The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การสำรวจและจัดทำแผนที่ด้วยอากาศยานไร้คนขับ (Unmanned Aerial Vehicle : UAV)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ebookitc.dpt, 2021-10-14 03:46:09

การสำรวจและจัดทำแผนที่ด้วยอากาศยานไร้คนขับ (Unmanned Aerial Vehicle : UAV)

การสำรวจและจัดทำแผนที่ด้วยอากาศยานไร้คนขับ (Unmanned Aerial Vehicle : UAV)

Keywords: สำนักวิศวกรรมการผังเมือง,การสำรวจ,การจัดทำแผนที่

โครงข่ายสามเหลย่ี มทางอากาศ

รูปที่ 2-7 การรังวัดแบบจลน์ทนั ทที ันใด (Real-time Kinematic Survey: RTK)
2.1.4 การรงั วดั พิกัดภาคพ้ืนดนิ สาหรบั การสารวจดว้ ยภาพถ่าย (Ground Observation for

Photogrammetry)
(1) การรงั วดั พิกัดภาคพ้ืนดนิ ทีเ่ หมาะสมสาหรับการสารวจด้วยภาพถา่ ยจากเครื่องบิน

การสารวจด้วยภาพถ่ายจากเคร่ืองบินแต่ละครั้งนั้นจะครอบคลุมพื้นท่ีการสารวจขนาดท่ีค่อนข้างใหญ่
การเลือกการรังวัดด้วยระบบดาวเทียมนาหนพิภพ (GNSS) จึงเป็นวิธีการที่เหมาะสม ซ่ึงเทคนิคการรังวัด
ด้วยระบบดาวเทียมนาหนพิภพ GNSS ที่นามาใช้สาหรับงานในลักษณะน้ีมีทั้งวิธี Static, Rapid Static,
Kinematic และ RTK อย่างไรกต็ าม การเลือกใช้วิธีเทคนิคการรงั วัดท่ีเหมาะสมนั้นจะข้ึนอยู่กับงบประมาณ
ความถกู ต้องที่ต้องการ และระยะเวลาในการทางาน ซงึ่ วิศวกรสารวจจาเป็นอยา่ งยิง่ ทจี่ ะตอ้ งคานึงถงึ ปจั จัยเหลา่ นี้
ในการออกแบบ

(2) การรังวัดพิกัดภาคพ้ืนดินที่เหมาะสมสาหรับการสารวจด้วยภาพถ่ายจาก UAV
การสารวจด้วยภาพถา่ ยจากเครื่องบนิ แตล่ ะครั้งน้ันจะครอบคลุมพนื้ ที่การสารวจขนาดท่ไี มค่ วรเกิน 20-25 ตร.กม.
ดังน้ัน การเลอื กใช้ระบบรังวดั พิกดั ด้วยดาวเทียม GNSS จงึ เปน็ วิธกี ารท่ีเหมาะสมเชน่ เดียวกับภาพถ่ายจากเครื่องบิน
แตเ่ นื่องจากการเลอื กใช้ UAV ในการสารวจนั้นส่วนใหญแ่ ล้วจะเป็นงานทีต่ อ้ งแขง่ กับเวลาและถกู จากัดด้วยงบประมาณ
เทคนิคการรงั วดั พิกดั ด้วยดาวเทียม GNSS ท่ีนามาใชน้ ยิ มเลอื กมาใช้สาหรับงานนคี้ อื วิธี Rapid State และ RTK
อย่างไรก็ตามวิธี Static ยังคงมีความสาคัญในการโยงยึดระบบพิกัดของการทางานเข้ากับหมุดหลักฐาน
ของหนว่ ยงานทางราชการ เช่น หมุดหลกั ฐานของกรมแผนทีท่ หาร หมุดหลกั ฐานของกรมทดี่ นิ และหมุดหลกั ฐาน
ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เปน็ ตน้

DPT KM ACTION PLAN 39

โครงข่ายสามเหลย่ี มทางอากาศ

อนึ่ง ในกรณที ี่พ้นื ที่ขนาดเล็ก และ/หรือไมม่ อี ุปกรณ์รบั สญั ญาณดาวเทียม GNSS การใชง้ านวงรอบ
(Traversing) รว่ มกบั การระดบั (Leveling) เขา้ มาสรา้ งจุดบังคบั ภาพถือเปน็ อีกหนง่ึ ทางเลือกทส่ี ามารถกระทาได้
โดยในปัจจุบันสามารถดาเนินการได้โดยใช้กล้องประมวลผลรวม (Total Station) ในการรังวัดพิกัดทางราบ
และกลอ้ งระดับอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (Electronic Leveling) ในการถ่ายระดบั เขา้ จดุ ควบคมุ ตา่ งๆ ทีไ่ ด้วางแผนไว้

2.2 วธิ ีการระบคุ า่ การจดั วางภายนอก
คา่ การจดั วางภายนอกของภาพถา่ ยเป็นคา่ พารามเิ ตอรท์ รี่ ะบุตาแหน่งของการเปิดถ่ายภาพและความเอยี ง
ของแกนกล้อง X0, Y0, Z0, ω,φ,κ เป็นพารามิเตอร์ที่สาคัญต่อการประมวลผลการสารวจด้วยภาพถ่าย
ค่าพารามเิ ตอร์นี้จะถูกคานวณโดยการวัดสอบกลับโดยวธิ ีเลง็ สกัดย้อน (Single Photo Resection) เพือ่ การคานวณ
หาพารามเิ ตอรน์ ้จี ะต้องใช้จดุ ควบคมุ ภาพจานวนมากเพอ่ื การแกไ้ ขสมการ แต่ในปัจจบุ นั ค่าพารามิเตอร์เหล่าน้ี
จะถูกบันทึกมากับการถา่ ยภาพในอากาศยานไร้คนขับประสทิ ธิภาพสูง แต่ถึงอย่างไรค่าท่ีได้นั้นยงั ไม่เพียงพอ
ต่อความละเอียดถูกต้องของมาตรฐานงานสารวจแผนทีท่ ี่ต้องการ จึงมีความจาเปน็ ต้องใช้จุดควบคมุ ภาพ
ในปรมิ าณทเ่ี หมาะสมกับมาตรฐานงานทีก่ าหนด

รูปที่ 2-8 ตวั อยา่ งคา่ การจัดวางภายนอกของภาพถ่าย 38

38 ทีม่ า : https://www.researchgate.net/figure/Figure-2-8-Exterior-Orientation-lps_fig6_321849988
DPT KM ACTION PLAN 40

โครงขา่ ยสามเหล่ียมทางอากาศ

2.3 การคานวณโครงขา่ ยสามเหลีย่ มแบบลาแสงเป็นบลอ็ ค
ผลลัพธ์ที่ไดจ้ ากการประมวลในการสารวจดว้ ยภาพ ประกอบดว้ ยงานหลักต่อไปน้ี

(1) คา่ พิกัดฉาก 3 มติ ขิ องวตั ถใุ ด ๆ (E, N, h)
(2) ภาพถ่ายตดั แก้ออรโ์ ธ
(3) กลุ่มของจุดสามมิติ หรอื พอยต์คลาวด์ (Point Cloud)
(4) แบบจาลองพนื้ ผิวและแบบจาลองระดบั
(5) แผนทล่ี ายเสน้
ผลลพั ธ์ท่ไี ด้เหลา่ น้ีเกดิ ขน้ึ ภายหลงั จากการประมวลภาพถ่ายท่มี ีการวางแผนการถ่ายภาพในลกั ษณะของ
โครงข่ายสามเหล่ียมการถา่ ยภาพ (Photo Triangulation Network) โดยหากภาพถ่ายท่วี ่านีเ้ ป็นภาพถ่ายทางอากาศ
ซง่ึ อาจจะได้จากเครอื่ งบนิ หรอื อากาศยานไรค้ นขับ ก็จะเรียกว่าโครงข่ายสามเหล่ยี มทางอากาศ (Aerial Triangulation
หรืออีกชื่อหน่ึงคือ Aero-Triangulation) โดยการประมวลผลภาพในลักษณะของโครงข่ายการถ่ายภาพน้ี
จะเป็นการวเิ คราะหห์ าคา่ องค์ประกอบภาพถ่ายภายนอก (Exterior Orientation Parameter) ไปพร้อมกันท้ังบล็อค
ของการถา่ ยภาพ โดยแต่ละภาพถา่ ยในบล็อคนั้นจะมีส่วนซ้อนด้านหน้าและสว่ นซอ้ นดา้ นข้างเปน็ ต้นมีจุดผ่าน
และจุดโยงยึดทาหน้าที่เหมือนกาวท่ีหยอดไว้เป็นจุดๆ ซึ่งในบทนี้จะขอเรียกจุดเหล่านี้ว่าจุดประสาน
(Connection Point) ดังรูปที่ 2-9 ท่ีเชื่อมโยงทุกภาพในบล็อคการบินภายภาพให้มีความแข็งแรงและยึดติดกัน
เปน็ ผนื เดยี ว ส่งผลให้เมอื่ ดาเนนิ การคานวณปรับแก้เพอื่ หาค่าองคป์ ระกอบภาพภายนอกสามารถทีจ่ ะดาเนินการ
ไปพร้อมกันทุกภาพได้ ท้งั นเ้ี พราะค่าพกิ ัดภาคพื้นดินของจุดประสานเหล่าน้จี ะถูกคานวณข้นึ มาพรอ้ มกันด้วย
ซ่ึงนับเป็นการเพิ่มจานวนจุดควบคุมภาพถ่าย (Photo Control Points) ในบล็อกของภาพถ่ายของทุกภาพ
ไปโดยปริยาย และเน่ืองจากกระบวนการคานวณปรบั แกโ้ ครงขา่ ยสามเหล่ยี มทางอากาศได้เพ่มิ ค่าพิกัดภาคพื้นดิน
ของจุดประสานต่างๆ ขึ้นมาใหม่เพิ่มเติมขึ้นจากจุดควบคุมเดิมที่ได้รังวัดจากภาคสนาม จึงนิยมเรียก
กระบวนการน้ีว่า การขยายจุดควบคมุ (Photo Control Extension) ทีน่ บั ได้วา่ เปน็ การเพ่มิ จุดควบคุมภาพถ่าย
ได้อีกหนทางหนึ่ง ซ่ึงเป็นการลดปริมาณงานชีวิตภาคสนามเป็นจานวนมาก โดยเหตุนี้การคานวณปรับแก้
โครงข่ายสามเหล่ียมทางอากาศจึงถือเปน็ กระบวนการหลกั ในการคานวณปรับแก้ของการสารวจด้วยภาพถา่ ย

DPT KM ACTION PLAN 41

โครงข่ายสามเหลยี่ มทางอากาศ

รปู ที่ 2-9 แสดงการเชื่อมโยงจุดผ่านและจดุ โยงยดึ 39
กระบวนการคานวณปรับแกโ้ ครงข่ายสามเหล่ยี มทางอากาศ จึงประกอบไปด้วยการทางานใน 2 ส่วนหลกั
คือ (1) การเล็งสกัดย้อนภาพถ่ายเดี่ยวเพื่อหาค่าองค์ประกอบภาพภายนอกในแต่ละภาพของบล็อค
และ (2) การเล็งสกัดภาพถ่ายคู่เพื่อหาค่าพิกัดภาคพ้ืนดินของจุดประสานต่างๆ ซ่ึงต้องมี ประกอบไปด้วย
จุดควบคุมภาพถ่าย และจุดประสานภาพถ่าย โดยจุดควบคุมภาพถ่ายนี้ควรเป็นจุดใดๆ บนภาพถ่ายที่มีลกั ษณะ
เด่นชดั สามารถระบุชัดทางตาแหน่งได้อยา่ งชดั เจนบนภาพและในสนามที่เรียกว่า “Well Identified Point”
กล่าวคือ เมื่อลงไปรังวัดในภาคสนาม จุดเหล่านีค้ วรจะต้องสามารถค้นหาได้ง่าย และควรที่จะมีการกระจาย
ตามตาแหน่งดังรูปที่ 2-10 และเนื่องจากจุดเหลา่ นี้มีความเด่นชัดการรังวัดพิกัดของจุดควบคุมภาพถ่าย
ก็จะสามารถดาเนินการตามเป้าหมายได้อย่างแม่นยาตามไปด้วย นอกจากนี้ ต้องมีการวัดพิกัดภาพ
ของจุดประสานต่าง ๆ (จุดผ่านและจุดโยงยึด) เพื่อให้ไดค้ ่าพิกัดภาคพ้ืนดินอันจะช่วยเสริมในการคานวณ
ปรับแก้บล็อคถ่ายภาพ ทั้งนี้จุดประสานที่เป็นจุดผ่านควรจะมีอย่างน้อย 6 จุดบริเวณส่วน ซ้อนด้านหน้า
และจุดประสานทีเ่ ป็นจดุ โยงยึด ควรจะมอี ยา่ งนอ้ ย 2 จดุ ทง้ั น้ีในการนับจดุ ผ่านอาจจะนับรวมเอาจดุ โยงยึดเขา้ ไวด้ ้วย
(Fiag, 1976) โดยเหตุน้ี จึงเรียกจดุ ควบคมุ ภาพท้ัง 2 ชนดิ นวี้ า่ จดุ ประสานภาพถ่าย

39 ท่ีมา : http://photogrammetrydevelopment.blogspot.com/2010/08/what-is-aerial-triangulation.html
DPT KM ACTION PLAN 42

โครงข่ายสามเหลีย่ มทางอากาศ

รปู ท่ี 2-10 แสดงตาแหนง่ การกระจายตวั ทเ่ี หมาะสมสาหรบั กระบวนการคานวณปรับแก้
โครงข่ายสามเหลีย่ มทางอากาศ 40

40 ที่มา : https://www.sciencedirect.com/topics/earth-and-planetary-sciences/digital-photogrammetry
DPT KM ACTION PLAN 43



การวางแผนการบนิ และการถา่ ยภาพด้วยอากาศยานไร้คนขับ

บทที่ 3
การวางแผนการบินและการถ่ายภาพด้วยอากาศยานไร้คนขับ

การบินถ่ายภาพของการสารวจด้วยอากาศยานไร้คนขับประกอบไปด้วย 2 ส่วนหลัก ได้แก่
การวางแผนการบนิ ใชใ้ นการกาหนดรปู แบบการบิน ระดบั สงู บนิ ขนาดสว่ นซอ้ นและสว่ นเกย และการถ่ายภาพ
เปน็ ส่วนสาคญั ในการผลติ ข้อมลู ดิบเพ่อื นาไปประมวลผล

เพ่ือควบคุมความถูกต้องเชิงตาแหน่งของผลลัพธ์ของการสารวจด้วยอากาศยานไร้คนขับ ข้ันตอน
การวางแผนการบนิ เปน็ ข้ันตอนทสี่ าคัญ เนื่องจากการกาหนดพารามิเตอรข์ องการวางแผนการบินจะต้องสอดคลอ้ ง
กับความถูกต้องทต่ี อ้ งการ พารามเิ ตอร์ที่เกีย่ วขอ้ งในการวางแผนการบินประกอบด้วย

(1) ความสูงบิน
(2) GSD
(3) ส่วนซ้อนและส่วนเกย
(4) รูปแบบการบิน
3.1 ความสงู บิน
ความสงู บินเปน็ ส่วนสาคัญของการสารวจด้วยอากาศยานไร้คนขบั เน่ืองจากความสูงบินท่ีตา่ ลงจะได้
ความละเอียดของภาพถา่ ยสูงข้ึน สามารถผลิตข้อมูลเชิงตาแหน่งที่มีความถกู ตอ้ งมากข้ึน แต่ตอ้ งใชเ้ วลาบินนานขึ้น
เพื่อให้ได้ภาพท่ีมีส่วนซ้อนและส่วนเกยเท่าเดิม นอกจากระยะเวลาในการบินเพิ่มขึ้นแล้วยังต้องคานึงถึง
จานวนภาพท่ีเพม่ิ ขน้ึ ซึง่ จะสง่ ผลโดยตรงตอ่ ระยะเวลาในการประมวลผล ดังนนั้ นอกจากจะตอ้ งระวังเร่อื งความสงู
ของสภาพพน้ื ทแ่ี ล้ว ระดบั สงู บนิ มสี ว่ นสาคญั อย่างย่งิ ต่อการสารวจดว้ ยอากาศยานไร้คนขบั โดยสามารถคานวณ
ระดับสงู บินได้จากสมการ

DPT KM ACTION PLAN 44

การวางแผนการบินและการถ่ายภาพด้วยอากาศยานไรค้ นขบั

= ( × × ) / ( ×100)

H (Flight Height) คอื ความสงู การบนิ เหนอื จุดขึน้ บิน หน่วย เมตร
GSD คือ ระยะพน้ื ตอ่ พิกเซล หน่วย เซนตเิ มตรตอ่ พิกเซล
SW (Sensor Width) คือ ระยะด้านกว้างของเซนเซอร์ หนว่ ย มิลลิเมตร
f (Focal Length) คอื ทางยาวโฟกสั ของเลนส์ หนว่ ย มลิ ลเิ มตร
IW (Image Width) คือ จานวนพกิ เซลดา้ นกวา้ ง หน่วย พิกเซล
และสามารถหาระยะพนื้ จริงจากภาพถ่ายหน่งึ ใบไดจ้ ากสมการ

= ( × )/ 100
DW (Distance Width) คอื ระยะพ้ืนตอ่ หนง่ึ ภาพ หน่วย เมตร
GSD คือ ระยะพืน้ ตอ่ พกิ เซล หน่วย เซนตเิ มตรตอ่ พิกเซล
IW (Image Width) คือ จานวนพกิ เซลดา้ นกว้าง หน่วย พิกเซล

DPT KM ACTION PLAN 45

การวางแผนการบินและการถา่ ยภาพด้วยอากาศยานไรค้ นขับ

3.2 GSD
การกาหนดค่า GSD ขึ้นกับความถูกต้องของข้อมูลเชิงตาแหน่งที่ต้องการ โดยมีการกาหนด
ความถูกต้องในงานวิศวกรรมด้านต่าง ๆ แบ่งตามประเภทกิจกรรมหรือการใช้งานตามแนวทางของ FGDC
(Geospatial Positioning Accuracy Standards PART 4 : Standards for Architecture, Engineering,
Construction (A/E/C) and Facility Management National) ตัวอย่างงานวิศวกรรม เช่น แบบงานเกล่ียระดับ
และงานขุดกาหนดให้ค่าความคลาดเคล่ือนทางราบอยู่ท่ี 25 เซนติเมตร และค่าความคลาดเคลื่อนทางดิ่ง
อยู่ท่ี 10 เซนติเมตร เมื่อใช้อากาศยานไร้คนขับระดับ Survey Grade จากตารางท่ี 1 จะได้ GSD 3 เซนติเมตร
ทรี่ ะดับความเชอื่ มั่นรอ้ ยละ 95 จะสามารถผลติ ข้อมลู เชงิ ตาแหน่งทางราบเทา่ กบั 7.5 เซนตเิ มตร และสามารถ
ผลิตขอ้ มูลเชิงตาแหน่งทางด่ิงเท่ากับ 9 เซนติเมตร
3.3 ส่วนซ้อนและสว่ นเกย
การกาหนดสว่ นซ้อนและส่วนเกยสาหรบั การวางแผนการบินในงานสารวจดว้ ยอากาศยานไรค้ นขับนนั้
มีความแตกตา่ งกับการสารวจด้วยภาพถา่ ยแบบด้ังเดิมเนอ่ื งจากอากาศยานไร้คนขบั มขี นาดเล็กและไม่สามารถ
ควบคมุ ความเร็วและทศิ ทางการบนิ ไดอ้ ย่างสม่าเสมอตลอดระยะเวลาในการถา่ ยภาพ ดังนนั้ หากกาหนดส่วนซอ้ น
และส่วนเกยที่น้อยเกินไปอาจทาให้ภาพท่ีถ่ายไม่สามารถต่อกันได้ โดยการสารวจด้วยอากาศยานไร้คนขับ
จะตอ้ งกาหนดส่วนซอ้ นและส่วนเกยดังนี้

(1) ส่วนซ้อนหรือพื้นท่ีที่ทับกันอยู่ของภาพประชิดในแนวบิน กาหนดให้การถ่ายภาพ
มสี ่วนซ้อนกันไม่นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 75

(2) ส่วนเกยหรือพื้นที่ที่ทับกันอยู่ระหว่างแนวบินที่ประชิดกัน กาหนดให้การถ่ายภาพ
มีส่วนเกยกนั ไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 60

รปู ที่ 3-1 ตัวอย่างการซอ้ นกนั ของภาพถ่าย 41

41 ทม่ี า : https://support.dronedeploy.com/docs/making-successful-maps

DPT KM ACTION PLAN 46

การวางแผนการบินและการถา่ ยภาพด้วยอากาศยานไรค้ นขับ

3.4 รูปแบบการบิน
การวางแผนรปู ร่างของบล็อกการบนิ สารวจด้วยอากาศยานไรค้ นขับ โดยท่ัวไปจะกาหนดให้บินถา่ ย
ในลักษณะบล็อกสี่เหล่ียมมุมฉาก เพื่อให้โครงข่ายมีความแข็งแรงและลดจานวนจุดควบคุมภาพถ่าย
โดยสามารถเลือกรปู แบบการบนิ ได้ดังน้ี

(1) รปู แบบการบนิ แบบท่ัวไป
(2) รปู แบบการบนิ แบบดับเบล้ิ กริด

รูปที่ 3-2 รปู แบบการบนิ แบบท่ัวไป และรปู แบบการบนิ แบบดับเบลิ้ กรดิ
3.5 การถ่ายภาพ
ภาพถ่ายท่ีไดจ้ ากการสารวจด้วยอากาศยานไรค้ นขบั เป็นสว่ นสาคัญต่อการประมวลผลภาพถา่ ย ดงั นน้ั
จะต้องถ่ายภาพใหไ้ ดภ้ าพทม่ี คี ุณภาพทดี่ ีและมคี วามคมชัดทส่ี ดุ โดยมปี ัจจยั ท่ตี อ้ งพิจารณาในการถ่ายภาพ ดังน้ี

(1) มุมรงั สดี วงอาทิตย์
มุมรังสีดวงอาทิตย์เป็นสาเหตทุ ี่ทาใหเ้ กดิ เงาของสิ่งแวดลอ้ มภายในโครงการ ดังน้ันการถ่ายภาพ
ต้องถ่ายเมื่อดวงอาทิตย์อยู่สูงกว่า 45 องศา จากพื้นหรือช่วงเวลาที่ เหมาะสมคือ 9.00 น. ถึง 15.00 น.
ภายใต้สภาวะแสงท่ไี ม่ทาให้เกิดความต่างสขี องแสงและเงาอยา่ งชดั เจน
(2) การปกคลุมของเมฆ
ถึงแม้ว่าการสารวจด้วยอากาศยานไร้คนขับนั้น ส่วนใหญ่จะทาการบินต่ากว่าเมฆ แต่หาก
บรเิ วณโครงการมเี มฆปกคลุมหนาจนทาใหเ้ กิดเงาได้ กค็ วรหลีกเลีย่ งการบนิ ถา่ ยภาพ ณ ขณะนั้น
(3) สภาพอากาศเหนอื พ้นื ดิน
การสารวจทุกคร้ังจาเป็นต้องรู้สภาพพื้นที่โดยรวม เช่น โอกาสการเกิดหมอกควัน ท่ีมีผล
ต่อการถ่ายภาพ สภาพพน้ื หลงั ฝนตกกอ็ าจเป็นเหตุให้คุณภาพของภาพถ่ายทางอากาศลดลง หรือสภาพอากาศ
ทีม่ ลี มแรงจะสง่ ผลที่ให้ไดม้ ุมการถา่ ยภาพทไี่ ม่ดแี ละอาจจะเกดิ อบุ ัติเหตไุ ด้ ใหห้ ลีกเล่ยี งการบินขณะสภาพแวดลอ้ ม
ไมเ่ หมาะสม

DPT KM ACTION PLAN 47

การวางแผนการบนิ และการถ่ายภาพดว้ ยอากาศยานไร้คนขับ

3.6 การต้ังค่าการถ่ายภาพ
ภาพถา่ ยทางอากาศทน่ี าไปใช้ในการประมวลผลจะต้องมีคณุ ภาพท่ดี ี คณุ สมบัตพิ ้นื ฐานทม่ี ีความสาคญั
ต่อการถ่ายภาพให้มีความคมชัด และมีสีที่ถูกต้อง จะต้องต้ังค่าพารามิเตอร์การถ่ายภาพที่เหมาะสม
กับสภาวะแวดล้อมของพื้นที่ ซึ่งในที่นี้ให้คาแนะนาสาหรับการตั้งค่าการถ่ายภาพเบื้องต้น ทั้งนี้ผู้ใช้งาน
จะต้องตง้ั ค่าทเี่ หมาะสมในกลอ้ งแต่ละรนุ่ ดว้ ยตนเอง โดยทัว่ ไปการต้งั คา่ การถ่ายภาพประกอบด้วย

(1) รรู ับแสง
รูรบั แสงมีผลต่อความชดั ลกึ ของภาพและปรมิ าณแสงทีไ่ ด้รบั โดยการสารวจดว้ ยอากาศยานไร้คนขับ
ท่ีต้องถ่ายภาพท่ีมีความแปรผันของความสูงในพื้นที่โครงการมาก จะต้องคานึงถึงขนาดของรูรับแสงมาก
สาหรับรูรับแสงที่เหมาะสมกับการถ่ายภาพทางอากาศไม่ควรน้อยกว่า f/5.6 หรือช่วงรูรับแสงที่ดีที่สุด
ของเลนสท์ ีใ่ ช้
(2) ความเรว็ ชตั เตอร์
ความเร็วชัตเตอร์จะต้องมีค่ามากพอท่ีจะไม่ทาให้เกิดความเบลอของภาพ เนื่องมาจาก
อากาศยานไรค้ นขับจะเคลือ่ นที่เรว็ พอสมควร ดังนัน้ ความเร็วชตั เตอร์ไม่ควรช้ากวา่ 1/100 วินาที

รูปท่ี 3-3 ภาพเปรยี บเทียบผลจากความเร็วชัตเตอรท์ ีต่ า่ งกนั 42

42 ทีม่ า : http://www.miraclefishmovie.com/change-shutter-speed-aperture-d3100

DPT KM ACTION PLAN 48

การวางแผนการบนิ และการถ่ายภาพด้วยอากาศยานไร้คนขับ

(3) ค่าความไวแสง
การต้ังค่าความไวแสง คือ การเพ่ิมหรือลดคา่ ปรมิ าณแสงทเี่ ขา้ สู่กล้อง ท้ังน้ีการเพิ่มค่าความไวแสง
จะทาใหเ้ กิดสัญญาณรบกวนกบั ภาพที่บันทกึ ซ่งึ มีผลกบั การประมวลผลภาพถ่าย ทงั้ นข้ี น้ึ อยกู่ ับคุณภาพของกลอ้ ง
ท่สี ามารถลดสญั ญาณรบกวนได้เมื่อตอ้ งต้ังคา่ ความไวแสงท่สี ูงข้นึ
(4) คา่ สมดุลแสงขาว
การถ่ายภาพทเี่ วลาแตกต่างกัน ปรมิ าณแสงไมเ่ ท่ากนั จาเปน็ อยา่ งย่งิ ทจ่ี ะตอ้ งปรับค่าสมดุล
แสงขาวใหถ้ กู ตอ้ งและตรงกันตลอดระยะเวลาในการสารวจ
(5) ขนาดของภาพ
ขนาดของภาพหรือสัดส่วนของภาพด้านกว้างต่อด้านยาวนน้ั จะต้องมี สัดส่วนสงู ท่ีสุดท่กี ล้องให้ได้
ซึง่ กลอ้ งบันทกึ ภาพในปจั จุบนั สัดส่วนท่ใี ชแ้ ละมจี านวนพกิ เซลสงู ท่สี ดุ อยู่ท่ี 3:2

รูปท่ี 3-4 แสดงตวั อยา่ งสดั ส่วนของภาพถ่าย 43
3.7 คณุ ภาพของภาพถา่ ย
ภาพถ่ายเปน็ ขอ้ มลู ตั้งตน้ ของการสารวจด้วยอากาศยานไร้คนขับ การตรวจวัดคุณภาพของ ภาพถ่าย
ก่อนนาไปประมวลผลเปน็ ขั้นตอนหน่ึงที่จะต้องใหค้ วามสาคัญเมื่อบนิ ถ่ายภาพเสร็จทุกคร้ัง โดยคุณภาพหลกั
ของการตรวจสอบ ไดแ้ ก่

(1) ความคมชัด
รายละเอียดต่างๆ ของภาพต้องมคี วามคมชัด โดย 1.ภาพจะตอ้ งโฟกัสได้ในระยะท่ตี อ้ งการ
และความชัดลึกครอบคลมุ ความสงู ที่ปรากฏในพ้ืนทโี่ ครงการ 2.ภาพจะต้องไม่เบลออันเนือ่ งมาจากความเร็ว
ของอากาศยานไร้คนขบั ทม่ี ากกว่าความเรว็ ชัตเตอร์ที่ใชไ้ ด้

43 ที่มา : http://projector-compare.blogspot.com/2012/04/aspect-ratio.html

DPT KM ACTION PLAN 49

การวางแผนการบินและการถ่ายภาพดว้ ยอากาศยานไรค้ นขับ

(2) ความสว่าง
ภาพที่ได้จากการถ่ายทุกครั้งต้องมีความสว่างสม่าเสมอเท่ากันตลอดทั้งภาพ ทั้งนี้
กล้องถ่ายภาพในปัจจุบันสามารถตั้งค่าความไวแสงได้อย่างเหมาะสมโดยง่าย โดยใช้การวัดแสงแบบเฉล่ีย
ทงั้ พ้ืนท่ีเพอ่ื ตัง้ ค่าการถ่ายภาพก่อนบนิ ทุกคร้ัง
(3) ความชัดเจน
การถ่ายภาพในช่วงเวลาท่ีมแี สงน้อยจาเป็นต้องเพม่ิ ค่าความไวแสงเพ่ือให้ภาพมีความสวา่ ง
อย่างเหมาะสม แต่คา่ ความไวแสงท่สี งู ขนึ้ ย่อมทาให้เกิดสัญญาณรบกวน (noise) บนภาพ มากยงิ่ ขึน้ ในปัจจบุ นั
หากจาเปน็ ต้องนาภาพทมี่ ีสัญญาณรบกวนไปใช้ในการประมวลผล สามารถนาภาพไปปรับลดสญั ญาณรบกวน
ในโปรแกรมปรับแตง่ ภาพได้

รูปที่ 3-5 ภาพเปรยี บเทยี บสญั ญาณรบกวนภาพ (noise) จากการตัง้ ค่า ISO สงู 44
(4) ความถูกตอ้ งของสี
สีสันของภาพจะตอ้ งใกลเ้ คยี งกับสีจริงมากทีส่ ดุ ท้งั นี้หากขณะบนิ ถา่ ยภาพมีการเปล่ียนแปลง
ปริมาณแสงอาจส่งผลกระทบต่อค่าสมดุลแสงขาวที่ตั้งไว้ในตอนแรกทาให้การตรวจสอบสีของภาพ
มคี วามสาคัญและจาเปน็ ต้องปรับสีใหถ้ กู ตอ้ งกอ่ นนาไปประมวลผล

44 ท่ีมา : http://beckiemp15.weebly.com/exposure-triangle

DPT KM ACTION PLAN 50

การวางแผนการบินและการถ่ายภาพดว้ ยอากาศยานไร้คนขบั

รปู ท่ี 3-6 ภาพเปรยี บเทียบการปรบั คา่ สมดลุ แสงขาว (White balance) ท่ีแตกต่างกนั 45
3.8 จุดควบคมุ ภาพถ่าย GCP
การสารวจด้วยภาพถา่ ยจากอากาศยานไรค้ นขับจาเป็นจะต้องใชจ้ ดุ ควบคุมภาพถ่ายเพ่อื ประมวลผลปรบั แก้
และคานวณค่าองค์ประกอบภายนอกของภาพ ค่าการวางตัวของภาพถ่าย ดังนั้น จุดควบคุมภาพถ่าย
จะต้องมคี วามถูกตอ้ งเชงิ ตาแหนง่ และมีปรมิ าณการกระจายตัวอยา่ งเพียงพอครอบคลมุ ทงั้ โครงการ

รูปท่ี 3-7 แสดงตวั อย่างการวางจดุ ควบคุมภาพถ่ายทางอากาศ 46

45 ทม่ี า : https://www.breathingcolor.com/blog/wp-content/uploads/2015/02
46 ท่มี า : https://www.geavis.si/en/2015/12/why-are-gcps-needed- in-photogrammetry

DPT KM ACTION PLAN 51

การวางแผนการบินและการถา่ ยภาพดว้ ยอากาศยานไร้คนขับ

3.9 การสรา้ งจุดควบคมุ ภาพถา่ ย
จุดควบคุมภาพถ่ายท่ีดีจะต้องมองเห็นและสามารถรังวัดได้บนภาพถ่าย และสามารถหมายตาแหนง่
จุดกึ่งกลางของจุดควบคุมภาพถ่ายได้โดยจุดควบคุมภาพ 1 จุด จะต้องปรากฏบนภาพอย่างน้อย 6 รูป
โดยจุดควบคุมภาพถ่ายต้องมสี ีตัดกับพืน้ ของภูมปิ ระเทศโดยรอบ เป็นแผน่ ท่สี ามารถถอดเก็บได้ โดยทร่ี ปู ร่าง
และขนาดที่แนะนาดงั น้ี

(1) รูปกากบาทหรอื รปู วงกลม
รูปร่างของกากบาทหรือวงกลมที่เหมาะสมสามารถมองเห็นได้ชัดน้ัน จะต้องมีความยาว
ไมน่ อ้ ยกว่า 25 เทา่ ของ GSD และมีความหนาของเสน้ ไมน่ อ้ ยกว่า 3 เท่าของ GSD

รปู ท่ี 3-8 แสดงรูปร่างจุดควบคุมภาพถ่ายรูปกากบาท และรูปวงกลมตามลาดับ 47
(2) รูปส่ีเหลีย่ ม
รูปส่ีเหล่ียมที่สามารถวัดจุดโยงยึดบนภาพได้อย่างแม่นยา จะต้องมีสัดส่วนตัดกันของสี

เป็นตารางหมากรุกดงั รปู และต้องมีขนาดดา้ นกว้างและดา้ นยาวไมน่ ้อยกว่า 25 เท่าของ GSD

47 ทม่ี า : ดัดแปลงจาก สภาวศิ วกร, 2558
DPT KM ACTION PLAN 52

การวางแผนการบนิ และการถา่ ยภาพด้วยอากาศยานไรค้ นขบั

รูปที่ 3-9 แสดงตัวอยา่ งสแี ละรูปร่างของผา้ ใบในการทาจดุ ควบคมุ ภาพถา่ ย 48
3.10 ตาแหนง่ และการกระจายตัวของจุดควบคุมภาพถา่ ย
ตาแหน่งและการกระจายตัวของจุดควบคุมภาพถ่ายต้องเปน็ ไปตามการแบ่งประเภทกลอ้ งถ่ายภาพ
และความถูกต้องเชงิ ตาแหนง่ ของพิกดั จดุ ถา่ ยภาพ การผลติ ข้อมูลเชงิ ตาแหน่งท่ีมีคา่ ความถูกตอ้ งตามมาตรฐานฉบบั น้ี
อ้างองิ ตามมาตรฐานของ วสท. จะต้องกาหนดตาแหนง่ และการกระจายตวั ของจดุ ควบคุมภาพถา่ ย ดงั นี้

(1) Consumer Grade
เมื่อใช้อากาศยานไร้คนขับในการถ่ายรูปทั่วไปและพิกัดจุดถ่ายภาพมีความถูกต้องตา่
จะต้องใชจ้ ุดควบคุมภาพถ่ายอย่างน้อย 9 จุด ต่อบล็อกการประมวลผลภาพถ่าย และจุดควบคุมภาพถ่าย
จะตอ้ งกระจายอย่างสม่าเสมอ โดยมีระยะห่างโดยประมาณไม่เกิน 200 เมตร

48 ที่มา : ดดั แปลงจาก สภาวิศวกร, 2558
DPT KM ACTION PLAN 53

การวางแผนการบนิ และการถา่ ยภาพด้วยอากาศยานไรค้ นขับ

รปู ที่ 3-10 ตวั อยา่ งการกระจายตวั ของจุด GCP ของกลอ้ งชนดิ Consumer Grade แบบที่ 1

รปู ท่ี 3-11 ตวั อย่างการกระจายตัวของจดุ GCP ของกล้องชนดิ Consumer Grade แบบท่ี 2

DPT KM ACTION PLAN 54

การวางแผนการบนิ และการถ่ายภาพดว้ ยอากาศยานไรค้ นขับ

รูปท่ี 3-12 ตัวอย่างการกระจายตัวของจดุ GCP ของกล้องชนิด Consumer Grade แบบที่ 3
(2) Professional Grade
เมอื่ ใช้อากาศยานไรค้ นขับในการถ่ายรปู ทม่ี ีคณุ ภาพสูงและพกิ ัดจุดถา่ ยภาพมีความถกู ต้องต่า

จะต้องใช้จุดควบคุมภาพถ่ายอย่างน้อย 5 จุด ต่อบล็อกการประมวลผลภาพถ่าย และจุดควบคุมภาพถ่าย
จะต้องกระจายอยา่ งสม่าเสมอ โดยมีระยะหา่ งโดยประมาณไมเ่ กิน 500 เมตร

รปู ท่ี 3-13 ตัวอยา่ งการกระจายตวั ของจุด GCP ของกล้องชนิด Professional Grade แบบท่ี 1

DPT KM ACTION PLAN 55

การวางแผนการบินและการถา่ ยภาพด้วยอากาศยานไร้คนขับ

รปู ท่ี 3-14 ตัวอย่างการกระจายตัวของจุด GCP ของกลอ้ งชนิด Professional Grade แบบท่ี 2
รปู ที่ 3-15 ตัวอย่างการกระจายตัวของจุด GCP ของกล้องชนดิ Professional Grade แบบท่ี 3

DPT KM ACTION PLAN 56

การวางแผนการบนิ และการถา่ ยภาพดว้ ยอากาศยานไรค้ นขบั

(3) Survey Grade
เม่ือใช้อากาศยานไร้คนขับในการถ่ายรูปท่ีมคี ุณภาพสงู และพิกัดจดุ ถ่ายภาพมคี วามถกู ต้องสงู
จะตอ้ งใชจ้ ดุ ควบคมุ ภาพถ่ายอย่างน้อย 2 จุด ตอ่ เที่ยวบิน

รปู ที่ 3-16 ตวั อยา่ งการกระจายตวั ของจดุ GCP ของกล้องชนิด Survey Grade แบบที่ 1

DPT KM ACTION PLAN 57

การประมวลผลภาพถ่าย

บทที่ 4

การประมวลผลภาพถ่าย

ในการประมวลผลภาพถ่ายจากอากาศยานไร้คนขบั เป็นกระบวนการทสี่ าคญั ต่อความถูกต้องเชิงตาแหนง่
ซึ่งในแต่ละขั้นตอนการประมวลผลจะส่งผลถึงคุณภาพของชุดข้อมูลภาพถ่าย ดังนั้นจึงทาให้ต้องมี
การตง้ั คา่ พารามิเตอร์ให้เหมาะสม และตรวจสอบรายงานผลการประมวลผลทุกขั้นตอน

4.1 การจับคูภ่ าพเพื่อสรา้ ง Tie points
เป็นขั้นตอนการจับคู่ภาพจะเป็นขั้นตอนเริ่มต้นตั้งแต่การคานวณตาแหน่งของภาพ จับคู่ภาพ
รวมถึงเป็นขน้ั ตอนท่ีมคี วามสาคัญและส่งผลตอ่ ขั้นตอนการประมวลผลในขั้นต่อไป โดยพารามิเตอร์ทเ่ี ก่ียวขอ้ ง
ในข้ันตอนน้ีประกอบด้วย

(1) กาหนดขนาดภาพทจี่ ะสกัดหาขอ้ มลู จุดสาคัญ
(2) กาหนดจานวนข้อมลู จุดสาคัญ
เมื่อประมวลผลการจับคู่ภาพและสร้าง Tie points จะต้องตรวจสอบการประมวลผล จากรายงาน
การประมวลผล โดยเกณฑ์การตรวจสอบในข้นั ตอนนี้จะแสดงในตารางที่ 4-1

ลาดบั เกณฑ์การตรวจสอบ คา่ ท่ยี อมรบั ได้
1 ค่าเฉลยี่ GSD ค่าเฉลีย่ ที่ประมวลผลไดม้ ีขนาดเพ่มิ ขึ้นไม่เกิน
0.5 เซนติเมตร ของแผนการบนิ
2 ขนาดพน้ี ท่ีการประมวลผล ไม่น้อยกวา่ แผนการบินท่วี างแผน
3 จดุ สาคัญในภาพ กระจายอย่างสม่าเสมอทวั่ ท้ังภาพ
4 ภาพถ่ายทนี่ าไปใช้คานวณต้อง ภาพท่นี าไปประมวลผลตอ้ งสามารถคานวณปรับแกท้ าง
ตาแหน่งไดท้ กุ ภาพ
วดั สอบได้

ตารางที่ 4-1 เกณฑก์ ารตรวจสอบผลการประมวลผลข้นั ตอนการจบั คูภ่ าพเพอื่ สร้าง Tie points

4.2 การโยงยึดค่าพิกัดดว้ ยจดุ ควบคมุ ภาพถ่าย
การโยงยึดค่าพิกัดด้วยจุดควบคุมภาพถ่าย คือ ข้ันตอนในการปรับแก้ค่าพิกัด Tie point ด้วยวิธี
Bundle Block Adjustment โดยพารามเิ ตอรท์ เ่ี กี่ยวขอ้ งในขนั้ ตอนน้ีประกอบดว้ ย

(1) กาหนดคา่ ความถกู ต้องทางราบของจุดควบคุมภาพถ่าย
(2) กาหนดค่าความถกู ตอ้ งทางด่ิงของจุดควบคมุ ภาพถา่ ย
(3) กาหนดคา่ ความถูกต้องของการวดั จดุ ควบคมุ ภาพถ่ายบนภาพ
(4) กาหนดค่าความถูกต้องของ Tie points

DPT KM ACTION PLAN 58

การประมวลผลภาพถ่าย

ลาดบั พารามิเตอร์ การกาหนดค่าพารามเิ ตอร์
1 ค่าความถูกต้องทางราบของจดุ ควบคมุ เทา่ กบั คา่ ความถกู ต้องทไ่ี ดจ้ ากกระบวนการรังวดั จดุ
ภาพถ่าย ควบคมุ ภาพถ่าย
2 ค่าความถกู ตอ้ งทางดง่ิ ของจดุ ควบคุม เท่ากับค่าความถูกต้องทไ่ี ดจ้ ากกระบวนการรงั วดั จุด
ภาพถ่าย ควบคมุ ภาพถ่าย
3 คา่ ความถูกต้องของการวัดจุดควบคุม ไม่เกิน 2 พกิ เซล
ภาพถา่ ยบนภาพ
4 คา่ ความถกู ต้องของ Tie Point เทา่ กับ 1 พกิ เซล

ตารางท่ี 4-2 การกาหนดค่าพารามเิ ตอรใ์ นขนั้ ตอนการโยงยดึ คา่ พิกดั ด้วยจุดควบคุมภาพถา่ ย

เมื่อประมวลผลการโยงยึดค่าพิกัดด้วยจุดควบคุมภาพถ่ายจะต้องตรวจสอบการ ประมวลผล
จากรายงานการประมวลผล โดยเกณฑ์การตรวจสอบในขัน้ ตอนน้จี ะแสดงในตารางที่ 4-3

ลาดบั เกณฑก์ ารตรวจสอบ คา่ ที่ยอมรบั ได้
1 จานวนจุดควบคมุ ภาพถ่าย กระจายตวั ครอบคลมุ พืน้ ทโี่ ครงการ
2 คา่ Reprojection Error ไม่เกนิ 0.3 พกิ เซล

ตารางที่ 4-3 เกณฑ์การตรวจสอบผลการประมวลผลขัน้ ตอนการโยงยดึ ค่าพกิ ดั ด้วยจุดควบคุมภาพถ่าย

4.3 การสรา้ งพอยท์คลาวด์
ข้ันตอนประมวลผลสร้างพอยท์คลาวด์ คือ การสร้างจุดพิกัดสามมิติท่ีมีจานวนมาก เพื่อให้เห็น
รายละเอยี ดข้อมูลในการประมวลชดั เจนมากยง่ิ ข้นึ ซง่ึ พอยท์คลาวดท์ ี่สรา้ งในขัน้ ตอนน้จี ะถกู นาไปประมวลผล
เพือ่ สร้าง Mesh Model โดยพารามเิ ตอรท์ ีเ่ ก่ยี วขอ้ งในขั้นตอนน้ปี ระกอบด้วย

(1) กาหนดขนาดภาพสาหรับการสรา้ งพอยทค์ ลาวด์
(2) กาหนดความหนาแนน่ ของจดุ

ลาดบั พารามิเตอร์ การกาหนดคา่ พารามเิ ตอร์

1 ขนาดภาพสาหรบั การสร้างพอยทค์ ลาวด์ เท่ากับ 0.5 ถงึ 1 เทา่ ของภาพ

2 ความหนาแน่นของจดุ ตามความต้องการในการนาไปประยกุ ตใ์ ช้งาน

ตารางที่ 4-4 ตารางการกาหนดค่าพารามิเตอรใ์ นขน้ั ตอนการสรา้ งพอยท์คลาวด์

คุณภาพของพอยทค์ ลาวด์จะขึ้นกบั คุณภาพของภาพถ่าย ดังนั้น เมื่อพบจุดที่มีพอยทค์ ลาวด์ผิดปกติ
หรอื ฟุ้งกระจายบางสว่ นสามารถขจดั จุดผิดปกติเหล่าน้ันไดท้ นั ที เพ่อื ใช้ในการประมวลผลขั้นตอนถดั ไป

DPT KM ACTION PLAN 59

การประมวลผลภาพถ่าย

4.4 การสรา้ ง Mesh Model
การประมวลผลสรา้ ง Mesh Model เปน็ ขนั้ ตอนท่ีประมวลผลสรา้ งขอ้ มลู พน้ื ผิวทีม่ ี โครงสรา้ งแบบเวกเตอร์
ท่ีใชแ้ สดงลักษณะรูปรา่ งของโมเดล ซึ่งมีความสาคัญตอ่ การนาไปประมวลผลสรา้ งแบบจาลองความสูงภมู ปิ ระเทศ
โดยพารามิเตอร์ที่เกยี่ วข้องในข้ันตอนนป้ี ระกอบด้วย

(1) กาหนดความละเอียดของ Mesh Model
(2) กาหนดวธิ กี ารเตมิ เตม็ พน้ื ผิว

ลาดบั พารามิเตอร์ การกาหนดคา่ พารามิเตอร์

1 กาหนดความละเอียดของ Mesh Model เทียบเท่าความหนาแน่นของพอยทค์ ลาวด์

2 วิธกี ารเตมิ เตม็ พ้ืนผวิ Interpolation

ตารางที่ 4-5 ตารางการกาหนดค่าพารามเิ ตอร์ในขน้ั ตอนการสร้าง Mesh Model

4.5 การสรา้ ง True Orthophoto
ข้ันตอนการสร้าง True Orthophoto มีพารามิเตอรท์ ีส่ าคัญต่อการนาไปผลติ แผนทีภ่ าพถา่ ยทางอากาศ
มาตราสว่ นทเี่ หมาะสมตอ่ ไป โดยพารามิเตอร์ทเ่ี กี่ยวขอ้ งในข้ันตอนน้ี ประกอบดว้ ย

(1) กาหนดความละเอยี ดของ True Orthophoto
(2) กาหนดแบบจาลองในการสรา้ ง True Orthophoto

ลาดบั พารามเิ ตอร์ การกาหนดค่าพารามเิ ตอร์

1 ความละเอียดของ True Orthophoto ไมน่ ้อยกวา่ 1 เทา่ ของ GSD

2 แบบจาลองในการสรา้ ง True Orthophoto DSM

ตารางที่ 4-6 การกาหนดคา่ พารามเิ ตอร์ในขน้ั ตอนการสร้าง True Orthophoto

4.6 แนวทางแก้ไขการประมวลผลภาพถา่ ยไมผ่ า่ นเกณฑ์ทีก่ าหนด

แนวทางในการแก้ไขเม่ือการประมวลผลภาพถ่ายไม่ผ่านเกณฑ์ท่ีกาหนด เนื่องจากขั้นตอนที่สาคญั
ในการผลิตข้อมูลเชิงตาแหน่งให้มีความถูกต้องตามมาตรฐาน ได้แก่ การจับคู่ภาพเพื่อสร้าง Tie Points
และการโยงยึดค่าพิกัดด้วยจดุ ควบคุมภาพถ่าย โดยแนวทางการแก้ไขเมื่อประมวลผลไม่ผ่านเกณฑ์ที่กาหนด
จะแสดงในตารางที่ 7

DPT KM ACTION PLAN 60

การประมวลผลภาพถ่าย

ลาดบั ไมผ่ ่านเกณฑท์ ่กี าหนด แนวทางแกไ้ ข
1 ค่าเฉล่ยี GSD วางแผนการบินถ่ายภาพใหม่
2 ขนาดพีน้ ทก่ี ารประมวลผล บนิ ถา่ ยภาพในบริเวณที่ขาด
3 จานวนจดุ สาคัญในภาพ เพมิ่ จานวนภาพหรอื เพ่ิมปรมิ าณสว่ นซ้อนของภาพ
4 ภาพถา่ ยท่สี ามารถประมวลผลได้ เพ่มิ จานวนภาพหรือเพม่ิ ภาพทบี่ นิ ถ่ายภาพสงู ขึน้
5 จานวนจดุ ควบคมุ ภาพถา่ ย เพิ่มจานวนจดุ ควบคุมภาพให้เท่ากบั จานวนท่วี างแผน
6 ค่า Reprojection Error ไมน่ าจุดดงั กลา่ วมารงั วดั โยงยึดคา่ พิกัด

ตารางที่ 4-7 แสดงแนวทางการแก้ไขเม่อื ประมวลผลไมผ่ า่ นเกณฑ์ที่กาหนด

DPT KM ACTION PLAN 61

การตรวจสอบความถูกต้องและมาตรฐานทเี่ กี่ยวขอ้ งกบั งานสารวจและแผนท่ี

บทที่ 5
การตรวจสอบความถูกต้องและมาตรฐานที่เกี่ยวขอ้ งกบั งานสารวจและแผนท่ี

ผลลัพธ์ที่ได้จากการสารวจด้วยอากาศยานไร้คนขับเพื่องานวิศวกรรม แบ่งออกเป็น 3 ส่วน
คือ True Orthophoto พอยท์คลาวด์ และแบบจาลองความสูงภูมิประเทศสามารถนาไปประยุกต์ใช้
ในงานวิศวกรรม เช่น การนาภาพ True Orthophoto ไปผลิตแผนทภ่ี ูมิประเทศหรือนาแบบจาลองความสงู
ภมู ปิ ระเทศไปใชใ้ นการคานวณงานดิน เปน็ ต้น คุณภาพของผลลพั ธ์จึงต้องสมั พนั ธ์กบั การประยกุ ต์ใช้งานแตล่ ะอย่าง
โดยมีแนวทางการตรวจสอบและมาตรฐานที่เก่ียวข้องกบั งานสารวจและจดั ทาแผนทด่ี ้วยภาพถ่ายทางอากาศ
ดงั น้ี

5.1 การตรวจสอบจากกระบวนการสารวจ
ก ร ะ บ ว น ก า ร สา ร ว จ ด้ว ย อ า ก า ศ ย า น ไ ร้ค น ขับ ค ว ร จ ะ ต้ อ ง ป ฏิ บัติ ต า ม ขั้น ต อ น วิธีก า ร สา ร ว จ
ด้วยภาพถ่ายทางอากาศในบทของการวางแผนการบิน การวางจุดควบคุมภาพ และการประมวลผลภาพ
เพอื่ ให้ได้ความถูกตอ้ งเชิงตาแหน่งตามที่ได้วางแผนไว้
5.2 การตรวจสอบจากจดุ ตรวจสอบ

(1) ตรวจสอบจากจดุ ตรวจสอบ ในกรณีท่ีพ้ืนที่โครงการมีขนาดใหญ่ควรทาการตรวจสอบ
คุณภาพดว้ ยจดุ ตรวจสอบเพม่ิ เติม โดยจุดตรวจสอบตอ้ งมีความถกู ต้องเชิงตาแหน่งเท่ากับจดุ ควบคุมภาพถ่าย
โดยไม่นาจุดตรวจสอบไปใช้ในการประมวลผลร่วมกับจุดควบคุมภาพถ่าย การตรวจด้วยจุดตรวจสอบให้ใช้
ตามมาตรฐาน ASPRS

(2) ตรวจสอบจากคุณภาพของผลลัพธ์โดยตรง ในทน่ี ีน้ อกจากการตรวจสอบข้อมลู เชงิ ตาแหน่ง
ผลลพั ธท์ ส่ี ามารถตรวจสอบดว้ ยสายตา คือ การตรวจสอบภาพออร์โธจริง (True Orthophoto)

5.3 คุณภาพพอยทค์ ลาวด์
พอยท์คลาวด์ที่มีคุณภาพจะต้องมรี ายละเอียดทช่ี ัดเจน สามารถวัดระยะได้แมน่ ยาโดยพอยทค์ ลาวด์
จะตอ้ งเกาะกลุ่มไปตามลกั ษณะของพืน้ ที่ ไมม่ ีการฟงุ้ กระจายท่ผี ิดเพยี้ นไปจากภมู ปิ ระเทศจริง และหากพืน้ ที่
ทม่ี ีความคลาดเคล่อื นจะต้อง เพ่ิม Manual Tie Point ในบริเวณดงั กล่าว เพ่ือนาไปประมวลภาพถา่ ยใหม่
5.4 คุณภาพของภาพออรโ์ ธจรงิ True Orthophoto

5.4.1 ตรวจสอบความต่อเน่อื งของภาพ และ True Orthophoto
ภาพ True Orthophoto สามารถนาไปใช้งานในด้านวิศวกรรม ต้ังแต่การนาไปผลิตแผนท่ี
ภาพถ่ายทางอากาศ หรือการนาไปใชเ้ พอ่ื ผลติ แผนที่ภมู ปิ ระเทศ ดังนน้ั ภาพ True Orthophoto จะต้องมคี วามคมชัด
และไม่ผิดปกติเกนิ กว่าการนาไปใช้งาน

DPT KM ACTION PLAN 62

การตรวจสอบความถกู ตอ้ งและมาตรฐานที่เก่ยี วข้องกับงานสารวจและแผนที่

รูปที่ 5-1 ภาพตัวอยา่ ง Orthophoto ท่ีมีความผิดเพ้ียน

รูปที่ 5-2 ภาพตัวอย่างเปรยี บเทยี บ Orthophoto กบั True Orthophoto
นอกจากนีย้ ังสามารถตรวจสอบคณุ ภาพความต่อเนื่องของภาพใหอ้ ยู่ภายใต้มาตรฐาน โดยอ้างองิ จาก
ตารางระดับความถูกต้องทางราบที่อ้างอิงตามมาตรฐาน ASPRS Positional Accuracy Standards
for Digital Geospatial Data

DPT KM ACTION PLAN 63

การตรวจสอบความถกู ตอ้ งและมาตรฐานท่เี ก่ียวข้องกับงานสารวจและแผนที่

5.4.2 สแี ละความสว่างของภาพ
สีและความสว่างของภาพ True Orthophoto เบื้องต้นสามารถตรวจสอบจากภาพถ่าย
ทางอากาศทุกครั้งที่บินเสร็จ โดยจะต้องมีคุณภาพและการปรับสีที่ถูกต้องขั้นต้นจะทาให้ภาพออร์โธ
มีความถูกตอ้ งด้วย

รปู ท่ี 5-3 ภาพตวั อย่าง Orthophoto ปรับคุณภาพของสแี ละความสวา่ ง
5.5 มาตรฐานท่เี กี่ยวขอ้ งกบั งานสารวจและแผนที่
มาตรฐานความถกู ตอ้ งของแผนท่ีตามแนวทางของ ASPRS (The American Society of Photogrammetry
and Remate Sensing) เก่ยี วกับคา่ ความถูกต้องเชงิ ตาแหนง่ ทางราบของวัตถบุ นแผนทเี่ ทียบกบั ตาแหนง่
บนภาคพื้นดนิ ณ จดุ เด่นชัด และคา่ ความถูกต้องเชงิ ตาแหนง่ ทางด่งิ ของวตั ถุบนแผนที่เทียบกบั ตาแหนง่
บนภาคพื้นดนิ ณ จุดเด่นชดั โดยแบง่ เกณฑ์การตรวจสอบตามประเภทของขอ้ มลู แผนทีไ่ ด้ 3 ประเภท ไดแ้ ก่

(1) แผนที่ชนิดสาเนาถาวร (Hardcopy map)
(2) แผนทเี่ ชงิ เลข (Digital map)
(3) แผนท่ภี าพถา่ ย (Photo map)
5.5.1 มาตรฐานความถูกต้องของแผนที่ชนิดสาเนาถาวร
มาตรฐานความถูกต้องของแผนท่ีชนิดสาเนาถาวร (Hardcopy map) สามารถใช้เกณฑ์มาตรฐาน
ของ ASPRS ค.ศ. 1990 โดยความถกู ตอ้ งเชิงตาแหน่งทางราบจะขนึ้ อยูก่ บั มาตราส่วนของแผนท่ี (Map Scale)
และความถกู ตอ้ งเชิงตาแหน่งทางดงิ่ ข้ึนอยู่กับชว่ งชั้นความสงู (Contour Interval)

DPT KM ACTION PLAN 64

การตรวจสอบความถกู ตอ้ งและมาตรฐานที่เกยี่ วขอ้ งกับงานสารวจและแผนท่ี

ความถูกต้องเชิงตาแหน่งทางราบกาหนดโดยใช้ค่าความคลาดเคล่ือนกาลังสองน้อยที่สุด
(Root Mean Square Error : RMSE) และจะแบ่งเกณฑ์งานตามความประณีตในการผลติ ออกเปน็ 3 ชั้นงาน
คือ ชั้นหนึ่ง (Class 1) ชั้นสอง (Class 2) และชั้นสาม (Class 3) โดยที่ชั้นงานที่หนึ่งถือเป็นชั้นงาน
ท่ีมีความประณีตสูงสดุ กาหนดให้ม่คี ่า RMSE ไม่เกิน 0.25 มิลลิเมตรบนแผนที่ และคูณด้วยมาตราส่วนแผนที่
โดยชั้นงานช้ันที่สองและสามกาหนดให้มีค่า RMSE สองเท่าและสามเท่าของเกณฑ์งานชั้นหน่ึงตามลาดับ
ดงั ตารางที่ 5-1

มาตราสว่ นแผนที่ คา่ คลาดเคล่ือนกาลงั สองนอ้ ยที่สดุ (RMSE) ไมเ่ กนิ (เมตร)

ช้นั หน่ึง (Class 1) ชน้ั สอง (Class 2) ช้ันสาม (Class 3)

1:50 0.0125 0.025 0.0375
1:100 0.025 0.05 0.075
1:200 0.050 0.10 0.15
1:500 0.125 0.25 0.375
1:1000 0.25 0.50 0.75
1:2000 0.50 1.00 1.50
1:2500 0.63 1.25 1.90
1:4000 1.00 2.00 3.00
1:5000 1.25 2.50 3.75
1:8000 2.00 4.00 6.00
1:10000 2.50 5.00 7.50
1:16000 4.00 8.00 12.00
1:20000 5.00 10.00 15.00
1:25000 6.25 12.50 18.75
1:50000 12.50 25.00 37.50
1:100000 25.00 50.00 75.00
1:250000 62.50 125.00 187.50

ตารางที่ 5-1 ค่าความถกู ต้องเชงิ ตาแหน่งทางราบของวตั ถบุ นแผนทเ่ี ทียบกบั
ตาแหน่งบนภาคพน้ื ดนิ ที่มาตราส่วนแผนทรี่ ะดับตา่ งๆ 49

49 ที่มา : ดดั แปลงจาก สภาวศิ วกร, 2558
DPT KM ACTION PLAN 65

การตรวจสอบความถูกต้องและมาตรฐานท่ีเก่ยี วข้องกับงานสารวจและแผนท่ี

ความถูกต้องเชิงตาแหน่งทางด่ิงน้ันถูกกาหนดโดยขึ้นกับช่วงชั้นความสูง (Contour interval)
แบ่งเกณฑ์งานออกเป็นสามช้ันงานเช่นเดียวกับทางราบ แผนที่ชั้นหนึ่งท่ีมีความถูกต้องสูงสุด กาหนดให้มีคา่
RMSE ไม่เกิน 1/3 ของช่วงชั้นความสูงสาหรับจุดทดสอบในภูมิประเทศแต่ไม่ใช่จุดระดับ (Spot height)
และไม่เกิน 1/6 ของชว่ งชน้ั ความสงู สาหรบั จุดระดบั บนแบบจาลองภูมิประเทศ (DTM) สาหรับเกณฑ์งานช้ันทส่ี อง
และชัน้ ทส่ี าม กาหนดใหม้ คี า่ RMSE ไมเ่ กิน 2 เทา่ และ 3 เทา่ ของเกณฑง์ านชนั้ 1 ตามลาดบั ดงั ตารางท่ี 5-2

ชว่ งเสน้ ช้นั คา่ คลาดเคล่ือนกาลงั สองน้อยที่สดุ (RMSE) ไมเ่ กิน (เมตร)
ความสงู
(เมตร) จดุ บนแผนทีภ่ ูมิประเทศ (Map) จดุ บนแบบจาลองภูมปิ ระเทศ (DTM)

0.10 ช้นั หนึง่ ชั้นสอง ช้นั สาม ชน้ั หนึง่ ชนั้ สอง ชนั้ สาม
0.20
0.25 (Class 1) (Class 2) (Class 3) (Class 1) (Class 2) (Class 3)
0.50
1.00 0.03 0.07 0.10 0.02 0.03 0.05
2.00
4.00 0.07 0.13 0.20 0.03 0.07 0.10
5.00
10.00 0.08 0.17 0.25 0.04 0.08 0.13

0.17 0.33 0.50 0.08 0.17 0.25

0.33 0.67 1.00 0.17 0.33 0.50

0.67 1.33 2.00 0.33 0.67 1.00

1.33 2.67 4.00 0.67 1.33 2.00

1.67 3.33 5.00 0.83 1.67 2.50

3.33 6.67 10.00 1.67 3.33 5.00

ตารางที่ 5-2 คา่ ความถูกต้องเชงิ ตาแหนง่ ทางดง่ิ ของวตั ถบุ นแผนที่เทยี บกบั
ตาแหน่งบนภาคพืน้ ดินท่มี าตราสว่ นแผนท่ีระดับตา่ งๆ 50

5.5.2 มาตรฐานความถกู ต้องของแผนทเ่ี ชงิ เลข
การกาหนดมาตรฐานความถูกต้องของแผนที่เชิงเลข (Digital map) ใช้เกณฑ์มาตรฐาน
ของ ASPRS ปี ค.ศ. 2014 โดยค่าความถูกต้องเชิงตาแหน่งทางราบและทางด่ิง กาหนดโดยใช้ค่า RMSE
บนพื้นดนิ เช่นเดียวกบั มาตรฐานความถกู ต้องของแผนท่ี แต่ไมไ่ ดข้ น้ึ อยกู่ ับมาตราสว่ นแผนท่ีและช่วงช้ันความสูง
ของแผนที่ ข้อมลู แผนทีด่ ิจิตอลประกอบดว้ ยข้อมลู ทางราบและทางด่ิงซ่งึ มวี ธิ ีเรยี กหรือบอกความถูกตอ้ งเชิงตาแหน่ง
ดังน้ี
วธิ ีเรียกชือ่ หรอื บอกความถูกต้องของขอ้ มลู ทางราบ กาหนดใหเ้ รยี กชอ่ื โดยใช้ค่า “ช้นั ความถกู ต้องทางราบ
(Horizaltal Accuracy Class)” มีหน่วยเป็นเซนติเมตร ค่าชั้นความถูกต้องทางราบมีความเก่ียวข้องกับค่า
RMSE ทั้งในแนวแกน X (RMSEx) และแกน Y (RMSEy) ค่าความถกู ตอ้ งทางราบสามารถใช้คานวณคา่ RMSE

50 ท่มี า : ดดั แปลงจาก สภาวิศวกร, 2558
DPT KM ACTION PLAN 66

การตรวจสอบความถูกต้องและมาตรฐานทเ่ี กย่ี วขอ้ งกับงานสารวจและแผนที่

ในทิศทางรวม (RMSEr) และค่าความถูกต้องที่ระดับความเช่ือมั่น 95% โดยการคูณด้วย 1.414 และ 2.448
ตามลาดับ ดงั ตารางท่ี 5-3

ชนั้ ความถูกตอ้ งทางราบ (เซนตเิ มตร) RMSER ความถูกต้องทางราบที่ความเชือ่ มั่น
(HORZALTAL ACCURACY CLASS) (เซนติเมตร) 95% (เซนตเิ มตร)
1.5
0.63 0.9 3.1
1.25 1.8 6.1
2.50 3.5 12.2
5.00 7.1 18.4
7.50 10.6 24.5
10.00 14.1 30.6
12.50 17.7 36.7
15.00 21.2 42.8
17.50 24.7 49.0
20.00 28.3 55.1
22.50 31.8 61.2
25.00 35.4 67.3
27.50 38.9 73.4
30.00 42.4 110.2
45.00 63.6 146.9
60.00 84.8 183.6
75.00 106.1 244.8
100.00 141.4

ตารางที่ 5-3 ค่ามาตรฐานความถกู ต้องทางราบสาหรบั ข้อมลู แผนทเ่ี ชงิ เลข 51

วธิ กี ารเรยี กชื่อหรอื บอกความถูกตอ้ งของข้อมลู ทางดงิ่ กาหนดใหเ้ รยี กชอ่ื โดยใช้ค่า “ช้ันความถูกตอ้ งทางด่ิง
(Vertical Accuracy Class)” มีหน่วยเป็นเซนติเมตร ค่าชัน้ ความถกู ต้องทางดิง่ มีความเก่ยี วข้องกับค่า RMSE
ในทิศทางแกน Z (RMSEz) ของพื้นผิวภูมิประเทศท่ีไม่ได้ถูกปกคลุมด้วยต้นไม้ (Non-Vegetated Terrain)
จะตอ้ งมีคา่ ไมเ่ กนิ คา่ ช้ันความถูกตอ้ งทางดิง่ การคานวนค่าความถกู ต้องทค่ี วามเชอ่ื ม่ัน 95% ใหค้ ูณดว้ ย 1.96
สาหรับพื้นผิวท่ีถูกปกคลมุ ด้วยต้นไม้ (Vegetated Terrain) กาหนดให้ค่าความถูกต้องทางดิ่งที่ความเชื่อมั่น
95% มีค่าเป็น 3 เท่าของชน้ั ความสงู ทางด่ิง ดงั ตารางที่ 5-4

51 ทีม่ า : ดดั แปลงจาก สภาวิศวกร, 2558
DPT KM ACTION PLAN 67

การตรวจสอบความถกู ตอ้ งและมาตรฐานทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั งานสารวจและแผนที่

ชัน้ ความถกู ตอ้ งทางดิ่ง ความถูกต้องสมั บรู ณ์ (ABSOLUTE ACCURACY)
(VERTICAL
RMSEz ของพ้นื ผิวท่ไี มไ่ ด้ ระดับความเช่ือม่ันท่ี 95% ระดับความเชอื่ ม่นั ที่
ACCURACY CLASS)
(เซนติเมตร) ถกู ปกคลมุ ด้วยตน้ ไม้ ของพน้ื ผิวไม่ไดป้ กคลมุ 95% ของพื้นผิวท่ีปก

1 (เซนตเิ มตร) ดว้ ยต้นไม้ (เซนตเิ มตร) คลมุ ด้วยต้นไม้
2.5
5 (เซนตเิ มตร)
10
15 1 1.96 3
20
33.3 2.5 4.90 7.5
66.7
100 5 9.80 15

10 19.60 30

15 29.40 45

20 39.20 60

33.3 65.27 99.9

66.7 130.73 200.1

100 196.00 300

ตารางท่ี 5-4 คา่ มาตรฐานความถกู ตอ้ งทางดง่ิ สาหรบั ขอ้ มลู แผนทเี่ ชิงเลข 52

5.5.3 มาตรฐานความถกู ตอ้ งของแผนทภี่ าพถ่ายออรโ์ ธ
แผนทภ่ี าพออร์โธ (Orthophoto Map) หรือเรียกอกี ชอื่ หนึง่ วา่ แผนท่ภี าพถ่าย จัดเปน็ ข้อมูลแผนที่
ชนิดขอ้ มูลทางราบ การกาหนดมาตรฐานความถูกตอ้ งของแผนที่ภาพออรโ์ ธ จงึ ใชเ้ กณฑ์มาตรฐานของ ASPRS
ปี พ.ศ. 2014 เช่นเดียวกับความถูกต้องเชิงตาแหน่งทางราบของแผนท่ีดจิ ิตลั โดยใช้ค่าช้ันความถูกต้องทางราบ
หน่วยเป็นเซนติเมตร ซึ่งค่า RMSE ในทิศทาง X และ Y จะต้องมีค่าไม่เกินชั้นความถูกต้องทางราบ
นอกจากการกาหนดเกณฑ์โดยใช้ค่าชั้นความถกู ต้องทางราบ สาหรบั แผนที่ภาพตอ่ (Orthophoto-map Mosaic)
ความไม่สนิทในบรเิ วณรอยต่อกาหนดใหไ้ มเ่ กิน 2 เท่าของค่าช้ันความถูกตอ้ งทางราบ ในการวางแผนกาหนด
ขนาดจุดภาพ (Pixel Size) บนพื้นดิน ขนาดจุดภาพของแผนท่ีภาพออร์โธมคี วามสัมพันธ์กับค่าชั้นความถูกตอ้ ง
ของแผนท่ีภาพออร์โธ ค่าชั้นความถูกต้องท่ีเสนอแนะ แบ่งออกเป็น 3 ประเภท ข้ึนอยู่กับวัตถุประสงค์
ในการใชข้ ้อมูล คอื

(1) ประเภทงานที่ใช้ความถูกต้องสงู สุด (Survey Grade) กาหนดให้ใช้ค่าความถูกตอ้ ง
มคี า่ เทา่ กับขนาดจดุ ภาพจานวน 1 จดุ ภาพหรือเล็กกว่า

(2) ประเภทงานที่ใชส้ าหรับงานแผนทแี่ ละระบบสารสนเทศภมู ิศาสตร์ (Mapping Grade)
กาหนดใหใ้ ชค้ า่ ความถกู ตอ้ ง มีค่าเท่ากบั ขนาดจุดภาพจานวน 2 จดุ ภาพหรอื เล็กกวา่

52 ทีม่ า : ดัดแปลงจาก สภาวิศวกร, 2558

DPT KM ACTION PLAN 68

การตรวจสอบความถกู ตอ้ งและมาตรฐานทีเ่ กี่ยวข้องกบั งานสารวจและแผนที่

(3) ประเภทงานที่ไม่ต้องการใชค้ วามถกู ต้องสูง กาหนดให้ใชค้ า่ ความถูกตอ้ ง มีคา่ เท่ากบั
ขนาดจุดภาพจานวน 3 จุดภาพ

ชั้นความถูกต้องทางราบ RMSER ความไมส่ นิทของรอยต่อภาพ
(HORIZALTAL ACCURACY (เซนตเิ มตร) (ORTHOIMAGE MOSAIC
CLASS RMSEX AND RMSEY) SEAMLINE MAXIMUM
0.9
(เซนตเิ มตร) 1.8 MISMATCH)
3.5 (เซนตเิ มตร)
0.63 7.1
1.25 10.6 1.3
2.50 14.1 2.5
5.00 17.7 5.0
7.50 21.2 10.0
10.00 24.7 15.0
12.50 28.3 20.0
15.00 31.8 25.0
17.50 35.4 30.0
20.00 38.9 35.0
22.50 42.4 40.0
25.00 63.6 45.0
27.50 84.8 50.0
30.00 106.1 55.0
45.00 141.4 60.0
60.00 90.0
75.00 120.0
100.00 150.0
200.0

ตารางท่ี 5-5 คา่ ชั้นความถกู ต้องทางราบสาหรบั งานแผนทภี่ าพถา่ ย 53

53 ทม่ี า : ดัดแปลงจาก สภาวศิ วกร, 2558
DPT KM ACTION PLAN 69

การตรวจสอบความถกู ต้องและมาตรฐานท่ีเก่ียวข้องกับงานสารวจและแผนท่ี

จากค่าที่แสดงใน ตารางที่ 5-6 จะสังเกตได้ว่า ขนาดจุดภาพในที่นี้ มิใช่ระยะสุ่มตัวอย่างพื้นดิน

(Ground Simple Distance – GSD) ของภาพถ่ายต้นฉบับ แต่จะเป็นค่าขนาดของจุดภาพ (Pixel Size)

ของการผลติ แผนทภ่ี าพออรโ์ ธนน้ั ๆ

ขนาดของจุด คา่ แนะนาของระดับช้ัน คา่ ความคลาด การนาไปใช้
ภาพถา่ ยออร์โธ ความถูกตอ้ งทางราบ เคลือ่ นทางราบของ (RECOMMEND TO USE)
(COMMON (RECOMMENDED
ORTHOIMAGE ภาพถา่ ย
PIXEL SIZE) HORIZONTAL (ORTHOIMAGE
(เซนติเมตร) ACCURACY CLASS RMSEX AND
RMSEX AND RMSEY) RMSEY IN TERMS

(เซนตเิ มตร) OF PIXELS)
(จดุ ภาพ)

≤1.3 ≤1 งานความถกู ตอ้ งสงู Survey Grade

1.25 2.5 2 งานแผนทม่ี าตรฐานและงาน GIS

≥3.8 ≥3 งานนาเสนอและงานความถูกตอ้ งตา่

≤2.5 ≤1 งานความถกู ตอ้ งสงู Survey Grade

2.5 5 2 งานแผนทมี่ าตรฐานและงาน GIS

≥7.5 ≥3 งานนาเสนอและงานความถูกต้องตา่

≤5.0 ≤1 งานความถูกต้องสงู Survey Grade

5 10 2 งานแผนทมี่ าตรฐานและงาน GIS

≥15.0 ≥3 งานนาเสนอและงานความถกู ตอ้ งต่า

≤7.5 ≤1 งานความถกู ตอ้ งสงู Survey Grade

7.5 15 2 งานแผนทมี่ าตรฐานและงาน GIS

≥22.5 ≥3 งานนาเสนอและงานความถูกต้องต่า

≤15.0 ≤1 งานความถูกต้องสงู Survey Grade

15 30 2 งานแผนทมี่ าตรฐานและงาน GIS

≥45.0 ≥3 งานนาเสนอและงานความถกู ตอ้ งต่า

ตารางที่ 5-6 ตวั อย่างคา่ ความถกู ตอ้ งสาหรบั ขอ้ มลู แผนท่ีภาพถ่าย 54

54 ท่มี า : ดัดแปลงจาก สภาวิศวกร, 2558
DPT KM ACTION PLAN 70



การประยกุ ต์ใชก้ ารรังวัดดว้ ยภาพถ่าย

บทท่ี 6
การประยุกตใ์ ช้การรงั วัดด้วยภาพถา่ ย

งานทางด้านวิศวกรรมโยธาต้องมีการใช้แผนที่เพื่อใช้ในการออกแบบและวางแผนต่างๆ ได้แก่
การศึกษาวิเคราะหค์ วามเปน็ ไปได้ (Feasibility) ของการก่อสร้างโครงการขนาดใหญ่ การออกแบบเชิงแนวคดิ
(Conceptual Design) และการออกแบบเบ้ืองต้น (Preliminary Design) ในวงการวิชาชีพจะถือว่า
การสารวจภาคพ้ืนดนิ (Ground Surveying) ผ่านการใช้กล้องประมวลผลรวม (Total Station) กล้องวดั มุม
(Theodolite) และกล้องระดับ (Leveling) เป็นกรรมวิธีในการเก็บข้อมูลเกี่ยวกับรายละเอียดของสิ่งต่างๆ
ในพืน้ ทโ่ี ครงการท่ใี ห้ข้อมูลที่ถกู ต้องและแมน่ ยามากที่สุด แต่ก็ถือเปน็ กรรมวธิ ีทต่ี อ้ งสนิ้ เปลอื งทงั้ กาลงั คน คา่ ใชจ้ า่ ย
และเวลาอย่างมาก โดยงานทางวิศวกรรมโยธาที่กล่าวมาน้ี เราสามารถใช้เทคนิคการสารวจด้วยภาพถ่าย
ในการเก็บขอ้ มูลแทนได้ ซ่ึงจะมีผลโดยตรงต่อการความรวดเรว็ ในการดาเนินงาน อีกทั้งยังช่วยในการลดอตั รากาลงั
บุคลากรที่ไปปฏิบัติงานภาคสนาม อันจะนามาซ่ึงการปรับลดค่าใช้จ่ายในการทางานลงไปอย่างมีนัยสาคัญ
ในสว่ นนจี้ งึ ได้สรปุ ข้อได้เปรียบของการใชภ้ าพถ่ายทางอากาศ ดังน้ี

การสารวจด้วยภาพถา่ ยทางอากาศ (Aerial Photogrammetry) ชว่ ยให้เพม่ิ วิสยั ทศั นใ์ นการออกแบบ
กล่าวคือ ภาพถ่ายทางอากาศจะสนับสนุนข้อมูลพื้นที่ปฏิบัติงานให้เหน็ ภาพในบริเวณกว้างกว่าที่จะมองจาก
ระดับพื้นดินรายละเอียดต่างๆ ในภาพช่วยให้วิศวกรสามารถเก็บข้อมูลต่างๆ ได้หลายชนิดในขณะเดียวกัน
เช่น ข้อมูลสภาพการใช้ประโยชน์ที่ดินบรเิ วณข้างทางสาหรับวิศวกรโยธาในการศึกษาความเปน็ ไปได้ในการ
ออกแบบถนนและข้อมูลการใช้ท่ีดินและสิ่งปกคลุมดินสาหรับวิศวกรโยธาที่ทางานด้านผังเมือง เป็นต้น
นอกจากน้ี ผลผลติ จากการสารวจด้วยภาพถ่ายได้แก่ ภาพถ่ายออรโ์ ธและแบบจาลองความสงู เชิงเลข (DEM)
ที่มีรายละเอียดเชิงพ้ืนท่ีท่ีได้มากกว่าการสารวจภาคพื้นดินเพียงอย่างเดียว กล่าวคือ แผนที่ภาพถ่ายออร์โธ
มีส่วนสาคญั มากในการช่วยบันทึกรายละเอียดหรือปรากฏการณต์ ่างๆ ได้อยา่ งครบถว้ นอีกท้งั ยังช่วยใหส้ ามารถ
ที่จะวิเคราะห์รายละเอียดทัง้ ทางราบและทางดง่ิ ผ่านการใชข้ ้อมูลภาพถ่ายออร์โธควบคุมข้อมลู โดยเหตุนี้เอง
หากในทางปฏิบัติมีการผสมผสานขอ้ มลู การสารวจภาพพ้ืนดินและแผนท่ภี าพถ่ายออร์โธ ในมาตราส่วนท่ีสอดคลอ้ ง
เขา้ ไวด้ ้วยกนั จะยิ่งช่วยใหก้ ารวเิ คราะหต์ ่างๆ บังเกดิ ความถูกตอ้ งและแมน่ ยามากยงิ่ ขนึ้

อากาศยานไร้คนขับ (Unmanned Aerial Vehicle) หรือ ที่ในปัจจุบันนิยมเรียกว่า โดรน (Drone)
ทั้งนี้ตามพจนานุกรมของ Macmillan Dictionary น้ันแปลว่า ผ้ึง และการท่ีเรียกว่า Drone ก็เพราะเสียง
ของอากาศยานไร้คนขับแบบปีกหมุนท่ีเวลาบนิ อยู่เหนือศรษี ะของเรา แล้วจะมีเสียงในโทนเดียวกบั เสยี งบินของผงึ้
การประยกุ ตใ์ ช้ UAV ในงานทางวิศวกรรมสามารถท่จี ะทาได้อยา่ งหลากหลายเชน่ การถ่ายภาพปรมิ าณจราจร
การทาแผนท่ภี าพถ่ายออร์โธ และการขนสง่ สินค้าในเชงิ โลจิสตกิ ส์ เปน็ ต้น โดยในทน่ี ้จี ะเนน้ เฉพาะการนา UAV

DPT KM ACTION PLAN 71

การประยุกต์ใชก้ ารรังวัดดว้ ยภาพถ่าย

มาใช้ทาแผนท่ีภมู ิประเทศ (Topographic Map) เพอ่ื การสารวจและเก็บขอ้ มูล รวมถึงการประมวลผลข้อมลู ภาพถ่าย
โดยเหตุน้ีเอง ความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับการข้อมูลและประมวลผลข้อมูลภาพถ่ายจาก UAV เพื่อนาไปประยุกต์ใช้
ในงานวศิ วกรรมจึงเปน็ สิ่งจาเป็น ซ่งึ จะไดอ้ ธิบายในส่วนน้ี

เครอื่ งมอื และโปรแกรมในการสารวจด้วยภาพถ่ายจากอากาศยานไรค้ นขบั ดงั รปู ที่ 6-1 มดี งั นี้
(1) อปุ กรณ์สาหรับใช้ในการบินถ่ายภาพ ได้แก่ UAV แบบปีกหมุน เชน่ DJI Mavic 2 Pro ดัง

รูปที่ 6-1(ก)
(2) อุปกรณ์สาหรับใช้ในการรังวัดหมุดบังคับภาพภาคพ้ืนดินโดยการใช้เครื่องรังวัดพิกัด

ด้วยการรงั วดั ดว้ ยระบบดาวเทยี มนาหนพภิ พ (GNSS) ดังรปู ท่ี 6-1(ข)
(3) แอพพลิเคชน่ั สาหรบั วางแผนแนวบิน เชน่ โปรแกรม Pix4Dcpture ดังรูปที่ 6-1(ค)

(4) ซอฟแวร์สาหรับการประมวลผลภาพ เช่น โปรแกรม Photoscan Pix4Dmapper

ดังรปู ท่ี 6-1(ง)

รปู ที่ 6-1(ก) DJI Mavic 2 Pro

DPT KM ACTION PLAN 72

การประยกุ ต์ใชก้ ารรังวดั ดว้ ยภาพถ่าย

รปู ที่ 6-1(ข) เคร่อื งรงั วัดพกิ ดั ดว้ ยการรังวดั ดว้ ยระบบดาวเทยี มนาหนพิภพ (GNSS)

รปู ที่ 6-1(ค) โปรแกรม Pix4Dcpture

DPT KM ACTION PLAN 73

การประยกุ ต์ใช้การรังวัดดว้ ยภาพถ่าย

รูปที่ 6-1(ง) Photoscan Pix4Dmapper

DPT KM ACTION PLAN 74

การประยุกตใ์ ชก้ ารรังวดั ดว้ ยภาพถ่าย

รปู ที่ 6-2 FLOW CHART การสารวจทาแผนทภี่ าพถา่ ยทางอากาศด้วยอากาศยานไรค้ นขับ (UAV)

DPT KM ACTION PLAN 75

การประยุกตใ์ ชก้ ารรังวัดดว้ ยภาพถ่าย

6.1 การใชแ้ ผนท่ภี าพถา่ ยทางอากาศ
การแปลแผนที่ภาพถ่ายเป็นแผนท่แี บบลายเส้นเปน็ อีกวิธีหน่ึงเป็นการช่วยเพม่ิ รายละเอยี ดของจุดวตั ถุ
หรือรูปร่างทีท่ าการสารวจภาคสนามผ่านการอ่าน แปล ตีความภาพถ่ายทางอากาศโดยใช้ความแตกตา่ งของ
องคป์ ระกอบพื้นฐานของภาพเป็นตวั กาหนด ซึง่ ประกอบดว้ ย

(1) รปู ร่าง (Shape) รูปรา่ งของลกั ษณะท่ีปรากฏในภาพถา่ ยทางอากาศ หากเปน็ ส่ิงทม่ี นุษย์
สร้างหรือดัดแปลงขึ้นจะมีลักษณะค่อนข้างเป็นระเบียบสม่าเสมอเป็นแนวตรงถ้ามีโค้งก็จะเป็นมีลักษณะ
ของโคง้ เรขาคณิต สว่ นสง่ิ ทเ่ี กดิ เองตามธรรมชาติจะมลี กั ษณะไมเ่ ปน็ ระเบยี บ ความแตกตา่ งท่เี ห็นได้ชัดของรูปร่าง
ระหวา่ งสิ่งท่ีมนุษย์สรา้ งขนึ้ และสงิ่ ท่ีเกดิ ขนึ้ เองตามธรรมชาติ ได้แก่ คลองสง่ นา้ ชลประธานกบั ลานา้ ตามธรรมชาติ

(2) รปู แบบ (Pattern) รูปแบบของลกั ษณะท่ีปรากฏในภาพถ่ายทางอากาศหากเปน็ ส่ิงทีม่ นุษย์สร้าง
จะเป็นรปู แบบที่แน่นอน สว่ นรปู แบบท่เี กิดขึน้ เองตามธรรมชาตจิ ะมีลกั ษณะไม่แน่นอนความแตกต่างท่ีเหน็ ได้ชัด
ของรูปแบบระหว่างสิ่งทม่ี นุษย์สรา้ งขึน้ และสิ่งทเ่ี กิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ได้แก่ อาคาร บ้านเรือน ที่อยู่อาศัย
กบั สภาพพื้นทเี่ ป็นปา่

(3) สี (Shade, Tone) ภาพถ่ายทางอากาศที่ใช้ในการอ่านแปลภาพถ่าย เพื่อประกอบ
การพิสูจน์สิทธิเป็นภาพถ่ายทางอากาศที่ถ่ายด้วยโดรน ดังนั้นสีท่ีปรากฏบนภาพถ่ายทางอากาศจึงเป็นสี
ในระดับต่างๆ ระดับของสีจะสัมพันธ์กับปริมาณของแสงที่สะท้อนจากสภาพพ้ืนที่ สภาพพื้นที่ท่ีจะสะท้อน
แสงอาทิตย์กลับสู่กล้องมากสีที่ปรากฏบนภาพถ่ายทางอากาศจะเป็นสีเดียว สภาพพื้นที่ที่ดูดแสงมากสี
ที่ปรากฏบนภาพถา่ ยทางอากาศจะเปน็ สที บึ หรือมืด ได้แก่ สนามหญ้า ทงุ่ เลยี้ งสตั ว์ กับ แหลง่ นา้ บึง

(4) เนื้อภาพ (Texture) เป็นความถี่ของการเปลี่ยนโทนสีของสภาพพื้นที่ซึ่งเกิดจาก
การรวมหนว่ ยเล็กๆ ท่ีไมส่ ามารถมองแยกออกเป็นแต่ละหน่วยได้ ซึ่งแสดงถึงความหยาบละเอียดของสภาพพื้นท่ี
โดยเน้อื ภาพมักจะบรรยายลกั ษณะเปน็ เรยี บ ละเอียด ขรุขระ หยาบ ฯลฯ

(5) เงา (Shadow) เงาเป็นปจั จัยเสริมให้ทราบถึงสภาพพ้ืนทีน่ ้ันๆ เช่น ภเู ขา ตึก ถังน้าประปา
เสาที่มีระดับสูง เนื่องจากภาพถ่ายทางอากาศเป็นมุมมองจากด้านบนลงมา ดังนั้นลักษณะที่ปรากฏขึ้น
จะสามารถช่วยให้อ่าน แปลภาพถ่ายได้ถูกต้องมากยิ่งขึ้น และความยาวของเงาสามารถคานวณหาความสงู
ไดอ้ กี ดว้ ย

(6) ขนาด (Size) ขนาดของสภาพพ้ืนท่ีที่ปรากฏในภาพถ่ายทางอากาศจะแปรเปล่ียนไป
ตามมาตราส่วนของภาพถ่ายทางอากาศ และมีความสัมพันธ์กบั ขนาดของรายละเอยี ดข้างเคียง เช่น เรือนพ่มุ ไม้
ต้นไมย้ ืนตน้ ตน้ มะพร้าว และต้นปาล์มน้ามัน เปน็ ต้น

DPT KM ACTION PLAN 76

การประยุกตใ์ ช้การรังวดั ดว้ ยภาพถ่าย

(7) ที่ตั้งและความสัมพันธ์กับรายละเอียดข้างเคียง (Location and relation to associated
features) ท่ีตั้งและความสัมพันธ์กับรายละเอียดข้างเคียงสามารถชว่ ยใหอ้ ่าน แปลภาพถ่าย ได้ว่าสภาพพ้นื ท่ี
บริเวณนัน้ เป็นอยา่ งไร เช่น บรเิ วณรมิ ตลิง่ คลองชลประทาน หรอื บริเวณทเี่ ปน็ คลองระบายนา้ ตามธรรมชาติ

ตัวอย่างการนาแผนท่ีภาพถ่ายทางอากาศไปใช้ในภารกจิ ในหนว่ ยงาน ของสานกั วศิ วกรรมการผงั เมอื ง
และสานักจัดรูปทีด่ นิ เพอ่ื พฒั นาพืน้ ที่

(1) นาไปใช้สนบั สนุนงานสว่ น คมนาคม ส่วนท่ี 1 และคมนาคม ส่วนที่ 2 ในดา้ นการสารวจ
แนวถนนโครงการคมนาคมเพื่อที่จะทาการสารวจเก็บรายละเอียด เช่น ถนน อาคาร ขอบเขตแปลงที่ดิน
แหล่งนา้ คลอง เป็นต้น และสามารถผลิตภาพถ่าย Orthophoto ที่เป็นปัจจุบันและมีพิกัดทางภูมิศาสตร์
UTM WGS84 ZONE 47, ZONE 48

รปู ที่ 6-3 ตวั อยา่ งงานปกั แนวถนนโครงการคมนาคมสาย ค10 จงั หวัดสระบรุ ี
(2) สานักจัดรูปท่ีดินเพ่ือพฒั นาพื้นที่ นาไปใชส้ นับสนุนงานจัดรปู ทีด่ ินในด้านการสารวจ
โครงการจดั รปู ที่ดินเพื่อท่ีจะทาการสารวจเก็บรายละเอียด เช่น เขตผังจดั รปู ท่ีดิน ขอบเขตแปลงทด่ี ิน ต้นไม้
ถนน อาคาร แหล่งน้า คลอง เป็นต้น และสามารถมภี าพถ่าย Orthophoto เป็นปจั จบุ นั และมีพิกดั ทางภมู ิศาสตร์
UTM WGS84 ZONE 47, ZONE 48

DPT KM ACTION PLAN 77

การประยกุ ต์ใชก้ ารรังวัดด้วยภาพถ่าย

รูปท่ี 6-4 ตัวอยา่ งงานจัดรูปทดี่ ินจงั หวดั อุตรดิตถ์
6.2 พอยตค์ ลาวด์ (Point Cloud)
พอยต์คลาวด์เปน็ การแสดงรูปลกั ษณ์ของพืน้ ผิวภูมิประเทศด้วยกลุ่มจดุ พิกัดสามมิติ โดยมีโครงสรา้ ง
การจดั เก็บตาแหนง่ ของวัตถุบนพ้นื ผวิ โลกดว้ ยในรปู แบบพกิ ัด อีกท้งั ยังมกี ารบันทกึ ขอ้ มูลของสี (Color Information)
ของพื้นผิวน้ันๆ เข้าไว้ด้วยกัน การแสดงรูปลักษณ์พื้นผิวโลกด้วยพอยต์คลาวด์น้ีจะเป็นการแสดงกลุ่ม
ของจุดสามมิตินับล้านจุดท่ีมาแสดงความต่อเน่ืองของพื้นผิว โดยสามารถนามาพิจารณาลักษณะของวัตถุ
การเปลยี่ นแปลงของพน้ื ผวิ การหาระยะระหว่างจุดตา่ งๆ รวมถึงการหามมุ องศา เปน็ ตน้

รูปที่ 6-5 พอยตค์ ลาวด์งานสารวจเพือ่ จัดรปู ท่ดี นิ นครสวรรค์

DPT KM ACTION PLAN 78

การประยุกต์ใช้การรังวัดด้วยภาพถ่าย

ใ น ปัจ จุบัน เ ท ค โ น โ ล ยีซ อ ฟ ต์แ ว ร์ด้า น ก า ร สา ร ว จ ยัง ส า ม า ร ถ จา แ น ก ก ลุ่ม ข อ ง พ อ ย ต์ค ล า ว ด์
(Point Cloud Classified) จาแนกออกเป็นกลุ่มต่างๆ เพ่ือให้สะดวกในการนาไปประยุกต์ใช้โดยการจาแนกกลุม่
เช่น กลมุ่ พืน้ ผิว กลุม่ อาคาร กล่มุ ต้นไม้ กลมุ่ ถนน เป็นตน้

รปู ที่ 6-6 พอยต์คลาวด์งานสารวจเพ่ือจัดรปู ท่ีดินนครสวรรค์ จาแนกเฉพาะพื้นผวิ ดิน

DPT KM ACTION PLAN 79

การประยุกต์ใชก้ ารรังวัดด้วยภาพถ่าย

รูปที่ 6-7 พอยต์คลาวดง์ านสารวจเพือ่ จดั รปู ทดี่ นิ นครสวรรค์ จาแนกเฉพาะพ้ืนผิวถนน

รปู ที่ 6-8 พอยต์คลาวดง์ านสารวจเพอ่ื จดั รปู ท่ดี นิ นครสวรรค์ จาแนกเฉพาะตน้ ไมใ้ หญ่และสิ่งปลกู สรา้ ง

DPT KM ACTION PLAN 80

การประยุกตใ์ ช้การรังวัดด้วยภาพถ่าย

6.3 การใชแ้ บบจาลองพน้ื ผวิ สามมิติ
ข้อมูลแบบจาลองระดับสูงเชิงเลข (DEM) ได้กลายเป็นข้อมูลพ้ืนฐานที่ถูกนามาใช้ในการนาเสนอ
รูปลักษณ์พื้นผิวโลกโดยความสูงต่าของพื้นผิวโลกเชิงดิจิทัล รวมถึงได้กลายเป็นหนึ่งในส่วนสาคัญที่สุด
ของโครงสร้างขอ้ มลู ท่ใี ช้ในการวเิ คราะหง์ านทางด้านภูมศิ าสตร์ (Geomatics) ตลอดจนทางดา้ นวทิ ยาศาสตรอ์ ่ืนๆ
อนั เกีย่ วข้องกบั ผวิ โลก (Geoscience) และขอ้ มูล DEM ถอื เปน็ ข้อมลู สารสนเทศทีอ่ ธิบายลกั ษณะภมู ิประเทศ
(Topographic Information) ที่เป็นกุญแจสาคัญในการสารวจด้วยภาพถ่าย โดยข้อมูล DEM เป็นวัตถุดิบ
ในการดัดแก้ขอ้ มูลภาพถ่ายปกติท่ียังมีความผิดเพี้ยนอนั เนอ่ื งมาจากการฉายผา่ นศูนยท์ ัศน์ (Perspective Projection)
ทีท่ าให้เกิดความคลาดเคล่อื นของจดุ ภาพอนั เนอ่ื งมาจากความเอียงของแนวแกนกลอ้ ง (Tilt) และความคลาดเคลอื่ น
เน่ืองจากความต่างระดับ (Radiometric Correction) ให้กลายเป็นข้อมูลภาพถ่ายออร์โธ (Orthophoto)
ทข่ี จดั ความคลาดเคลอื่ นเหลา่ นอ้ี อกไปจนกลายเป็นการฉายแบบตกต้งั ฉาก (Orthographic Projection)
นอกจากน้ีการวิเคราะห์ต่างๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับข้อมูล DEM มีความสาคัญอย่างย่ิงต่อการประยุกต์ใช้
รว่ มกบั ข้อมูลราสเตอร์ (Raster) ในระบบสารสนเทศภูมศิ าสตร์ (Geographical Information System: GIS)
ทง้ั ในมิตขิ องการบริหารจัดการทรพั ยากรธรรมชาตอิ ยา่ งการบรหิ ารจัดการนา้ หรือในมติ ิของการตดั สนิ ใจตา่ งๆ
ก็ยังต้องการใช้ข้อมูล DEM เข้าไปรว่ มประกอบในกระบวนการตัดสินใจแบบหลายหลักเกณฑ์ หรือแม้กระท่งั
เฉพาะข้อมลู DEM เองกเ็ ป็นขอ้ มลู พ้นื ฐานในการวเิ คราะห์เพือ่ ประยกุ ตใ์ ช้ในงานภูมสิ ัณฐาน (Geomorphology)
เพ่ือให้ผู้ใช้งานได้เล็งเหน็ ถึงความสาคัญและการนาเอา DEM ไปในแง่มุมต่างๆ โดยจะเห็นว่า DEM
นนั้ มีประโยชนอ์ ย่างยิ่งตอ่ การนาไปประยกุ ตใ์ ช้ในทกุ วงการวิศวกรรม ดังนัน้ เน้ือหาต่อจากน้ีไปจะเปน็ รายละเอยี ด
ในการนา DEM มาใช้ประโยชน์ โดยเรม่ิ จากการตรวจสอบความถกู ตอ้ งของ DEM และฟังก์ชน่ั พนื้ ฐานทาง GIS
ในการวิเคราะหข์ อ้ มลู DEM ทีม่ ปี ระโยชนต์ อ่ งานวศิ วกรรมโยธา

6.3.1 การประยกุ ตใ์ ช้แบบจาลองพื้นผวิ สามมติ ิกบั งานด้านชลศาสตร์
การใช้ระบบภูมิสารสนเทศในการสร้างแบบจาลองสามมิติของภูมิประเทศ เป็นการสร้าง
พื้นผิวจาลองของภูมิประเทศ โดยมีสัดส่วนและตาแหน่งทั้งในมิติทางราบและที่ความสูงอย่างถูกต้อง
เพื่อแสดงให้เห็นสภาพความสูงต่าของภูมิประเทศ โดยใช้เทคโนโลยีของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
ประมวลภาพจาลองสามมิติ ภาพจาลองพื้นที่รับน้า และจาลองเหตุการณ์เกิดอุทกภัยในแต่ละระดับ
โดยสามารถนาฐานข้อมูลดังกล่าวประยุกต์ใช้กับการบริหารจัดการน้าหรือใช้พัฒนาระบบให้เหมาะสม
กบั ภารกิจของหนว่ ยงานตอ่ ไป

DPT KM ACTION PLAN 81

การประยกุ ตใ์ ช้การรังวดั ด้วยภาพถ่าย

รูปท่ี 6-9 ตวั อยา่ งการใช้ DEM จาลองพนื้ ทีน่ า้ ทว่ มเขตพน้ื ทจี่ ัดรปู นครสวรรค์

รปู ท่ี 6-10 ตัวอย่างการใช้ DEM จาลองพ้ืนทร่ี บั น้าและทางนา้ ไหลเขตพน้ื ทจ่ี ดั รูปนครสวรรค์

DPT KM ACTION PLAN 82

การประยุกตใ์ ชก้ ารรังวัดดว้ ยภาพถ่าย

6.3.2 การประยุกต์ใชแ้ บบจาลองพนื้ ผวิ สามมติ กิ ับงานดนิ
การคานวณปริมาตรดนิ ตดั และดินถม (Cut & Fill) สามารถนาไปประยกุ ต์ใช้งานได้อย่างมากมาย
ไม่วา่ จะเป็นทางออกแบบงานถนน งานถมดินในงานกอ่ สร้าง การขุดบ่อน้า งานเหมอื งแร่ หรอื การวดั ปริมาตร
การเปลีย่ นแปลงสภาพของพื้นทใ่ี นส่วนใหญ่ทีถ่ ูกขุดออกไปหรอื ถมเขา้ มา
หากนึกถึงสภาพจรงิ บนผิวโลกการจะคานวณงานดินตดั ดนิ ถม จาเป็นจะต้องมีข้อมลู ระดับความสงู
ของพื้นที่ผิวมาเก่ียวข้อง นั่นก็คือแบบจาลองพื้นผิวสามมิตินั่นเอง และจะต้องเป็นข้อมูลในสองช่วงเวลา
ที่มีระดับความที่แตกต่างกันในพ้ืนท่ีนัน้ ๆ หรืออาจจะกาหนดเป็นรูปทรงพ้ืนผิวที่ต่างกนั กไ็ ด้ เพื่อเปรียบเทยี บ
ปริมาตรท่ีเปลยี่ นไปของแบบจาลองพืน้ ผิวสามมิติท้ังสองแบบจาลองนั่นเอง

รปู ที่ 6-11 ตัวอยา่ งการหาปรมิ าตรของงานดนิ ขดุ ดนิ ถม
6.3.3 การประยุกต์ใช้แบบจาลองพ้ืนผิวสามมิติกับงานทาระดับตามยาวและตามขวาง
(Profile & Cross section)
งานสารวจเพือ่ ทาระดับตามยาวและตามขวาง (Profile & Cross section) มคี วามสาคญั อย่างมาก
ในงานออกแบบด้านงานถนนและงานด้านลานา้ ในอดีตต้องใช้วิธีการเลง็ แนว กาหนด station รังวัดด้านตัดขวาง
และตามยาวของแนวท่ีต้องการทาการสารวจ ซึง่ หากมีระยะทางยาวจะต้องใช้ระยะเวลานาน และใชบ้ คุ ลากร
เป็นจานวนมาก อีกวิธีคือใช้ข้อมูลจากเส้นชั้นความสูง (Contour Line) ซึ่งเป็นข้อมลู ที่ผ่านการปรับแต่ง
และมีความละเอียดน้อย การใชข้ ้อมูลแบบจาลองพ้นื ผวิ สามมติ ิจะช่วยประหยัดต้นทุน และลดระยะเวลาไดอ้ ีกด้วย

DPT KM ACTION PLAN 83

การประยุกตใ์ ช้การรังวดั ดว้ ยภาพถ่าย

รูปที่ 6-12 ตวั อย่างการใช้ DEM ในการผลิต Profile & Cross section
งานถนนโครงการจัดรูปอตุ รดติ ถ์

รปู ท่ี 6-13 ตวั อยา่ งการสง่ ออกขอ้ มลู Profile & Cross section
เพ่ือการออกแบบงานถนนโครงการจดั รูปอตุ รดิตถ์

DPT KM ACTION PLAN 84

การประยกุ ต์ใชก้ ารรังวดั ดว้ ยภาพถ่าย

6.4 การประยกุ ต์ใชก้ บั งานอาคารและส่ิงปลูกสร้าง
ในการบรหิ ารงานก่อสรา้ งสว่ นงานท่เี กีย่ วขอ้ งกับงานสารวจรังวัดประกอบดว้ ย การติดตามสภาพโครงการ
ลักษณะของข้อมูลสภาพพื้นที่ และสภาพพ้ืนที่ท่ีมีการเปล่ียนแปลงไปตลอดเวลา การสารวจด้วยภาพถ่าย
ด้วยอากาศยานไร้คนขับเป็นอีกวิธีซึ่งจะสามารถเกบ็ ข้อมูลในปรมิ าณท่ีมากในระยะเวลาอันสัน้ นอกจากจะสามารถ
แสดงสภาพปัจจบุ นั ตาแหน่ง ขนาด ได้ถกู ตอ้ งแม่นยาแล้ว การใช้กลุ่มจุดสามมติ หิ รือแบบจาลองทีเ่ ป็นผลผลติ
จากการสารวจด้วยภาพถ่ายนี้ ยังสามารถนาไปประยุกต์ใช้กับซอฟต์แวร์อื่นๆ เพื่อประกอบการตัดสินใจ
ในการบรหิ ารงานกอ่ สรา้ งต่อไปได้อกี ด้วย

รปู ที่ 6-14 ตวั อยา่ งแบบจาลองสามมติ อิ าคารกรมโยธาธกิ ารและผงั เมืองถนนพระราม 9

DPT KM ACTION PLAN 85

การประยกุ ต์ใชก้ ารรังวดั ด้วยภาพถ่าย

รปู ที่ 6-15 ตวั อยา่ งการวัดขนาดและมิติของอาคารจากแบบจาลองสามมติ ิ

DPT KM ACTION PLAN 86


Click to View FlipBook Version