิธี 3. ก้าวนิ้วจากแป้นเหย้า ไปเคาะแป้นอักษร $ & % ถูกต้องแม่นยำ�

แบบฝึกหัด

15.1 แป้นใหม่ $ & % 15.2 ฝึกทักษะแป้น $ & %

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 173


แป้น % ใช้นิ้วก้อยขวากด Shift นิ้วชี้ซ้ายก้าวไปแถวบน

แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 14.1

คำ�สั่ง: 1. ให้กั้นหน้า 20 เคาะ และกั้นหลัง 50 เคาะ แล้วพิมพ์ตามแบบด้านล่าง 10 เที่ยว 2. พิมพ์แบบจับเวลา 1 นาที โดยพิมพ์ตามแบบ ไม่ต่ำ�กว่า 10 จบ 3. เมื่อเสร็จแต่ละจบ ให้ตรวจทาน หาแป้นผิด วรรคผิด แล้วพยามปรับปรุง 4. หากไม่มีข้อผิดพลาดแล้ว ให้เร่งนิ้วขึ้น

d$d d$d d$d D$D D$D j&j j&j j&j j&j J&J J&J J&J f%f f%f f%f f%f F%F F%F F%F $4 4$$ $9 $8 We paid Tom $14. We owe Don $44 and Bob $145. %f %f %f The rate is 5%. Change the 6% rate. He made 8%. 7j 7j &j &j Hun & Lee paid Bill $37. Mai & May owe us $47.

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 175


คำ�สั่ง: 1. ให้กั้นหน้า 20 เคาะ และกั้นหลัง 50 เคาะ แล้วพิมพ์ตามแบบด้านล่าง 10 เที่ยว 2. พิมพ์แบบจับเวลา 1 นาที โดยพิมพ์ตามแบบ ไม่ต่ำ�กว่า 10 จบ 3. เมื่อเสร็จแต่ละจบ ให้ตรวจทาน หาแป้นผิด วรรคผิด แล้วพยามปรับปรุง 4. หากไม่มีข้อผิดพลาดแล้ว ให้เร่งนิ้วขึ้น

Example 3: Suppose a corporation has revenue for the fiscal year of $19,347,600. The income from the previous fiscal year is $18,974,995. Find the percent of increase or decrease in revenue. Solution: First, find the amount of increase or decrease in revenue. There was an increase of $372,605. Now, divide this number by the original amount (that is $18,974,995): $372,605/ $18,974,995, which is approximately 0.0196 or about 1.96% increase.

คาบที่ 42

แป้น $ ใช้นิ้วก้อยขวากด Shift นิ้วกลางซ้ายก้าวไปแถวบน

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 177


แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 14.1

วิธีใช้โปรแกรมและคำ�สั่ง: 1. กดปุ่ม”แบบฝึกหัด”เพื่อเข้าเมนู เลือกแบบฝึกหัดที่ 14.1 พิมพ์ตามโปรแกรม โดยให้ผ่านเกณฑ์ 100% หรือตามคำ�สั่งของครูผู้สอน และบันทึกผลการฝึกพิมพ์ทุกครั้ง เพื่อให้ผู้สอนบันทึกคะแนน การพิมพ์ (สัญลักษณ์ ↵ คือ การเคาะ Space Bar ต่อเนื่องไม่ต้องกด Enter) 2. จากนั้นพิมพ์แบบด้านล่างลงในโปรแกรม Word กั้นหน้าและกั้นหลัง ข้างละ 1 นิ้ว 10 รอบ แล้วคำ�นวณความเร็วในการพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์จากแบบที่พิมพ์ (ซื่อสัตย์ต่อตนเอง ไม่ใช้แป้น Backspace)

d$d d$d d$d D$D D$D j&j j&j j&j j&j J&J J&J J&J f%f f%f f%f f%f F%F F%F↵ F%F $4 4$$ $9 $8 We paid Tom $14. We owe Don $44 and Bob $145. %f↵ %f %f The rate is 5%. Change the 6% rate. He made 8%. 7j 7j &j &j Hun↵ & Lee paid Bill $37. Mai & May owe us $47.

แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 14.2

วิธีใช้โปรแกรมและคำ�สั่ง: 1. กดปุ่ม”แบบฝึกหัด”เพื่อเข้าเมนู เลือกแบบฝึกหัดที่ 14.2 พิมพ์ตามโปรแกรม โดยให้ผ่านเกณฑ์ 100% หรือตามคำ�สั่งของครูผู้สอน และบันทึกผลการฝึกพิมพ์ทุกครั้ง เพื่อให้ผู้สอนบันทึกคะแนน การพิมพ์ (สัญลักษณ์ ↵ คือ การเคาะ Space Bar ต่อเนื่องไม่ต้องกด Enter) 2. จากนั้นพิมพ์แบบด้านล่างลงในโปรแกรม Word กั้นหน้าและกั้นหลัง ข้างละ 1 นิ้ว 10 รอบ แล้วคำ�นวณความเร็วในการพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์จากแบบที่พิมพ์ (ซื่อสัตย์ต่อตนเอง ไม่ใช้แป้น Backspace)

Boy, have we had excitement in school today? While I was taking my↵ quiz in history, fire broke out in the lab room #9. Smoke spread into the↵ hall and the adjacent room #74 & #156 in a hurry. Then the fire alarm↵ rang, and we went out in a rush. Blaze was out in 5 minutes, too; we↵ went back to class. We did not finish the quiz. You might say that we↵ were saved by the fire bell, I guess.

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 179


หน่วยที่ 15

การพิมพ์อักษรแป้น + = ' " สาระการเรียนรู้

1. แป้นอักษร + = ‘ “ 2. การก้าวนิ้วจากแป้นเหย้า ไปวางที่แป้นอักษร + = ‘ “ 3. การก้าวนิ้วจากแป้นเหย้า ไปวางที่แป้นอักษร + = ‘ “

สมรรถนะ

1. วางนิ้วบนแป้น + = ‘ “ถูกต้อง 2. ก้าวนิ้วจากแป้นเหย้า ไปวางที่แป้นอักษร + = ‘ “ได้ถูกวิธี 3. ก้าวนิ้วจากแป้นเหย้า ไปเคาะแป้นอักษร + = ‘ “ถูกต้องแม่นยำ�

แบบฝึกหัด

16.1 แป้นใหม่ + = ‘ “ 16.2 แบบฝึกหัดเพิ่มความเร็ว 16.3 แบบฝึกหัดเพิ่มความเร็ว 16.4 แบบฝึกหัดเพิ่มความเร็ว

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 181


แป้น ' ใช้นิ้วก้อยขวาก้าวไปด้านข้าง

แป้น " ใช้นิ้วก้อยซ้ายกด Shift นิ้วก้อยขวาก้าวไปด้านข้าง

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 183


คาบที่ 44 แบบฝึกหัดพิมพ์ดีดด้วยเครื่องหน่วยที่ 15 (ต่อ) แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 15.3 คำ�สั่ง: 1. ให้กั้นหน้า 20 เคาะ และกั้นหลัง 50 เคาะ แล้วพิมพ์ตามแบบด้านล่าง 10 เที่ยว 2. พิมพ์แบบจับเวลา 1 นาที โดยพิมพ์ตามแบบ ไม่ต่ำ�กว่า 10 จบ 3. เมื่อเสร็จแต่ละจบ ให้ตรวจทาน หาแป้นผิด วรรคผิด แล้วพยามปรับปรุง 4. หากไม่มีข้อผิดพลาดแล้ว ให้เร่งนิ้วขึ้น

One of the most important literary relics of the 20th century, Ernest Hemingway’s fully documented typewriter, on which he typed his last book, is being offered by auctioneer Profiles In History in its Rare Books & Manuscripts sale, Wednesday, July 10, 2013. It is estimated to sell for $60,000 - $80,000. The Halda Swedish-made typewriter is fully functional and comes with its original leatherette case exhibiting somewhat tattered transportation stickers from the American Export Line and the French Line. Both have crucial identification in an unknown hand, marked “E. Hemi...” on the American Export Line sticker, and “Hemingway” with destination of “Le Hav...” on the French Line sticker, each torn and scuffed from extensive travel. The typewriter was obtained from famed author A. E. Hotchner, Hemingway's close friend, who wrote the definitive biography, Papa Hemingway.

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 185


คาบที่ 45 แบบฝึกหัดพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 15

ขึ้นแป้นใหม่ + = ' "

แป้น + ใช้นิ้วก้อยซ้ายกด Shift นิ้วก้อยขวาก้าวไปแถวบน

แป้น = ใช้นิ้วก้อยขวาก้าวไปแถวบน

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 187


แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 15.1

วิธีใช้โปรแกรมและคำ�สั่ง: 1. กดปุ่ม”แบบฝึกหัด”เพื่อเข้าเมนู เลือกแบบฝึกหัดที่ 15.1 พิมพ์ตามโปรแกรม โดยให้ผ่านเกณฑ์ 100% หรือตามคำ�สั่งของครูผู้สอน และบันทึกผลการฝึกพิมพ์ทุกครั้ง เพื่อให้ผู้สอนบันทึกคะแนน การพิมพ์ (สัญลักษณ์ ↵ คือ การเคาะ Space Bar ต่อเนื่องไม่ต้องกด Enter) 2. จากนั้นพิมพ์แบบด้านล่างลงในโปรแกรม Word กั้นหน้าและกั้นหลัง ข้างละ 1 นิ้ว 10 รอบ แล้วคำ�นวณความเร็วในการพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์จากแบบที่พิมพ์ (ซื่อสัตย์ต่อตนเอง ไม่ใช้แป้น Backspace)

;+; ;+; ;+; ;+; ;=; ;=; ;=; ;=; ;=; ;+; ;+; ;+; ;=; ;=; ;=; a+a = a+a = a+a = a+a =↵ 2+2 = 2+2 3+1 = 1+3 7+8 = 8+7 4+5 = 3+6 ;'; ;'' ;'; ;'; ;'; ;"; ;"; ;"' ;"; ;";↵ We don't mind giving a full day's work for a full day's pay.↵ Mr. O'Neilly won't pay more than $147-$156 a day for a room.↵ Hasn't the check for $148, dated November 28, been sent yet? แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 15.2

วิธีใช้โปรแกรมและคำ�สั่ง: 1. กดปุ่ม”แบบฝึกหัด”เพื่อเข้าเมนู เลือกแบบฝึกหัดที่ 15.2 พิมพ์ตามโปรแกรม โดยให้ผ่านเกณฑ์ 100% หรือตามคำ�สั่งของครูผู้สอน และบันทึกผลการฝึกพิมพ์ทุกครั้ง เพื่อให้ผู้สอนบันทึกคะแนน การพิมพ์ (สัญลักษณ์ ↵ คือ การเคาะ Space Bar ต่อเนื่องไม่ต้องกด Enter) 2. จากนั้นพิมพ์แบบด้านล่างลงในโปรแกรม Word กั้นหน้าและกั้นหลัง ข้างละ 1 นิ้ว 10 รอบ แล้วคำ�นวณความเร็วในการพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์จากแบบที่พิมพ์ (ซื่อสัตย์ต่อตนเอง ไม่ใช้แป้น Backspace)

82 + 28 = 19 + 70 = 79 + 86= 66 - 23 = 88 - 66 = 94 - 22 =↵ 48 - 26 = 35 + 86 = 99 + 13 = 90 - 12 = 83 - 37 = 44 + 76 =↵ 79 - 27 = 51 + 23 = 39 + 57 = 49 + 45 = 94 + 53 = 52 - 42 =↵ 90 - 79 = 54 - 52 = 21 + 52 = 55 - 28 = 65 + 89 = 99 - 61 =

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 189


แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 15.4

วิธีใช้โปรแกรมและคำ�สั่ง: 1. กดปุ่ม”แบบฝึกหัด”เพื่อเข้าเมนู เลือกแบบฝึกหัดที่ 15.4 พิมพ์ตามโปรแกรม โดยให้ผ่านเกณฑ์ 100% หรือตามคำ�สั่งของครูผู้สอน และบันทึกผลการฝึกพิมพ์ทุกครั้ง เพื่อให้ผู้สอนบันทึกคะแนน การพิมพ์ (สัญลักษณ์ ↵ คือ การเคาะ Space Bar ต่อเนื่องไม่ต้องกด Enter) 2. จากนั้นพิมพ์แบบด้านล่างลงในโปรแกรม Word กั้นหน้าและกั้นหลัง ข้างละ 1 นิ้ว 10 รอบ แล้วคำ�นวณความเร็วในการพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์จากแบบที่พิมพ์ (ซื่อสัตย์ต่อตนเอง ไม่ใช้แป้น Backspace) ใช้โจทย์ของการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 15.4

A new dietary ingredient is a dietary ingredient that was not sold in the↵ United States in a dietary supplement before October 15, 1994. The U.S.↵ Food and Drug Administration (FDA) requires specific safety information↵ from a manufacturer intending to market a dietary supplement↵ containing a new dietary ingredient. This information is not required for↵ older dietary supplement ingredients.↵ Although dietary supplements are regulated by the FDA as foods, they↵ are regulated differently from other foods and from drugs. Whether a↵ product is classified as a dietary supplement, conventional food, or drug↵ is based on its intended use. Most often, classification as a dietary↵ supplement is determined by the information that the manufacturer↵ provides on the product label or in accompanying literature, although↵ many food and dietary supplement product labels do not include this↵ information.↵ The types of claims that can be made on the labels of dietary↵ supplements and drugs differ. Drug manufacturers may claim that their↵ product will diagnose, cure, mitigate, treat, or prevent a disease. Such↵ claims may not legally be made for dietary supplements.

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 191


คาบที่ 46 แบบฝึกหัดพิมพ์ดีดด้วยเครื่องหน่วยที่ 16

ขึ้นแป้นใหม่ @ *

แป้น @ นิ้วก้อยขวากด Shift นิ้วนางซ้ายก้าวไปแถวบน

แป้น * นิ้วก้อยซ้ายกด Shift นิ้วชี้ซ้ายก้าวไปแถวบน

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 193


คาบที่ 47 แบบฝึกหัดพิมพ์ดีดด้วยเครื่องหน่วยที่ 16 (ต่อ) แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 16.3 คำ�สั่ง: 1. ให้กั้นหน้า 20 เคาะ และกั้นหลัง 50 เคาะ แล้วพิมพ์ตามแบบด้านล่าง 3 เที่ยว 2. พิมพ์แบบจับเวลา 1 นาที โดยพิมพ์ตามแบบ ไม่ต่ำ�กว่า 3 จบ 3. เมื่อเสร็จแต่ละจบ ให้ตรวจทาน หาแป้นผิด วรรคผิด แล้วพยามปรับปรุง 4. หากไม่มีข้อผิดพลาดแล้ว ให้เร่งนิ้วขึ้น

None of Euroland’s key actors seems willing to admit that the current strategy is untenable. They hope to paper over the cracks until the German elections in September, as if that is going to make any difference. A leaked report from the European Commission confirms that Greece will miss its austerity targets yet again by a wide margin. It alleges that Greece lacks the “willingness and capacity” to collect taxes. In fact, Athens is missing targets because the economy is still in freefall and that is because of austerity overkill. The Greek think-tank IOBE expects GDP to fall 5pc this year. It has told journalists privately that the final figure may be -7pc. The Greek stabilisation is a mirage. Italy’s slow crisis is again flaring up. Its debt trajectory has punched through the danger line over the past two years. The country’s €2.1 trillion (£1.8 trillion) debt – 129pc of GDP – may already be beyond the point of no return for a country without its own currency. Standard & Poor’s did not say this outright when it downgraded the country to near-junk BBB on Tuesday. But if you read between the lines, it is close to saying the game is up for Italy.

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 195


คาบที่ 48 แบบฝึกหัดพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 16

ขึ้นแป้นใหม่ @ *

แป้น @ นิ้วก้อยขวากด Shift นิ้วนางซ้ายก้าวไปแถวบน

แป้น * นิ้วก้อยซ้ายกด Shift นิ้วชี้ซ้ายก้าวไปแถวบน

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 197


แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 16.3

วิธีใช้โปรแกรมและคำ�สั่ง: 1. กดปุ่ม”แบบฝึกหัด”เพื่อเข้าเมนู เลือกแบบฝึกหัดที่ 16.3 พิมพ์ตามโปรแกรม โดยให้ผ่านเกณฑ์ 100% หรือตามคำ�สั่งของครูผู้สอน และบันทึกผลการฝึกพิมพ์ทุกครั้ง เพื่อให้ผู้สอนบันทึกคะแนน การพิมพ์ (สัญลักษณ์ ↵ คือ การเคาะ Space Bar ต่อเนื่องไม่ต้องกด Enter) 2. จากนั้นพิมพ์แบบด้านล่างลงในโปรแกรม Word กั้นหน้าและกั้นหลัง ข้างละ 1 นิ้ว 10 รอบ แล้วคำ�นวณความเร็วในการพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์จากแบบที่พิมพ์ (ซื่อสัตย์ต่อตนเอง ไม่ใช้แป้น Backspace)

None of Euroland’s key actors seems willing to admit that the current↵ strategy is untenable. They hope to paper over the cracks until the↵ German elections in September, as if that is going to make any↵ difference. A leaked report from the European Commission confirms↵ that Greece will miss its austerity targets yet again by a wide margin. It↵ alleges that Greece lacks the “willingness and capacity” to collect taxes.↵ In fact, Athens is missing targets because the economy is still in freefall↵ and that is because of austerity overkill. The Greek think-tank IOBE↵ expects GDP to fall 5pc this year. It has told journalists privately that↵ the final figure may be -7pc. The Greek stabilisation is a mirage.↵ Italy’s slow crisis is again flaring up. Its debt trajectory has punched↵ through the danger line over the past two years. The country’s €2.1↵ trillion (£1.8 trillion) debt – 129pc of GDP – may already be beyond↵ the point of no return for a country without its own currency.↵ Standard & Poor’s did not say this outright when it downgraded the↵ country to near-junk BBB on Tuesday. But if you read between the lines,↵ it is close to saying the game is up for Italy.

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 199


หน่วยที่ 17

การพัฒนาความเร็วในการพิมพ์ 1 สาระการเรียนรู้

1. การพิมพ์เป็นย่อหน้ายาว

สมรรถนะ

1. พิมพ์ย่อหน้ายาวได้ 2. มีสมาธิในการพิมพ์ย่อหน้ายาว 3. มีความแม่นยำ�ในการพิมพ์ย่อหน้ายาว

แบบฝึกหัด

17.1 แบบฝึกหัดการพิมพ์ 17.2 แบบฝึกหัดการพิมพ์ 17.3 แบบฝึกหัดการพิมพ์ 17.4 แบบฝึกหัดการพิมพ์

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 201


แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 17.2

คำ�สั่ง: 1. ให้กั้นหน้า 20 เคาะ และกั้นหลัง 50 เคาะ แล้วพิมพ์ตามแบบด้านล่าง 3 เที่ยว 2. พิมพ์แบบจับเวลา 5 นาที โดยพิมพ์ตามแบบ ไม่ต่ำ�กว่า 3 จบ 3. เมื่อเสร็จแต่ละจบ ให้ตรวจทาน หาแป้นผิด วรรคผิด แล้วพยามปรับปรุง 4. หากไม่มีข้อผิดพลาดแล้ว ให้เร่งนิ้วขึ้น

Today I want to talk about genetically-modified organisms (GMO) in infant formula. On the Truth in Labeling Coalition website, Marsha Walker, RN, IBCLC wrote about the risks of GMO ingredients in baby foods, such as infant formula (emphasis mine). The process of genetic engineering alters the genetic structure of the food which could increase food sensitivity and food allergies later in life. Unlike breastmilk which varies with the diet of the mother and stage of infancy, the composition of formula is always the same. Food sensitivities can increase with exposure, with repeated feedings of the same formula further increasing the risk of allergies. Genetic engineering also has the potential to transfer allergies from one food source to another. Years ago, a nut gene was inserted into soybeans which produced soy that caused allergic reactions in people who were allergic to nuts. Modifying the genetic structure of a food could also introduce new, unpredictable allergens from non-food genes inserted through the process of genetic engineering. Genetic engineering has the potential to increase and/or introduce new food toxins. Genetic engineering could alter or decrease a food's nutritional value or substantially increase certain components that could be detrimental to health. Genetic engineering could contribute to the growing problem of antibiotic resistance. Current transgenic plants may contain antibiotic resistant marker genes (a technique used during the genetic engineering process to show whether gene transfers have been successfully completed).

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 203


แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 17.4

คำ�สั่ง: 1. ให้กั้นหน้า 20 เคาะ และกั้นหลัง 50 เคาะ แล้วพิมพ์ตามแบบด้านล่าง 3 เที่ยว 2. พิมพ์แบบจับเวลา 5 นาที โดยพิมพ์ตามแบบ ไม่ต่ำ�กว่า 3 จบ 3. เมื่อเสร็จแต่ละจบ ให้ตรวจทาน หาแป้นผิด วรรคผิด แล้วพยามปรับปรุง 4. หากไม่มีข้อผิดพลาดแล้ว ให้เร่งนิ้วขึ้น

Here’s a shocking skin cancer stat: Men under the age of 40 are 55 percent more likely to die of melanoma than women in the same age group, says a new study in theJournal of the American Medical Association. Previous research shows women have the edge when it comes to surviving melanoma--the most serious form of skin cancer--but most studies focus on middle-aged and older adults who are more likely to develop the disease in the first place. However, in the new study, researchers looked at men and women ages 15 to 39. Given women’s track record of hitting up their M.D. when they notice an abnormality more quickly than guys do, it may be easy to chalk up the survival difference to women getting their cancers spotted sooner. But that’s not exactly the case, says study author Susan Swetter, M.D., of Stanford University Medical Center & Cancer Institute. When researchers adjusted for factors that may affect survival, such as tumor thickness, location of the melanoma, and whether or not the cancer has spread, the findings stayed the same. And even when men’s tumors had less deadly characteristics than women, guys still fared worse. For instance, men with the thinnest melanomas were nearly twice as likely to die than women. “Our results present further evidence that a biologic mechanism may contribute to the sex disparity in melanoma survival,” says Swetter, though she isn’t sure what it could be. Differences in sex hormones, vitamin D metabolism, and immune regulation are all possibilities that need further investigation, she says.

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 205


แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 17.2

วิธีใช้โปรแกรมและคำ�สั่ง: 1. กดปุ่ม”แบบฝึกหัด”เพื่อเข้าเมนู เลือกแบบฝึกหัดที่ 17.2 พิมพ์ตามโปรแกรม โดยให้ผ่านเกณฑ์ 100% หรือตามคำ�สั่งของครูผู้สอน และบันทึกผลการฝึกพิมพ์ทุกครั้ง เพื่อให้ผู้สอนบันทึกคะแนน การพิมพ์ (สัญลักษณ์ ↵ คือ การเคาะ Space Bar ต่อเนื่องไม่ต้องกด Enter) 2. จากนั้นพิมพ์แบบด้านล่างลงในโปรแกรม Word กั้นหน้าและกั้นหลัง ข้างละ 1 นิ้ว 3 รอบ แล้ว คำ�นวณความเร็วในการพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์จากแบบที่พิมพ์ (ซื่อสัตย์ต่อตนเอง ไม่ใช้แป้น Backspace)

Today I want to talk about genetically-modified organisms (GMO) in↵ infant formula. On the Truth in Labeling Coalition website, Marsha↵ Walker, RN, IBCLC wrote about the risks of GMO ingredients in baby↵ foods, such as infant formula (emphasis mine).↵ The process of genetic engineering alters the genetic structure of the↵ food which could increase food sensitivity and food allergies later in↵ life. Unlike breastmilk which varies with the diet of the mother and stage↵ of infancy, the composition of formula is always the same. Food↵ sensitivities can increase with exposure, with repeated feedings of the↵ same formula further increasing the risk of allergies.↵ Genetic engineering also has the potential to transfer allergies from one↵ food source to another. Years ago, a nut gene was inserted into↵ soybeans which produced soy that caused allergic reactions in people↵ who were allergic to nuts. Modifying the genetic structure of a food↵ could also introduce new, unpredictable allergens from non-food genes↵ inserted through the process of genetic engineering.↵ Genetic engineering has the potential to increase and/or introduce new↵ food toxins. Genetic engineering could alter or decrease a food's↵ nutritional value or substantially increase certain components that↵ could be detrimental to health. Genetic engineering could contribute to↵ the growing problem of antibiotic resistance. Current transgenic plants↵ may contain antibiotic resistant marker genes (a technique used during↵ the genetic engineering process to show whether gene transfers have↵ been successfully completed).

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 207


แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 17.4

วิธีใช้โปรแกรมและคำ�สั่ง: 1. กดปุ่ม”แบบฝึกหัด”เพื่อเข้าเมนู เลือกแบบฝึกหัดที่ 17.4 พิมพ์ตามโปรแกรม โดยให้ผ่านเกณฑ์ 100% หรือตามคำ�สั่งของครูผู้สอน และบันทึกผลการฝึกพิมพ์ทุกครั้ง เพื่อให้ผู้สอนบันทึกคะแนน การพิมพ์ (สัญลักษณ์ ↵ คือ การเคาะ Space Bar ต่อเนื่องไม่ต้องกด Enter) 2. จากนั้นพิมพ์แบบด้านล่างลงในโปรแกรม Word กั้นหน้าและกั้นหลัง ข้างละ 1 นิ้ว 3 รอบ แล้ว คำ�นวณความเร็วในการพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์จากแบบที่พิมพ์ (ซื่อสัตย์ต่อตนเอง ไม่ใช้แป้น Backspace) ใช้โจทย์ของการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 17.4

Here’s a shocking skin cancer stat: Men under the age of 40 are 55 ↵ percent more likely to die of melanoma than women in the same age↵ group, says a new study in theJournal of the American Medical↵ Association. Previous research shows women have the edge when it↵ comes to surviving melanoma--the most serious form of skin cancer--↵ but most studies focus on middle-aged and older adults who are more↵ likely to develop the disease in the first place. However, in the new↵ study, researchers looked at men and women ages 15 to 39.↵ Given women’s track record of hitting up their M.D. when they notice an↵ abnormality more quickly than guys do, it may be easy to chalk up the↵ survival difference to women getting their cancers spotted sooner. But↵ that’s not exactly the case, says study author Susan Swetter, M.D., of↵ Stanford University Medical Center & Cancer Institute.↵ When researchers adjusted for factors that may affect survival, such as↵ tumor thickness, location of the melanoma, and whether or not the↵ cancer has spread, the findings stayed the same. And even when men’s↵ tumors had less deadly characteristics than women, guys still fared↵ worse. For instance, men with the thinnest melanomas were nearly↵ twice as likely to die than women.↵ “Our results present further evidence that a biologic mechanism may↵ contribute to the sex disparity in melanoma survival,” says Swetter,↵ though she isn’t sure what it could be. Differences in sex hormones,↵ vitamin D metabolism, and immune regulation are all possibilities that↵ need further investigation, she says. พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 209


คาบที่ 52 แบบฝึกหัดพิมพ์ดีดด้วยเครื่องหน่วยที่ 18 แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 18.1

คำ�สั่ง: 1. ให้กั้นหน้า 20 เคาะ และกั้นหลัง 50 เคาะ แล้วพิมพ์ตามแบบด้านล่าง 3 เที่ยว 2. พิมพ์แบบจับเวลา 10 นาที โดยพิมพ์ตามแบบ ไม่ต่ำ�กว่า 3 จบ 3. เมื่อเสร็จแต่ละจบ ให้ตรวจทาน หาแป้นผิด วรรคผิด แล้วพยามปรับปรุง 4. หากไม่มีข้อผิดพลาดแล้ว ให้เร่งนิ้วขึ้น

A few weeks ago, my friends from the Wild Spirit Wolf Sanctuary in New Mexico paid us a visit at the CMI offices in Los Angeles. They had just returned from Alaska, where they rescued a wolf from a terrible situation. It was an honor and a privilege to meet this wolf and made me think about how much we can learn from the wolf, as the animals and species from which dogs descended. I’ve talked about this many times. When we relate to our dogs, especially when trying to correct an unwanted behavior or issue, it’s important to think of them first as Animal, then as Species (dog), then as Breed (Shepherd, Beagle, Husky), and last and least important as Name. To have a happy, balanced dog is to respect these qualities about them. What do these words mean to you? When I think of “Animal,” I think nature, the wilderness, and freedom. I think of wolf packs and their territories, which extend for miles. Animals live in the present and life is simple. It’s about Instinct and Survival – the basic needs of shelter, food, water, and mating. Humans are animals too, but we are the only species that dwell on the past, worry about the future, and actively fear death. Dogs as a Species were descended from wolves, and are so similar that their DNA is almost identical. This is why we can learn so much from wolves in the wild, watching their interaction, their communication, and their pack orientation. Species, on a deeper level then, is about พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 211


แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 18.2

คำ�สั่ง: 1. ให้กั้นหน้า 20 เคาะ และกั้นหลัง 50 เคาะ แล้วพิมพ์ตามแบบด้านล่าง 3 เที่ยว 2. พิมพ์แบบจับเวลา 10 นาที โดยพิมพ์ตามแบบ ไม่ต่ำ�กว่า 3 จบ 3. เมื่อเสร็จแต่ละจบ ให้ตรวจทาน หาแป้นผิด วรรคผิด แล้วพยามปรับปรุง 4. หากไม่มีข้อผิดพลาดแล้ว ให้เร่งนิ้วขึ้น

Here's the problem: You're waiting for someone to finish compiling a report that you need for a meeting. Because of an issue that came up, you're already 15 minutes late. You can feel your body getting tense, and you're getting quite cross. You start sweating, and suddenly you yell at the person for being slow and putting you behind schedule. You can tell she's hurt, but you can't help it. She's making you late! Does this sound familiar? Many of us are impatient at times. Losing control of our patience hurts not only us, but those around us. Impatience raises our stress level and can even cause physical harm to our bodies. Being impatient can also damage relationships. In this article, we'll examine strategies that you can use to be more patient. Why Practice Patience?: Others often see impatient people as arrogant, insensitive, and impulsive. They can be viewed as poor decision makers, because they make quick judgments or interrupt people. Some people will even avoid impatient people, because of their poor people skills and bad tempers. People with these personality traits are unlikely to be at the top of the list for promotions to leadership positions. Impatience can even affect relationships at home. The more patient you are with others, the likelier you are to be viewed positively by your peers and your managers, not to mention your family and friends. Signs of Impatience: How do you know when you're being impatient? You will probably experience one of more of the following symptoms: shallow breathing (short breaths), muscle tension, hand clenching/ พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 213


คาบที่ 53 แบบฝึกหัดพิมพ์ดีดด้วยเครื่องหน่วยที่ 18 (ต่อ)

แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 18.3

คำ�สั่ง: 1. ให้กั้นหน้า 20 เคาะ และกั้นหลัง 50 เคาะ แล้วพิมพ์ตามแบบด้านล่าง 3 เที่ยว 2. พิมพ์แบบจับเวลา 10 นาที โดยพิมพ์ตามแบบ ไม่ต่ำ�กว่า 3 จบ 3. เมื่อเสร็จแต่ละจบ ให้ตรวจทาน หาแป้นผิด วรรคผิด แล้วพยามปรับปรุง 4. หากไม่มีข้อผิดพลาดแล้ว ให้เร่งนิ้วขึ้น

Why quitting smoking can seem so hard ? Smoking tobacco is both a physical addiction and a psychological habit. The nicotine from cigarettes provides a temporary, and addictive, high. Eliminating that regular fix of nicotine will cause your body to experience physical withdrawal symptoms and cravings. Because of nicotine’s “feel good” effect on the brain, you may also have become accustomed to smoking as a way of coping with stress, depression, anxiety, or even boredom. At the same time, the act of smoking is ingrained as a daily ritual. It may be an automatic response for you to smoke a cigarette with your morning coffee, while taking a break from work or school, or during your commute home at the end of a long day. Perhaps friends, family members, and colleagues smoke, and it has become part of the way you relate with them. To successfully quit smoking, you’ll need to address both the addiction and the habits and routines that go along with it. While some smokers successfully quit by going cold turkey, most people do better with a plan to keep themselves on track. A good plan addresses both the short–term challenge of quitting smoking and the long–term challenge of preventing relapse. It should also be tailored to your specific needs and smoking habits. Take the time to think of what kind of smoker you are, which moments of your life call for a cigarette, and why. This will help you to identify which tips, techniques or therapies may be most beneficial for you. พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 215


แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 18.4

คำ�สั่ง: 1. ให้กั้นหน้า 20 เคาะ และกั้นหลัง 50 เคาะ แล้วพิมพ์ตามแบบด้านล่าง 3 เที่ยว 2. พิมพ์แบบจับเวลา 10 นาที โดยพิมพ์ตามแบบ ไม่ต่ำ�กว่า 3 จบ 3. เมื่อเสร็จแต่ละจบ ให้ตรวจทาน หาแป้นผิด วรรคผิด แล้วพยามปรับปรุง 4. หากไม่มีข้อผิดพลาดแล้ว ให้เร่งนิ้วขึ้น

The challenge of the development and underdevelopment of Africa has attracted the attention of scholars, leaders, politicians, commentators and the international community over the years. Various theories have been propounded to explain the challenges of development and underdevelopment of Africa. These theories include classical theories; developmentalist theories and Marxist theories.[i] The classical theories argue that underdevelopment arise from rapid population growth, lack of comparative advantage, low savings and investment and low economic growth. The developmentalist theories point out that underdevelopment arises from market failure, unbalanced growth, poor linkages and inability to reach the “take off” stage for development. The Marxist theories argue that underdevelopment comes from exploitation by external and internal collaborators with negative impact from colonialism, imperialism, World Bank, International Monetary Fund and the general dependence of Africa on the developed world coupled with the stagnation and incorporation of Africa into the world capitalist system. Despite several theories and postulations, the underdevelopment of Africa has remained as a huge challenge. This is why this new book on How Africans underdeveloped Africa is a useful addition to the literature on the underdevelopment of Africa. This review is divided into five parts. The first part introduces the review and outlines theories of underdevelopment of Africa. The second part describes the content of the book while the third part highlights the contribution of the book to knowledge. The fourth part is a critique of the book and the fifth part is the conclusion of the review. The 177 paged book is made up of eight chapters. Chapter one พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 217


แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 18.5

คำ�สั่ง: 1. ให้กั้นหน้า 20 เคาะ และกั้นหลัง 50 เคาะ แล้วพิมพ์ตามแบบด้านล่าง 3 เที่ยว 2. พิมพ์แบบจับเวลา 10 นาที โดยพิมพ์ตามแบบ ไม่ต่ำ�กว่า 3 จบ 3. เมื่อเสร็จแต่ละจบ ให้ตรวจทาน หาแป้นผิด วรรคผิด แล้วพยามปรับปรุง 4. หากไม่มีข้อผิดพลาดแล้ว ให้เร่งนิ้วขึ้น

The United States-Dominican Republic-Central America Free Trade Agreement (CAFTA) is the latest in a series of Free Trade Agreements (FTAs) that the United States has entered into with its neighbors in the Western Hemisphere. The most familiar of these is the decade-old NAFTA, the North American Free Trade Agreement, which links the U.S., Canada and Mexico. In addition, the U.S. has negotiated or is still negotiating FTAs with Chile, Peru, Panama, Colombia. Like these agreements, CAFTA opens, not only a new era in trade between the United States and its neighbors, but also new opportunities for U.S. companies and U.S. operations of foreign companies. Historically, the United States has been the main trading partner of each of the countries in the agreement—Costa Rica, the Dominican Republic, El Salvador,Guatemala, Honduras, and Nicaragua. U.S. government policy has been to grant these countries relatively open access to U.S. markets for their goods, while they protected their own markets with tariffs and other barriers. These tariffs and barriers prevented or severely restricted U.S. access to the markets in these countries for U.S. manufactured goods, agricultural products, professional services, and investments. CAFTA immediately eliminates all tariffs on 80 percent of U.S. manufactured goods, with the remainder phased out over a few years. Importantly, the agreement is not limited to manufactured goods, but covers virtually every type of trade and commercial exchange between these countries and the United States. It also strengthens regulatory standards and environmental protections in Central America and the Dominican Republic and provides for independent, outside monitoring. (Read the full text of the United States-Dominican Republic-Central American Free Trade Agreement.) พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 219


คาบที่ 51 แบบฝึกหัดพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 18

แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 18.1

วิธีใช้โปรแกรมและคำ�สั่ง: 1. กดปุ่ม”แบบฝึกหัด”เพื่อเข้าเมนู เลือกแบบฝึกหัดที่ 18.1 พิมพ์ตามโปรแกรม โดยให้ผ่านเกณฑ์ 100% หรือตามคำ�สั่งของครูผู้สอน และบันทึกผลการฝึกพิมพ์ทุกครั้ง เพื่อให้ผู้สอนบันทึกคะแนน การพิมพ์ (สัญลักษณ์ ↵ คือ การเคาะ Space Bar ต่อเนื่องไม่ต้องกด Enter) 2. จากนั้นพิมพ์แบบด้านล่างลงในโปรแกรม Word กั้นหน้าและกั้นหลัง ข้างละ 1 นิ้ว 10 รอบ แล้วคำ�นวณความเร็วในการพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์จากแบบที่พิมพ์ (ซื่อสัตย์ต่อตนเอง ไม่ใช้แป้น Backspace)

A few weeks ago, my friends from the Wild Spirit Wolf Sanctuary in New↵ Mexico paid us a visit at the CMI offices in Los Angeles. They had just↵ returned from Alaska, where they rescued a wolf from a terrible↵ situation. It was an honor and a privilege to meet this wolf and made↵ me think about how much we can learn from the wolf, as the animals↵ and species from which dogs descended.↵ I’ve talked about this many times. When we relate to our dogs,↵ especially when trying to correct an unwanted behavior or issue, it’s↵ important to think of them first as Animal, then as Species (dog), then↵ as Breed (Shepherd, Beagle, Husky), and last and least important as↵ Name. To have a happy, balanced dog is to respect these qualities↵ about them. What do these words mean to you?↵ When I think of “Animal,” I think nature, the wilderness, and freedom.↵ I think of wolf packs and their territories, which extend for miles.↵ Animals live in the present and life is simple. It’s about Instinct and↵ Survival – the basic needs of shelter, food, water, and mating. Humans↵ are animals too, but we are the only species that dwell on the past,↵ worry about the future, and actively fear death.↵ Dogs as a Species were descended from wolves, and are so similar that↵ their DNA is almost identical. This is why we can learn so much from↵ wolves in the wild, watching their interaction, their communication, and↵ พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 221


แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 18.2

วิธีใช้โปรแกรมและคำ�สั่ง: 1. กดปุ่ม”แบบฝึกหัด”เพื่อเข้าเมนู เลือกแบบฝึกหัดที่ 18.2 พิมพ์ตามโปรแกรม โดยให้ผ่านเกณฑ์ 100% หรือตามคำ�สั่งของครูผู้สอน และบันทึกผลการฝึกพิมพ์ทุกครั้ง เพื่อให้ผู้สอนบันทึกคะแนน การพิมพ์ (สัญลักษณ์ ↵ คือ การเคาะ Space Bar ต่อเนื่องไม่ต้องกด Enter) 2. จากนั้นพิมพ์แบบด้านล่างลงในโปรแกรม Word กั้นหน้าและกั้นหลัง ข้างละ 1 นิ้ว 10 รอบ แล้วคำ�นวณความเร็วในการพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์จากแบบที่พิมพ์ (ซื่อสัตย์ต่อตนเอง ไม่ใช้แป้น Backspace)

Here's the problem: You're waiting for someone to finish compiling a↵ report that you need for a meeting. Because of an issue that came up,↵ you're already 15 minutes late. You can feel your body getting tense,↵ and you're getting quite cross. You start sweating, and suddenly you yell↵ at the person for being slow and putting you behind schedule. You can↵ tell she's hurt, but you can't help it. She's making you late! Does this↵ sound familiar?↵ Many of us are impatient at times. Losing control of our patience hurts↵ not only us, but those around us. Impatience raises our stress level and↵ can even cause physical harm to our bodies. Being impatient can also↵ damage relationships. In this article, we'll examine strategies that you↵ can use to be more patient.↵ Why Practice Patience?: Others often see impatient people as arrogant,↵ insensitive, and impulsive. They can be viewed as poor decision makers,↵ because they make quick judgments or interrupt people. Some people↵ will even avoid impatient people, because of their poor people skills↵ and bad tempers.↵ People with these personality traits are unlikely to be at the top of the↵ list for promotions to leadership positions. Impatience can even affect↵ relationships at home. The more patient you are with others, the likelier↵ you are to be viewed positively by your peers and your managers, not↵ to mention your family and friends.↵ Signs of Impatience: How do you know when you're being impatient?↵ You will probably experience one of more of the following symptoms:↵ shallow breathing (short breaths), muscle tension, hand clenching/↵ พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 223


แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 18.3

วิธีใช้โปรแกรมและคำ�สั่ง: 1. กดปุ่ม”แบบฝึกหัด”เพื่อเข้าเมนู เลือกแบบฝึกหัดที่ 18.3 พิมพ์ตามโปรแกรม โดยให้ผ่านเกณฑ์ 100% หรือตามคำ�สั่งของครูผู้สอน และบันทึกผลการฝึกพิมพ์ทุกครั้ง เพื่อให้ผู้สอนบันทึกคะแนน การพิมพ์ (สัญลักษณ์ ↵ คือ การเคาะ Space Bar ต่อเนื่องไม่ต้องกด Enter) 2. จากนั้นพิมพ์แบบด้านล่างลงในโปรแกรม Word กั้นหน้าและกั้นหลัง ข้างละ 1 นิ้ว 10 รอบ แล้วคำ�นวณความเร็วในการพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์จากแบบที่พิมพ์ (ซื่อสัตย์ต่อตนเอง ไม่ใช้แป้น Backspace)

Why quitting smoking can seem so hard ? Smoking tobacco is both a↵ physical addiction and a psychological habit. The nicotine from↵ cigarettes provides a temporary, and addictive, high. Eliminating that↵ regular fix of nicotine will cause your body to experience physical↵ withdrawal symptoms and cravings. Because of nicotine’s “feel good”↵ effect on the brain, you may also have become accustomed to smoking↵ as a way of coping with stress, depression, anxiety, or even boredom.↵ At the same time, the act of smoking is ingrained as a daily ritual. It may↵ be an automatic response for you to smoke a cigarette with your↵ morning coffee, while taking a break from work or school, or during↵ your commute home at the end of a long day. Perhaps friends, family↵ members, and colleagues smoke, and it has become part of the way↵ you relate with them.↵ To successfully quit smoking, you’ll need to address both the↵ addiction and the habits and routines that go along with it.↵ While some smokers successfully quit by going cold turkey, most↵ people do better with a plan to keep themselves on track. A good↵ plan addresses both the short–term challenge of quitting smoking and↵ the long–term challenge of preventing relapse. It should also be tailored↵ to your specific needs and smoking habits.↵ Take the time to think of what kind of smoker you are, which moments↵ of your life call for a cigarette, and why. This will help you to identify↵ which tips, techniques or therapies may be most beneficial for you.↵ Do you feel the need to smoke at every meal? Are you more of a social↵ พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 225


แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 18.4

วิธีใช้โปรแกรมและคำ�สั่ง: 1. กดปุ่ม”แบบฝึกหัด”เพื่อเข้าเมนู เลือกแบบฝึกหัดที่ 18.4 พิมพ์ตามโปรแกรม โดยให้ผ่านเกณฑ์ 100% หรือตามคำ�สั่งของครูผู้สอน และบันทึกผลการฝึกพิมพ์ทุกครั้ง เพื่อให้ผู้สอนบันทึกคะแนน การพิมพ์ (สัญลักษณ์ ↵ คือ การเคาะ Space Bar ต่อเนื่องไม่ต้องกด Enter) 2. จากนั้นพิมพ์แบบด้านล่างลงในโปรแกรม Word กั้นหน้าและกั้นหลัง ข้างละ 1 นิ้ว 10 รอบ แล้วคำ�นวณความเร็วในการพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์จากแบบที่พิมพ์ (ซื่อสัตย์ต่อตนเอง ไม่ใช้แป้น Backspace) ใช้โจทย์ของการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 18.4

The challenge of the development and underdevelopment of Africa↵ has attracted the attention of scholars, leaders, politicians,↵ commentators and the international community over the years.↵ Various theories have been propounded to explain the challenges of↵ development and underdevelopment of Africa. These theories include↵ classical theories; developmentalist theories and Marxist theories.[i] The↵ classical theories argue that underdevelopment arise from rapid↵ population growth, lack of comparative advantage, low savings and↵ investment and low economic growth. The developmentalist theories↵ point out that underdevelopment arises from market failure,↵ unbalanced growth, poor linkages and inability to reach the “take off”↵ stage for development. The Marxist theories argue that↵ underdevelopment comes from exploitation by external and internal↵ collaborators with negative impact from colonialism, imperialism, World↵ Bank, International Monetary Fund and the general dependence of Africa↵ on the developed world coupled with the stagnation and incorporation↵ of Africa into the world capitalist system.↵ Despite several theories and postulations, the underdevelopment of↵ Africa has remained as a huge challenge. This is why this new book on↵ How Africans underdeveloped Africa is a useful addition to the literature↵ on the underdevelopment of Africa.↵ This review is divided into five parts. The first part introduces the review↵ and outlines theories of underdevelopment of Africa. The second part↵ describes the content of the book while the third part highlights the↵ พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 227


แบบฝึกหัดการพิมพ์ดีดด้วยคอมพิวเตอร์ที่ 18.5

วิธีใช้โปรแกรมและคำ�สั่ง: 1. กดปุ่ม”แบบฝึกหัด”เพื่อเข้าเมนู เลือกแบบฝึกหัดที่ 18.5 พิมพ์ตามโปรแกรม โดยให้ผ่านเกณฑ์ 100% หรือตามคำ�สั่งของครูผู้สอน และบันทึกผลการฝึกพิมพ์ทุกครั้ง เพื่อให้ผู้สอนบันทึกคะแนน การพิมพ์ (สัญลักษณ์ ↵ คือ การเคาะ Space Bar ต่อเนื่องไม่ต้องกด Enter) 2. จากนั้นพิมพ์แบบด้านล่างลงในโปรแกรม Word กั้นหน้าและกั้นหลัง ข้างละ 1 นิ้ว 10 รอบ แล้วคำ�นวณความเร็วในการพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์จากแบบที่พิมพ์ (ซื่อสัตย์ต่อตนเอง ไม่ใช้แป้น Backspace) ใช้โจทย์ของการพิมพ์ดีดด้วยเครื่องที่ 18.5

The United States-Dominican Republic-Central America Free Trade↵ Agreement (CAFTA) is the latest in a series of Free Trade Agreements↵ (FTAs) that the United States has entered into with its neighbors in the↵ Western Hemisphere. The most familiar of these is the decade-old↵ NAFTA, the North American Free Trade Agreement, which links the U.S.,↵ Canada and Mexico. In addition, the U.S. has negotiated or is still↵ negotiating FTAs with Chile, Peru, Panama, Colombia. Like these↵ agreements, CAFTA opens, not only a new era in trade between↵ the United States and its neighbors, but also new opportunities for↵ U.S. companies and U.S. operations of foreign companies. Historically,↵ the United States has been the main trading partner of each of the↵ countries in the agreement—Costa Rica, the Dominican Republic, El↵ Salvador,Guatemala, Honduras, and Nicaragua. U.S. government policy↵ has been to grant these countries relatively open access to U.S. markets↵ for their goods, while they protected their own markets with tariffs and↵ other barriers. These tariffs and barriers prevented or severely restricted↵ U.S. access to the markets in these countries for U.S. manufactured↵ goods, agricultural products, professional services, and investments.↵ CAFTA immediately eliminates all tariffs on 80 percent of U.S.↵ manufactured goods, with the remainder phased out over a few years.↵ Importantly, the agreement is not limited to manufactured goods, but↵ covers virtually every type of trade and commercial exchange between↵ these countries and the United States. It also strengthens regulatory↵ standards and environmental protections in Central America and the↵ พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 229


Dominican Republic and provides for independent, outside monitoring.↵ (Read the full text of the United States-Dominican Republic-Central↵ American Free Trade Agreement.)↵ Over time, with the implementation of CAFTA, most of the tariffs and↵ barriers that have previously limited access to these markets will fall.↵ Duties on more than 80 percent of the more than $20 billion in U.S.↵ goods exported to the region annually end immediately. Within five↵ years, 85 percent of U.S. exported goods are to become duty-free,↵ while the remaining tariffs will be phased out over 10 years. So even at↵ the beginning, CAFTA provides companies located in the United States a↵ measurable advantage in these markets over competitors from other↵ parts of the world.↵ Notably, with services representing an ever larger share of the U.S.↵ economy, CAFTA significantly enhances market access by U.S. service↵ providers to the service sectors — financial services (banking, trade↵ finance, insurance, securities); telecommunications and IT services;↵ architectural, engineering, and design services; accounting and↵ consulting; legal services; education and healthcare; transportation/↵ distribution/logistics; and various other kinds of professional services--↵ of the Dominican Republic and Central American economies.↵ Significantly, all barriers to U.S. investment are also eventually to be↵ eliminated. In the CAFTA countries, U.S. companies are to be treated as↵ if they were local. And, for the first time, they will operate within a↵ reliable legal framework. In the same way, intellectual property rights↵ will be protected as they have been in the United States. The↵ agreement is also structured to foster greater transparency in↵ government procurement, opening yet another previously closed door↵ for U.S. businesses.

พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น ชนธัญ วัฒนสุทธิ์ หน้า 230


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.