baisri.

Page 1

บายศรีสู่ ขวัญ

“บายศรีสูขวัญ” ของสู งทีท่ รงคุณค่ าของไทย ทีค่ วรอนุรักษ์ ไว้ เพือ่ คนรุ่นหลัง


ประวัตคิ วามเป็ นมาของบายศรี บายศรี เป็ นของสู งเป็ นสิ่ งที่มีค่าของคนไทย ตั้งแต่โบราณมาจนถึงปั จจุบนั นับตั้งแต่เกิดจะจัดพิธีสงั เวยและทำขวัญในวาระต่างๆ ซึ่งจะต้อง มีบายศรี เป็ นสิ่ งสำคัญในพิธีน้ นั ๆ ซึ่งเป็ นศาสนพิธีของพราหมณ์ คำว่า บาย ภาษาเขมร แปลว่า ข้าวสุ ก บาย ภาษาถิ่นอีสาน แปลว่า จับต้อง สัมผัส ศรี เป็ นคำมาจากภาษาสันสกฤตตรงกับ ภาษาบาลี ว่า สิ ริ แปลว่า มิ่งขวัญ คำว่า ? บายศรี ? แปลว่า ข้าวขวัญ หรื อ สิ่ งที่ น่าสัมผัสกับความดีงาม (ความหมายของชาวอีสาน) บายศรี ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน แปลว่า ข้าวอันเป็ น สิ ริ ,ขวัญข้าว หรื อภาชนะใส่ เครื่ องสังเวยในโบราณมีการเรี ยกพิธีสู่ ขวัญ ว่า บาศรี เหตุที่เรี ยกว่า บาศรี เนื่องมาจากเป็ นพิธีสำหรับ บุคคลชั้นเจ้านายผูใ้ หญ่ทำกัน จึงมีคำว่า บา อยูด่ ว้ ย ?บา?ในภาษาโบราณอีสานใช้เป็ น คำนำหน้าเรี ยกเจ้านาย เช่น บาท้าว บาบ่าว บาคราญ เป็ นต้น ส่ วนคำว่า ศรี หมายถึงผูห้ ญิงและสิ่ งที่เป็ นสิ ริมงคล บาศรี จึงหมายถึงการทำพิธีที่เป็ น สิ ริมงคลแต่ปัจจุบนั นี้ คำว่า บาศรี ไม่ค่อยนิยมเรี ยกกันแล้ว มักนิยมเรี ยกว่า บายศรี เป็ นส่ วนมาก

ประวัตคิ วามเป็ นมาของพิธีบายศรีสู่ ขวัญ กล่าวกันว่าพิธีบายศรี สู่ขวัญมาพร้อมกับพราหมณ์ทมิฬชานอินเดียที่อพยพมาสู่ สุวรรณภูมิ หนังสื อเก่าที่พบซึ่ งออกในสมัยพระเจ้าอู่ทอง กล่าวไว้วา่ บายเป็ นภาษาเขมรแปลว่าข้าว ข้าวอันเป็ นสิ ริมงคลข้าวขวัญกล่าวคือข้าวที่หุงปรุ งรสโอชาอย่างดีเหมาะสมที่จะเป็ นเครื่ องสังเวยให้เทว ดา โปรด พิธีใดเป็ นพิธีเทวดาโดยตรง หรื อต้องการที่จะอัญเชิญเทวดามาเป็ นประธาน ต้องหาของสังเวยที่ดีและมีสีสะดุดตา ชาวทมิฬจึงมีเคล็ดลับ ความเชื่อใน ข้าวที่ยอ้ มสี ตามสี ประจำองค์เทวดา รวมถึงใช้สีล่อเทวดาฝ่ ายร้ายให้ไปรวมต่างหากไม่ให้มาทำอัปมงคลให้โทษแก่มณฑลพิธีและบุ คคล ซึ่งขนบธรรมเนียมประเพณี ของไทยกับทมิฬได้มีความเป็ นมาอย่างเดียวกัน เนื่องจากได้มีการถ่ายทอดวัฒนธรรมต่าง ๆแก่กนั โดยเฉพาะอย่า งยิง่ พิธีบวงสรวงเทวดา มีขนมต้มขาว มะพร้าวอ่อน กล้วย ข้าวย้อมสี เช่นข้าวเหนียวดำ ข้าวเหนียวแดง ก็นำมาใช้ในพิธีไทยอย่างชัดเจน นอกจากนี้ ภาชนะบายศรี ตองเป็ นกระทงที่สำหรับบรรจุอาหาร ภายหลังเอาพานซ้อนกันขึ้นไปแล้วเอาของตั้งบนปากพาน เมื่อมีการถ่ายทอดมาที่ประเทศไทย ซึ่งมีศิลปศาสตร์ที่เจริ ญขึ้น กระทงใบตองก็ถกู ประดิดประดอยให้สวยงามเป็ นกระทงเจิม ซึ่ งประดับประดาตกแต่งที่ปากกระทงให้มีความงดงาม มีกระจัง มียอดแหลมตามศิลปะแบบไทย ๆพิธีบายศรี สู่ขวัญหรื อหลายท้องถิ่นในภาคอีสานจะเรี ยกว่าสู่ขวัญหรื อสู ดขวัญ ตามความเชื่อขอองคนไทยเชื่อกันว่าคนที่เกิดมามีขวัญประจำกายมีหน้าที่ในการพิทกั ษ์รักษา ขวัญเป็ นเหมือนพี่เลี้ยงที่คอยดูแลประคับประ คองชีวติ คอยเลี้ยงดู และติดตามไปทุกหนทุกแห่ง เป็ นสิ่ งไม่มีตวั ตนคล้ายจิตหรื อวิญญาณแฝงอยูใ่ นตัวคนและสัตว์ ซึ่ งขวัญตามความเชื่อทางพระ พุทธศาสนาเชื่อว่าในร่ างกายเรามี 2 สิ่ งรวมกัน คือร่ างกายและจิตใจหรื อขวัญขวัญ คือความรู ้สึก ถ้าขวัญของผูใ้ ดอยูก่ บั ตัว ผูน้ ้ นั จะมีความสุ ขกาย ส บายใจเป็ นปกติแต่ถา้ ขวัญของผูใ้ ดหลบลี้หนีหายผูน้ ้ นั จะมีลกั ษณะอาการตรงกันข้ามคนไทยจึงเชื่อว่าพิธีสู่ขวัญเป็ นพิธีหนึ่งที่จะช่วยส่ งเสริ มเพิ่มพ ลังใจให้เข้มแข็ง เมื่อมีขวัญที่มนั่ คง พลังใจที่เข้มแข็งดีแล้ว ย่อมส่ งผลให้การประกอบภารกิจหน้าที่น้ นั ๆบรรลุผลสำเร็ จได้ตามความมุ่งหมาย ซึ่ง ให้กำลังใจกันเมื่อมีความทุกข์ใจ หรื อเสริ มให้มีความสุ ขยิง่ ๆขึ้นไปเมื่อมีความสุ ขความพอใจอยูแ่ ล้วก็สามารถทำได้ การทำพิธีสู่ ขวัญอาจทำได้ท้ งั พิธีทางพระพุทธศาสนาและพิธีทางศาสนาพราหมณ์ ซึ่งปัจจุบนั ก็ยงั คงยึดถือปฏิบตั ิสืบต่อกันมา


ความหมายของบายศรี บายศรี เป็ นงานเครื่ องสด ประเภทงานใบตอง เป็ นการประดิษฐ์ใบตองเป็ นนิ้ว หรื อเป็ นกาบ หรื อเป็ นเกร็ ด เข้าตัวเป็ นชั้น ๆ จัดลงในชาม หรื อพาน หรื อภาชนะอื่น ตกแต่งด้วยดอกไม้มงคลบายศรี เป็ นของสู ง เป็ นสิ่ งที่มีค่า สำหรับชาวไทยตั้งแต่โบราณ มาจนถึงบัดนี้นบั แต่แรกเกิดจน เติบใหญ่เราจะจัดพิธีสงั เวย และทำขวัญในวาระต่าง ๆ ซึ่งต้องมีบายศรี เป็ นสิ่ งสำคัญในพิธีน้ นั ๆ มีผรู ้ ู ้ได้ให้ความหมายของบายศรี ไว้ดงั นี้ บายศรี พจนานุกรมฉบับราช บัณฑิตย สถาน พ.ศ. 2525 ได้ให้ความหมายไว้วา่ “เครื่ องเชิญขวัญหรื อรับขวัญ ทำด้วยใบตอง รู ปคล้ายกระทงเป็ นชั้นๆ มีขนาดใหญ่เล็กสอบขึ้นไปตามลำดับ เป็ น 3 ชั้น 5 ชั้น 7 ชั้น หรื อ 9 ชั้น มีเสาปั กตรงกลางเป็ นแกน มีเครื่ อง สังเวย วางอยูใ่ นบายศรี และมีไข่ขวัญ เสี ยบอยูบ่ นยอดบายศรี บายศรี มีหลายอย่างเช่น บายศรี ตอง บายศรี ปากชาม บายศรี ใหญ่ (บาย หมายถึง ข้าว + ศรี หมายถึง สิ ริ รวมความหมายถึง ข้าวอันเป็ นสิ ริ หรื อขวัญข้าว) บายศรี ราชบัณฑิตอธิบายว่า “ภาชนะที่จดั ตกแต่งให้สวยงามพิเศษด้วยใบตอง และดอกไม้สด เพื่อเป็ นสำรับใส่ อาหารคาวหวานในพิธีสงั เวยบูชา และพิธีทำขวัญต่าง ๆ “ บายศรี ในภาษาถิ่นอีสานแปลความหมายเป็ นดังนี้ บาย ภาษาถิ่นอีสาน แปลว่า จับต้อง สัมผัส ศรี เป็ นคำมาจาก ภาษาสันสกฤตตรงกับ ภาษาบาลี ว่า สิ ริ แปลว่า มิ่งขวัญ คำว่า “ บายศรี ” ความหมายของชาวอีสาน แปลว่า ข้าวขวัญ หรื อ สิ่ งที่ น่าสัมผัสกับความดีงาม บายศรี ผูร้ ู ้หลายท่านอธิบายว่ามาจากคำว่า “บาย” ในภาษาเขมร แปลว่า “ข้าว” ส่ วนคำว่า “ศรี ” หมายถึง มิ่ง สง่า ความเจริ ญ รวมกันแล้ว หมายถึง “โภชนาการอันเป็ นมิ่งมงคล” ดังนั้นจึงอาจสรุ ปได้วา่ บายศรี หมายถึงภาชนะบรรจุอาหารที่เป็ นมงคลเพื่อใช้ใน พิธีกรรมที่เป็ นมงคล โดยอาจประดิษฐ์ตกแต่งด้วยเครื่ องสด เช่น ใบตอง ดอกไม้ จัดตกแต่งบนภาชนะรองเช่นพาน โตก วางเรี ยงเป็ นชั้น ๆ ขึ้นไป จำนวนชั้นขึ้นอยูก่ บั โอกาสการใช้งาน


ส่ วนประกอบและการนับชั้นของบายศรี การทำบายศรี แต่ละตัวในแต่ละ ประเภท จะมีส่วนประกอบที่คล้ายกัน ดังนี้ 1. ตัวแม่ หรื อตัวยอด 2. ตัวรอง ตัวลูก นมสาว หรื อนมแมว หรื อเกร็ ด 3. ผ้านุ่ง

การนับชั้นบายศรี สามารถนับได้สองวิธี เพื่อให้ได้จำนวนคี่ 3-5-7-9 ชั้น ซึ่งถือว่าเป็ นเลขสวยและเป็ นมงคล เมื่อรวมเป็ นบายศรี แล้วจะเรี ยกว่าตัว หรื อองค์ ดังนี้ 1. วิธีที่ 1 นับเฉพาะตัวรอง หรื อนมสาว (บางคนเรี ยกตัวลูกหรื อนมแมว) 2. วิธีที่ 2 นับรวมกับตัวยอด หรื อตัวแม่ดว้ ย


ความสำคัญของบายศรี บายศรี มีความสำคัญต่อวิถีชีวติ ของชาวไทยตั้งแต่เกิด งานพิธีที่นิยมจัดทำบายศรี ข้ ึนบูชา ได้แก่ 1. ในงานพระราชพิธีต่างๆเช่น การบวงสรวงเทพ เทวดา และดวงพระวิญญาณของบุรพมหากษัตริ ย ์ การเปลี่ยน เครื่ องทรงของพระแก้วมรกต พระราชพิธีสมโภชต่าง ๆ 2. การทำขวัญต่าง ๆ เช่น ขวัญเดือน การตัดจุก โกนจุก การบวช การแต่งงาน การรับขวัญ ส่ งขวัญ การทำขวัญเรื อน การทำขวัญช้าง การทำขวัญนา การทำขวัญข้าว ฯลฯ 3. การสังเวยพระภูมิเจ้าที่ 4. การยกเสาเอก 5. การไหว้ครู ต่างๆเช่น ครู ละคร ครู ดนตรี ครู ฟ้อนรำ 6. การบวงสรวงสังเวยเทวดาอารักษ์ในกรณี ต่าง ๆ เช่น การแก้บน 7. การฉลองพระพุทธรู ปต่าง ๆ 8. การสมโภชกรุ ง


รูปแบบบายศรี บายศรีปากชาม บายศรี ปากชาม

จัดเป็ นแม่แบบของบายศรี แบบอื่นๆ องค์บายศรี ใช้ใบตอ งตานีเย็บพับจับจีบ กลางองค์บายศรี ทำเป็ น กรวยภายในกรวยใส่ ขา้ วตอกดอกไม้ ยอดกรวยประดับด้ วยไข่ตม้ รอบองค์บายศรี ประดับดอกไม้มงคลบายศรี จดั ตั้ งอยูบ่ นปาก ชาม ถ้าประดับตกแต่งมาก จนวิจิตรอาจเรี ยกว่า เป็ น บายศรี ปากชามทรงเครื่ องบายศรี ปากชาม เป็ นบายศรี ขนาดเล็ก ใช้ชามขนาดย่อมๆ ใบงามๆ เช่น ชามเบญจรงค์ ถ้าหาชามที่สวยไม่ได้กใ็ ช้ตน้ กล้วยตัดเป็ นท่อนแทน ชาม เมื่อเสร็ จพิธีกน็ ำไปจำเริ ญ หรื อทิ้ง ไปเลย ปัจจุบนั นิยมจัดใส่ พานเงินพานทองบายศรี ปากชามนี้มีต้ งั แ ต่ 3 ชั้น 5 ชั้น 7 ชั้น และ 9 ชั้น (จำนวนเกร็ ด ,นิ้ว,กาบ) ตามแต่ขนาดของภาชนะและ ขนาดของพิธีตามฐานะของครอบครัว หรื อขนาดของโ รงพิธีซ่ ึ งเป็ นงานของหมู่คณะ เช่นพิธีบวงสรวง สังเวย บูชาครู เทพยดา ทัว่ ๆ ไป


บายศรี เทพ

บายศรี เทพ

ที่นิยมประดิษฐ์ส่วนมากจะมีรูปแบบ คือ ประกอบด้วยตัวบายศรี 9 ชั้น ทั้งหมด 8 ตัว องค์บายศรี ใช้ใบตองตานีเย็บพับจับจีบ กลางองค์บายศรี ทำเป็ นกรวย ภายในบรรจุขา้ วตอกดอกไม้ กล้วยน้ำว้า รอบองค์บายศรี ประดับด้วยดอกไม้มงคล ห้อยอุบะดอกรัก ประดับยอดด้วย ดอกดาวเรื อง และดอกบัว บายศรี เทพใช้การบูชาเทพยดาเจ้า ทั้งหลายใช้บูชาเป็ นคู่บางตำราอาจใช้ตวั บายศ รี องค์ แม่ 9 ชั้น จำนวน 4 องค์ และใช้องค์ลกู 7 ชั้น อีก 4 องค์ส่วนการเรี ยก ชื่อบางคน อาจคิดว่าบายศรี เทพ และบายศรี พรหม เป็ นพานเดียว กันเลยเรี ยกว่าบายศรี พรหม - เทพ การตกแต่งพานบายศรี เทพการประดับตกแต่งบายศรี เทพ มักตกแต่งด้วยดอกไม้มงคล เช่น ดอกดาวเรื อง ดอกรัก ดอกกุหลาบ ตกแต่งส่ วน กรวย ด้วยการ ใช้มาลัยชำร่ วยคล้อง ปั กด้วยดอกบัวหรื อดอกดาวเรื อง ส่ วนมุมทั้ง 4 ของปาก พานตกแต่ง ด้วยอุบะปิ ดทับ ด้วยดอกบัว หรื อดอกดาวเรื อง แล้วแต่ความต้องการและความสวยงาม


บายศรีพรหม บายศรี พรหม

เป็ นบายศรี ที่จดั ลงในพานทอง ใช้ในงานพิธีใหญ่ๆนิยมใช้เป็ นคู่ เช่นเดียวกับบายศ รี ปากชามบายศรี พรหมประกอบด้วยองค์บายศรี 9 ชั้น 4 องค์ และองค์บายศรี 16 ชั้น 4 องค์

การตกแต่งพานบายศรี พรหมขั้นตอนท้ายสุ ดตกแต่งด้วย ดอกไม้สิริมงคล เช่น ดอกดาวเรื อง ดอกกุหลาบ การตกแต่งส่ วนกรว ยประกอบตรงกลางบายศรี ใช้ดอกบัว ดอกดาวเรื อง หรื ออาจเป็ นมาลั ยชำร่ วยคล้องยอดกรวยตกแต่งให้สวยงามและตรงกับความต้องการ


บายศรีพรหม2หน้ า ใช้ในงานพิธีต่างๆโดยเฉพาะพิธีใหญ่ๆ สำหรับเป็ นเครื่ องสังเวยบูชา ครู บาอาจารย์ ชั้นพรหม ประกอบด้วยตัวบายศรี ตัวแม่ 32 ชั้น ตัวลูก 9ชั้นรอบพานประกอบด้วยดอกแอ สเตอร์ดาวเรื องห้อยอุบะดอกรักปักยอดด้วยดอ กดาวเรื อง และดอกบัวสัตตบงกช

ประโยชน์ของบายศรี พรหม บายศรี พรหมใช้ในการทำพิธีบู ชาเทพยดาเจ้าในเทวโลกและพระพรหม ตลอดจนรู ปพรหมทุก ๆ องค์ในชั้นพรหมโลก บายศรี พรหมยังจัดแบ่งเป็ นบายศรี มหาพร หม บายศรี กบิลพรหม บายศรี พรหม สี่ หน้า และอีกมาก แต่โดยทัว่ ไปจะนิยม ใช้องค์บายศรี 9 ชั้น 4 องค์ และองค์บายศรี 16 ชั้น 4 องค์ บางท้องถิ่นจะเพิ่มองค์บายศรี 15 ชั้นอีก 4 องค์ โดยมีความหมายเพิ่มขึ้นว่าบูชาเทวดา ทั้ง 16 ชั้นฟ้ า และ15ชั้นดินผูท้ ี่จะยกบายศรี พร มไหว้เทพยดาหรื อ องค์พรหม สิ่ งที่ขาด ไม่ได้ คือต้องใส่ ปัจจัยลงไปใน พานบายศรี ดว้ ย จะเป็ นจำนวนเท่าไรก็ได้ไม่ได้กำหนด เมื่อเสร็ จสิ้ นพิธีมกั จะเก็บบูชา ไว้ 3 - 7 วัน จึงลาบายศรี แล้วนำไปลอยน้ำฝากแม่พระคงคา เพื่อความร่ มเย็นเป็ นสุ ข ปัจจัยก็จะนำไปทำบุญ หรื อซื้ อของใส่ บาตร


บายศรี ส่ ู ขวัญ บายศรีสู่ ขวัญ เป็ นบายศรี ขนาดใหญ่จดั วางใส่

ภาชนะวางซ้อนทับกันเป็ นชั้น ๆ ขึ้นไป ใช้ในพิธีสู่ ขวัญให้กบั คน สิ่ งของ ธรรมชาติ แล้วแต่ความเชื่อของท้องถิ่นนั้นๆส่ วนใหญ่แล้วจะมี รู ปแบบที่คล้ายคลึงกัน

บายศรีสู่ ขวัญบางกอก เป็ นบายศรี ขนาดใหญ่

จัดประดิษฐ์ในภาชนะรู ปพานซ้อนกัน 5 ชั้น ใช้ในพิธีสู่ขวัญ สมโภชของชาวภาคกลาง ประกอบด้วยตัวบายศรี ช้ นั ละ 5 ตัว แต่ละชั้นลดหลัน่ กันมีพมุ่ กรวยยอดบายศรี ตกแต่งด้วยดอกดาวเรื อง บางทีเรี ยกว่าบายศรี ดาวเรื อง

บายศรีสู่ ขวัญภาคอิสาน บายศรี ขนาดใหญ่

จัดประดิษฐ์ใส่ ในภาชนะขนาดใหญ่ เช่นโตกโดยซ้อนเรี ยงกัน 3 ชั้น ใช้ใน พิธีสู่ ขวัญของชาวอิสานประกอบด้วยตัว บายศรี วางสับ-หว่างกันในภาชนะแต่ละชั้น ประดิษฐ์ใน หลาย รู ป แบบแตกตามตามโอกาสการใช้งานประดับตกแต่งด้วยดอก ไม้มงคล เช่น ดอกรัก ดาวเรื อง กุหลาบ พุด ฯลฯ


บายศรี สู่ขวัญกำแพงเพชร บายศรี ขนาดใหญ่

จัดประดิษฐ์ในภาชนะเครื่ องปั้ นดินเผาใช้ในพิธีสู่ ขวัญ สมโภช และบูชาพระบรมธาตุ ประกอบด้วยตัวบายศรี และกำแพงแก้วทุกชั้น ดอกไม้ใบไม้มงคล

บายศรีสู่ ขวัญภาคเหนือ บายศรี ช้ นั เดียวขนาดใหญ่

จัดประดิษฐ์ในขันน้ำพานรอง ใช้ในพิธีสู่ ขวัญของชาวภาคเหนือ ประกอบด้วย ตัวบายศรี 6 ตัว และดอกไม้ใบไม้มงคลสี สนั สดใส


บายศรีสู่ ขวัญภาคกลาง


โอกาสการใช้ บายศรีสู่ ขวัญ

ช่วงเวลา พิธีบายศรี -สู่ขวัญ สามารถทำกันได้ทุกเวลา ไม่มีขอ้ กำหนดหรื อข้อยกเว้น หรื อข้อห้ามไม่ให้ปฏิบตั ิจดั ทำ การบายศรี -สู่ขวัญ เป็ นกิจกรรมที่จดั ขึ้นเพื่อความเป็ น สิ ริมงคล นิยมจัดทำกันในโอกาสอันเป็ นมงคลต่าง ๆ เช่น ขึ้นบ้านใหม่ บวชนาค แต่งงาน เลื่อนยศ เลื่อนตำแหน่ง พระภิกษุเลื่อนสมณศักดิ์ หรื อผูใ้ หญ่ที่เคารพนับถือมาสู่ ทอ้ ง ที่ จะต้องเดินทางไกล ย้ายที่อยู่ เป็ นพิธีมงคลที่นิยมทำกันมา กทั้งในงานเล็กน้อยภายในครอบครัว หรื อจัดเป็ นพิธีใหญ่โต ตามฐานะ

การบายศรี สู่ ขวัญทำขึ้นเพื่อเรี ยกขวัญให้กลับมาอยูก่ บั ตัวอวยพรให้อยูเ่ ย็นเป็ นสุ ข อายุมนั่ ขวัญยืน เจริ ญก้าวหน้า ประสบโชคชัย ปลอบประโลมจิตใจให้เข้มแข็งมัน่ คง ปราศจากความหวาดกลัว เดินทางก็ให้ปลอดภัย


บายศรีต้น

บายศรีต้น ใช้ตน้ กล้วยเป็ นแกนต่อมามีการคิดทำแกนให้ถาวรและมัน่ คงยิง่ ขึ้นจึงใช้ไ ม้ เนื้อแข็งเกลากลึง เป็ นต้นมี 3-5-7

และ 9 ชั้น บายศรี ตน้ ในแต่ละภาคมีการประดิษฐ์ในรู ปแบบที่แตกต่างกันออกไปบายศรี ตน้ ถือเป็ นบายศรี ขนาดใหญ่จดั ทำอยากต้อ งใช้ความพยามและความอดทดในการทำ บายศรี ตน้ จะประดิษฐ์ บายศรี ในหลายรู ปแบบ เช่น พับเป็ นกลีบบัวสัตตบงกช กลีบผกา กลีบหน้านาค กลีบหน้าช้าง กรวย ฯลฯ จัดวางลงใน ฐานรอง มีขนาดลดหลัน่ กันไป บายศรี ตน้ จะมีรูปแบบเป็ นทรงต้นสน ทรงฉัตร และทรงตรง โอกาสการใช้บายศรี ตน้ โอกาสในการใช้บายศรี ตน้ จะใช้สำหรับผูท้ ี่มีศกั ดินาสู ง ใช้ในพิธีสู่ ขวัญโดย ครู บาอาจารย์


บายศรีต้น 3 ชั้น ใช้เป็ นเครื่ องสมโภชสังเวย

ในพิธีมงคลต่างๆ หรื อสู่ ขวัญในพิธีสมรสของชั้นหลาน เจ้านายฝ่ ายเหนือ ใช้ในพิธีสมรสของชั้นหลานเจ้านายฝ่ าย เหนือ

บายศรีต้น 5 ชั้น

ใช้ในพิธีต่างๆสำหรับเจ้านายที่ ทรงกรมหรื อเสนาบดี บายศรี ตน้ นี้เป็ น บายศรี ที่เรี ยกอีกอย่างหนึ่งว่า บายศรี ตองรองทองขาว ซึ่ งแต่ละชั้นของบายศรี จะบรรจุดว้ ยขนม หวาน หรื อดอกไม้ที่มีชื่อ เป็ นมงคล


บายศรีต้น 7 ชั้น ใช้สำหรับเจ้านายชั้นเจ้าฟ้ าและพระรา

ชอาคันตุกะชั้นประธานาธิบดี เรี ยกอีกชื่อหนึ่งว่า บายศรี ตน้ กลีบ หน้านาคแต่ละชั้นจะประดับด้วยดอกบัวใช้ในพิธีสมโภชพระพุ ทธรู ป

บายศรีต้น 9 ชั้น ใช้สำหรับพระบาทสมเด็จพระ

เจ้าอยูห่ วั และสมเด็จพระนางเจ้า พระบรมราชินีนาถในพิธี หรื อพระราชพิธีที่เป็ นมงคลต่างๆ


บายศรีตอ ใช้ในงานพิธีบวงสรวงครู แขนงต่างๆ ประกอบด้วยตัวบายศรี ตวั แม่ 9 ชั้น ตัวลูก 7 ชั้น ประดับพานด้วยดอกแอสเตอร์ ดาวเรื อง กุหลาบ ยอดบายศรี ปักด้วยเม็ดโฟมและเข็มหมุด ห้อยอุบะดอกรัก และประดับยอดด้วยดอกดาวเรื องและดอกบัวสดบงกช

บายศรีหลัก เป็ นบายศรี หลัก เป็ นชั้นๆม ี5ชั้น 9ชั้น16ชั้น ตามความเหมาะสมในแต่ละพิธีกรรมอย่างเช่น งานไหว้ครู งานพุทธาเทวาภิเษกซึ้งต้องมีหลักใน บายศรี น้ นั ๆ


บายศรีปรางค์ สามยอด ใช้ในงานบวงสรวงสังเวย และงานพิธีมงคลต่างๆ ประกอบด้วยบายศรี ตวั แม่ 7 ชั้น ตัวลูก 5 ชั้น เป็ นบายศรี ที่มียอด 3 ยอด พานประดับด้วยดอกดาวเรื อง ดอกกุหลาบ ยอดกรวยบายศรี ประดับด้วย ดอกบัว 3 ดอก ดอกดาวเรื อง ดอกรัก ดอกบานไม่รู้โรย ห้อยอุบะดอกรัก

บายศรีพฆิ เนศ

เป็ นที่ใช้ในพิธีบวงสรวง พรหมครู เทพพรหมแขนงศิลปะ ต่างๆ ประกอบด้วยตัวบายศรี ตวั แม่ 9 ชั้น ตัวลูก 7 ชั้น ยอดบายศรี ประกอบด้วย ดอกดาวเรื อง แอสเตอร์ ห้อยอุบะดอกรัก ปลายคู่อุบะติดดอกกุหลาบ ปั กยอดด้วยดอกดาวเรื อง และดอกบัว


บายศรีพานทรงพุ่ม 5 ยอดลายข้ าวหลามตัด ใช้ในโอกาสเฝ้ าทูลเกล้าถวายรับขวัญหรื อพิธีมงคลต่างๆ ประกอบด้วยตัวบายศรี ตวั แม่ 5 ชั้น ตัวลูก 3 ชั้น ตัวพุม่ ประดับด้วยดอกบานไม่รู้ โรยและดอกรัก เป็ นรู ปข้าวหลามตัด ปลายยอดปักด้วยดอกดาวเรื องและดอกบัว ห้อยอุบะดอกรักและกุหลาบ

บายศรีพานทรงพุ่ม 5 ยอด ใช้ในพิธีใหญ่ๆ ประกอบด้วยตัวบายศรี ตวั แม่5ชั้น ตัวลูก 3 ชั้น ใช้ดอกบานไม่รู้โรยและดอกรักตกแต่งพุม่ ประดับพานด้วยดอกดาวเรื องยอดบายศรี ปักด้วยโฟมและ เข็มหมุด ห้อยอุบะดอกรัก ปลายยอดปักด้วยดอกดาวเรื อง และดอกบัว


บายศรีชุดจำลองจากชุดใหญ่


บายศรีพญานาค

บายศรีพญานาคทำจากลิปบิน้



Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.