The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

E-book Final project
เรื่อง การถ่ายภาพทางทันตกรรม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Alra'ice Kimber, 2020-12-02 02:35:13

การถ่ายภาพทางทันตกรรม

E-book Final project
เรื่อง การถ่ายภาพทางทันตกรรม

การถา่ ยภาพ

ทางทันตกรรม

Dental Photography

อรพร อินทรกองแก้ว

613070242-1



การถา่ ยภาพ

ทางทันตกรรม

Dental Photography

อรพร อินทรกองแก้ว

613070242-1

การถ่ายภาพทางทันตกรรม
DENTAL PHOTOGRAPHY

โดย
นางสาว อรพร อินทรกองแก้ว
หลักสตู รวิทยาศาสตรบ์ ณั ฑิต สาขาเวชนิทัศน์
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
พมิ พค์ ร้งั ที่ 1

ข้อมลู สำ� นักหอสมดุ แหง่ ชาติ
อรพร อินทรกองแก้ว
การถ่ายภาพทางทันตกรรม เล่ม1_กรุงเทพฯ, พ.ศ.2563, 64 หน้า
ISBN 12-123-12-12-1

พมิ พ์ : RGB Printing house จังหวัดขอนแก่น
ต�ำบลขอนแก่น อ�ำเภอเมอื ง จังหวัดขอนแก่น 40000
โทรศพั ท์ : 089 699 4957
อีเมล : [email protected]



การถ่ายภาพทางทันตกรรม A

คำ�น�ำ

การถ่ายภาพทางทันตกรรม นบั ว่ามคี วามสำ� คัญและมคี วามจ�ำเปน็ อยา่ งมากไมว่ ่า
จะเปน็ ในเร่อื งของการชว่ ยเปรยี บเทียบก่อนและหลังการรกั ษาหรอื การเรยี นการสอน
ด้านทันตกรรม เน่ืองจากภาพท่ีถ่ายเป็นส่ือท่ีแสดงภาพได้เหมือนจริง แสดงราย
ละเอียดได้ชดั เจน สามารถนำ� มาเปน็ ส่อื การเรยี นการสอนและประกอบการรกั ษาโรค
ได้เปน้ อยา่ งดี

หนังสอื การถ่ายภาพทางทันตกรรม (dental photography) ฉบบั น้ี จัดท�ำข้ึนโดย
มวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พ่อื ใหค้ วามรูเ้ ร่อื งประวตั กิ ารถา่ ยภาพทางทนั ตกรรม วตั ถปุ ระสงคข์ อง
การถ่ายภาพฟนั กายวิภาคฟนั ข้นั พ้นื ฐาน อุปกรณก์ ารถ่ายภาพ ข้นั ตอนการถ่ายภาพ
เทคนิคท่ีต้องใช้ในการถ่ายภาพทางทันตกรรม ตลอดจนการวิเคราะห์ภาพถ่ายทาง
ทันตกรรม

ผู้จัดท�ำหวังเป็นอย่างยิ่งว่าหนังสือเล่มน้ีจะเป็นประโยชน์ต่อนักศึกษาสาขาเวช
นิทัศน์และบุคคลท่ัวไปท่ีสนใจ หากพบข้อบกพร่องประการใด ผู้จัดท�ำขอน้อมรับไว้
และขออภัยมา ณ ท่ีน้ดี ้วย

อรพร อินทรกองแก้ว



การถ่ายภาพทางทันตกรรม B

กติ ตกิ รรมประกาศ

หนังสือเล่มน้ี ส�ำเร็จลงได้ด้วยความกรุณาอย่างยิ่งจาก ผศ.ทรงพล อุปชิตกุล
อาจารยท์ ่ีปรกึ ษาท่ีได้ใหค้ �ำแนะนำ� ปรกึ ษา ตลอดจนตรวจแก้ไขขอ้ บกพรอ่ งต่างๆด้วย
ความเอาใจใส่เป็นอย่างย่ิง จนหนังสือเล่มน้ีเสร็จสมบูรณ์ ผู้จัดท�ำจึงขอกราบ
ขอบพระคณุ เปน็ อยา่ งสงู

ขอกราบขอบพระคณุ ผศ.ทรงพล อปุ ชติ กลุ และอาจารย์ ชยั วฒุ ิ ฆารสนิ ธุ์ อาจารย์
ท่ีปรึกษาด้านเน้ือหา ท่ีกรุณาให้ค�ำแนะน�ำปรึกษา ตรวจสอบ แก้ไข เน้ือหาการถ่าย
ภาพทางทันตกรรม (dental photography) อันเป็นข้อมูลสำ� หรบั การท�ำหนงั สือเล่ม
น้ี

ในท้ายท่ีสดุ น้ี ผจู้ ัดท�ำขอขอบพระคุณผู้มีสว่ นเก่ียวข้องในการใหข้ ้อมลู และเป็นท่ี
ปรึกษาในการท�ำหนังสือเล่มน้จี นเสร็จสมบูรณ์ ผจู้ ัดท�ำขอขอบพระคุณไว้ ณ ท่ีน้ีด้วย



การถ่ายภาพทางทันตกรรม C

สารบญั A
B
ค�ำนำ� 2
กิตติกรรมประกาศ 6
บทท1่ี ประวัติการถ่ายภาพทางการแพทยใ์ นประเทศไทย 7
วัตถปุ ระสงค์การถ่ายภาพทางทันตกรรม 8
บทท2่ี อุปกรณท์ ่ีใชใ้ นการถ่ายภาพทางทันตกรรม 10
กล้อง DSLR 19
เลนส์และประเภทของเลนส์ 21
แฟลช 22
อุปกรณ์แยกแก้มริมฝปี าก 24
กระจกถ่ายภาพในชอ่ งปาก 25
บทท่ี 3 การต้ังค่ากล้องและองค์ประกอบสำ� คัญในการถ่ายภาพ 26
ความไวชัตเตอร์ shutter speed 27
รูรับแสง aperture F-number 28
ความไวแสง ISO 31
เทคนิคต่างๆในการใชก้ ล้องและถ่ายภาพสำ� หรบั ทางทันตกรรม 34
บทท่ี 4 ระบบการเรียกช่อื ฟนั และระบบบดเค้ียวในชอ่ งปาก 35
ชุดฟนั น้ำ� นมและชุดฟันแท้ 36
ต�ำแหนง่ ฟัน 37
หลักการเรียกช่อื แบบ Two digit system 38
การเรยี กช่อื ฟนั หนา้ และฟันหลัง 39
หลักการเรยี กช่อื ฟนั 40
บทท่ี 5 การถ่ายภาพมาตรฐานและภาพทางทันตกรรม 43
การถ่ายภาพนอกชอ่ งปาก 48
การถ่ายภาพในชอ่ งปาก 52
ข้ันตอนการถ่ายภาพในชอ่ งปาก 57
การวิเคราะห์ภาพถ่ายทางทันตกรรม 58
ลักษณะภาพในชอ่ งปากท่ีดี G
สรุป H
ดรรชนี
บรรณานกุ รม



การถ่ายภาพทางทันตกรรม C

สารบัญรูปภาพ 2
3
บทท่ี1 ประวัติการถ่ายภาพทางการแพทย์ในประเทศไทย 4
รูปท่ี 1 หมอยอร์ช แมคฟาแลนด์
รูปท่ี 2 ศาสตราจารยน์ ายแพทยส์ ุดแสงวิเชียร 8
รูปท่ี 3 ตัวอยา่ งของภาพ Lantern slide 9
9
บทท่ี2 อุปกรณท์ ่ีใชใ้ นการถ่ายภาพทางทันตกรรม 9
รูปท่ี 4 กล้องDSLR 10
รูปท่ี 5 แสดงหลักการท�ำงานของกล้อง 11
รูปท่ี 6 ภาพสว่ นประกอบของกล้องด้านบน 11
รูปท่ี 7 ภาพสว่ นประกอบของกล้องด้านบน 12
รูปท่ี 8 เลนสก์ ล้อง DSLR 12
รูปท่ี 9 ภาพท่ีได้จากการใชเ้ ลนสม์ าตรฐาน 13
รูปท่ี 10 ภาพท่ีได้จากการใช้เลนสม์ าตรฐาน 13
รูปท่ี 11 เลนสม์ ุมกว้าง 14
รูปท่ี 12 ภาพท่ีได้จากการใช้เลนสม์ มุ กว้าง 14
รูปท่ี 13 ภาพท่ีได้จากการใชเ้ ลนส์มมุ กว้าง 15
รูปท่ี 14 เลนส์มุมแคบหรอื เลนส์เทเลโฟโต้ 15
รูปท่ี 15 ภาพท่ีได้จากเลนสม์ มุ แคบ 16
รูปท่ี 16 ภาพท่ีได้จากเลนสม์ มุ แคบ 16
รูปท่ี 17 เลนส์ซูม 17
รูปท่ี 18 ภาพท่ีได้จากเลนส์ซูม 17
รูปท่ี 19 ภาพท่ีได้จากเลนส์ซูม 18
รูปท่ี 20 เลนสต์ าปลา 18
รูปท่ี 21 ภาพท่ีได้จากเลนส์ตาปลา 19
รูปท่ี 22 ภาพท่ีได้จากเลนส์ตาปลา 20
รูปท่ี 23 ภาพท่ีได้จากเลนส์มาโคร 20
รูปท่ี 24 ภาพท่ีได้จากเลนสม์ าโคร 21
รูปท่ี 25 ภาพท่ีได้จากเลนสม์ าโคร 22
รูปท่ี 26 อุปกรณร์ งิ แฟลช
รูปท่ี 27 อุปกรณ์ twin flash
รูปท่ี 28 อุปกรณแ์ ยกแก้มและริมฝปี าก
รูปท่ี 29 กระจกถ่ายภาพในชอ่ งปาก

การถ่ายภาพทางทันตกรรม E

สารบัญรูปภาพ ( ตอ่ )

รูปท่ี 30 ลักษณะกระจกรูปทรงกว้างโค้งเว้าให้เข้ากับสรรี ะปาก มที ้ัง 23
ส�ำหรับเด็กและผใู้ หญ่ 23

รูปท่ี 31 ลักษณะกระจกเรียวยาวปลายด้านหน่ึงจะเรียวเล็กลง

บทท่ี 3 การต้ังค่ากล้องและองค์ประกอบสำ� คัญในการถ่ายภาพ 25
รูปท่ี 32 แสดงค่าความไวชัตเตอร์บนหนา้ จอกล้อง 26
รูปท่ี 33 ภาพแสดงผลของการต้ังค่าความไวชัตเตอร์จากมากไป
น้อย 26
รูปท่ี 34 แสดงผลค่ารูรบั แสงบนหน้าจอกล้อง 27
รูปท่ี 35 ภาพแสดงผลของการต้ังค่ารูรบั แสงจากน้อยไปมาก 27
รูปท่ี 36 แสดงผลค่าความไวแสงงบนหน้าจอกล้อง 28
รูปท่ี 37 ภาพแสดงผลของการปรับค่ารูรับแสง ค่าความเร็วชัตเตอร์
และค่าความไวแสงท่ีแตกต่างกัน และให้ผลลัพธท์ ่ีแตกต่างกัน 28
รูปท่ี 38 แสดงการปรียบเทียบของค่าisoท่ีต่างกัน 29
รูปท่ี 39 แสดงการเปรียบเทียบความต่างองค่าshutter speed ท่ีต่าง
กัน 29
รูปท่ี 40 แสดงหน้าจอการต้ังค่า white balance 30
รูปท่ี 41 แสดงตัวเลือกในการชว่ ยปรบั ความชดั อัตโนมัติ 30
รูปท่ี 42 แสดงการเปรียบเทียบระหว่างการบันทึกไฟล์ภาพระหว่าง-
JPEGกับ RAW

บทท่ี 4 ระบบการเรยี กช่ือฟนั และระบบบดเค้ียวในชอ่ งปาก 32
รูปท่ี 43 ฟันเด็ก 33
รูปท่ี 44 ฟนั แท้ 34
รูปท่ี 45 การเรยี กช่อื ฟันน้ำ� นมแต่ละซ่ี 35
รูปท่ี 46 แสดงการเรียกช่อื ของฟนั แท้แต่ละซ่ี 35
รูปท่ี 47 ภาพแสดงการแบง่ สดั สว่ นการเรียกช่อื ฟนั แบบ Quadrants 36
รูปท่ี 48 แสดงการเรียกช่อื ฟนั แท้แต่ละซ่ีแบบ two digit system 37
รูปท่ี 49 แสดงการเรียกช่อื ฟนั น้ำ� นมแต่ละซ่ีแบบ two digit system 37
รูปท่ี 50 สว่ นประกอบของฟันหนา้ และฟนั หลัง

การถ่ายภาพทางทันตกรรม F

สารบญั รูปภาพ ( ต่อ )

บทท่ี 5 การถ่ายภาพมาตรฐานและภาพทางทันตกรรม 40
รูปท่ี 51 ลักษณภาพถ่ายแบบหนา้ ตรง แนวเสน้ ตรงลากจรดหางตา 2 ขา้ ง
ขนานกับขอบภาพเสน้ ก่ึงกลางต้ังฉากให้มีความสมดุลยท้ังซ้ายขวา 40
รูปท่ี 52 ภาพแสดงการจัดท่าผู้ป่วยและต�ำแหนง่ ของกล้อง 41
รูปท่ี 53 ลักษณะภาพถ่ายด้านขา้ ง แนวเส้นตรงหางตาขนานกันกับขอบ
ภาพมองเห็นขนตาหรอื หัวคิ้วเล็กนอ้ ย 41
รูปท่ี 54 ภาพแสดงการจัดท่าผปู้ ว่ ยและต�ำแหนง่ ของกล้อง 42
รูปท่ี 55 แสดงใบหน้าด้านเฉียง 42
รูปท่ี 56 ภาพแสดงการจัดท่าผูป้ ่วยและต�ำแหนง่ ของกล้อง 43
รูปท่ี 57 ภาพเปรยี บเทียบระยะการถ่ายเท่ากัน 43
รูปท่ี 58 ภาพถ่ายด้านรมิ ฝปี าก 44
รูปท่ี 59 ภาพถ่ายด้านบดเค้ียวบน 45
รูปท่ี 60 ภาพถ่ายด้านบดเค้ียวล่าง 45
รูปท่ี 61 ภาพถ่ายด้านแก้ม 46
รูปท่ี 62 ภาพถ่ายด้านเพดานปาก 46
รูปท่ี 63 ภาพถ่ายด้านลิ้น 47
รูปท่ี 64 ตัวอยา่ งภาพถ่ายรอยโรคระยะใกล้ 48
รูปท่ี 65 แสดงระดับเก้าอ้ีของผู้ป่วยและต�ำแหนง่ ขอชา่ งภาพ 49
รูปท่ี 66 แสดงการใสท่ ่ีแยกริมฝีปาก 49
รูปท่ี 67 การใสก่ ระจกถ่ายด้านบดเค้ียว 50
รูปท่ี 68 แสดงการใสก่ ระจกถ่ายด้านแก้ม 51
รูปท่ี 69 แสดงต�ำแหนง่ การยืนถ่ายภาพฟันท่ีถกู ต้อง 52
รูปท่ี 70 ตัวอยา่ งการถ่ายปกแฟ้ม 53
รูปท่ี 71 ตัวอยา่ งท่ี 1 ภาพฟันโดนตัดขาด 53
รูปท่ี 72 ตัวอยา่ งท่ี 2 ภาพมฟี องน้ำ� ลาย 54
รูปท่ี 73 ตัวอยา่ งท่ี 3 ภาพไมส่ มดลุ และไมค่ รบทกุ ซ่ี 54
รูปท่ี 74 ตัวอย่างท่ี 4 ภาพท่ีมีท่ีดึงแก้มและริมฝีปากบังฟันและถ่ายติด
นิว้ มอื 55
รูปท่ี 75 ตัวอยา่ งท่ี 5 แสงของภาพไมส่ ม่ำ� เสมอ 55
รูปท่ี 76 ตัวอยา่ งท่ี 6 ภาพมมุ สงู แนวเส้นไมข่ นาน 56
รูปท่ี 77 ตัวอยา่ งท่ี 7 ภาพมุมต่�ำ 56
รูปท่ี 78 ตัวอยา่ งท่ี 8 ภาพเอียงและถ่ายติดฟันจริงมาก





บท ่ที 1

ประวตั ิและ การถ่ายภาพทางทันตกรรม
วตั ถุประสงค์

ในการถา่ ยภาพ

ภาพผปู้ ว่ ยทางทนั ตกรรม นบั วา่ มคี วามสำ� คญั และมคี วามจำ� เปน็ อยา่ ง
มากในการเรยี นการสอนดา้ นทนั ตกรรม และการรกั ษาผปู้ ว่ ยทางทนั ตกรรม
เน่ืองจากภาพท่ีถ่ายเป็นส่ือท่ีสามารถแสดงภาพได้เหมือนจริง แสดงราย
ละเอียดได้ชัดเจน สามรถน�ำมาเปน็ ส่ือการเรียนการสอนและประกอบการ
รักษาโรคได้อย่างดี ภาพท่ีถ่ายแสดงให้เห็นอาการรอยโรคต่างๆท่ีชัดเจน
สามารถอธิบายข้ันตอนการรักษาท้ังในคลินิก และห้องปฏิบัติการ การ
เปรียบเทียบการเปล่ียนแปลงก่อนรักษา ระหว่างการรักษา และหลังการ
รกั ษา ตลอดท้ังการน�ำภาพมาวิเคราะหว์ ินจิ ฉยั โรค

1

1. ประวตั ิการถ่ายภาพทางการ
แพทย์ในประเทศไทย

เม่อื ประมาณ 100 กว่าปีท่ีผา่ นมา
มีหลักฐานบรรพบุรุษทางการแพทย์
ค น ล ะ ที จ ะ ก ล่ า ว คื อ ห ม อ ย อ ร์ ช
แมคฟาแลนด์ หรือพระอาจวิทยาคม
ท่ า น ไ ด้ น� ำ ส่ื อ ก า ร ศึ ก ษ า ห รื อ
เทคโนโลยีการศึกษามาใช้สอนโดยมี
หลักฐานว่าท่านใช้หนังสือท่ีพิมพ์ข้ึน
เปน็ ภาษาไทยและมรี ูปภาพประกอบ
ด้วยตลอดจนได้น�ำหุ่นมาใช้ในวิชา
กายวิภาคศาสตร์

ต่อมาในสมัยกลางมูลนิธิร็อคคี
เฟลเลอร์ เขา้ มามบี ทบาทโดยการนำ�
ส่อื มาใชใ้ นการเรยี นการสอน

ภาพท่ี 1. หมอยอรช์ แมคฟาแลนด์
แหล่งท่ีมา :https://www2.si.mahidol.ac.th

และบคุ คลสำ� คญั ทา่ นหนง่ึ ทส่ี มควรจะกลา่ วถงึ กค็ อื โปเฟสเซอรค์ องดอน
ท่านเป็นศาสตราจารย์ทางกายวิภาค ท่านเร่ิมใช้ส่ือทางการแพทย์มาใช้
ทางการเรยี นการสอนเปน็ ผลใหอ้ าจารยห์ มอสดุ แสงวิเชยี ร ซ่ึงขนาดน้ันได้
ศกึ ษาอยูแ่ ละเริ่มท�ำงานกับท่านจึงได้แนวคิด และลงมอื ผลิตส่ือเพ่ือนำ� มา
ใช้ประกอบการสอน

ห ลั ง ส ง ค ร า ม โ ล ก ค ร้ั ง ท่ี ส อ ง ค ณ ะ แ พ ท ย ศ า ส ต ร์ ศิ ริ ร า ช พ ย า บ า ล
มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร(์ ปจั จุบนั เปน็ คณะแพทยศาสตรศ์ ริ ริ าชพยาบาล
มหาวิทยาลัยมหิดล)ขณะน้ันศาสตราจารย์นายแพทย์สุดแสงวิเชียรท่าน
ดำ� รงตำ� แหนง่ หวั หนา้ ภาควชิ ากายวภิ าคศาสตร์ คณะแพทยศ์ ริ ริ าชพยาบาล
ท่านมีความสนใจในการถ่ายภาพและการถ่ายภาพพยนต์มาก ท่านจัดทำ�
สไลด์ด้วยกระจกซ่งึ ในสมยั น้นั เรียกว่า Lantern slide มขี นาด 3 1/4 x 4
1/4 นิ้ว ขาวด�ำ สว่ นท่ีต้องการใหเ้ ป็นสไลด์สี ท่านก็จะระบายโดยใช้พูก่ ัน
จุ่มน้�ำ แตะสีท่ีท�ำจากแผน่ กระดาษท่ีมหี ลายสี ท�ำใหส้ ไลด์ดสู วยงามข้ึน

2 บทท่ี 1

การถ่ายภาพทางทันตกรรม

เ พ่ ื อ ใ ช้ ป ร ะ ก อ บ ก า ร ส อ น วิ ช า
Gross Anatomy นอกจากน้ีท่านยัง
ป ร ะ ดิ ษ ฐ์ ตู้ ไ ฟ ไ ว้ ใ ห้ นั ก ศึ ก ษ า ไ ด้
ทบทวนสไลด์ ขณะท่ีท�ำการช�ำแหละ
ศพครูใหญ่

ตลอดจนการถ่ายภาพผู้ป่วยและ
ถ่ายภาพจากกล้องจุลทรรศน์ มีการ
บันทึกเร่ืองราวต่างๆ ทางการแพทย์
ตลอดจนการท�ำสำ� เนาภาพเก่าๆ เพ่อื
น�ำมาใชใ้ หม่ ล้วนแต่เปน็ ภาพขาวด�ำ
ท้ังสิน้

และการถ่ายสำ� เนาภาพจาก text-
book เพ่อื ท�ำ Lantern slide น้นั ท่าน
ใชก้ ล้อง Rolleiflex ซ่ึงเป็นกล้อง

ภาพท่ี 2. ศาสตราจารยน์ ายแพทย์สุดแสงวิเชยี ร

แหล่งท่ีมา :https://www.si.mahidol.ac.th

สะท้อนเลนส์คู่ใช้ฟิล์มขนาดเบอร์ 120 แทนกล้องเก่าท่ีใช้ฟิล์มกระจก
สว่ นเคร่ืองขยายภาพใช้ Federal ของสหรฐั อเมรกิ าซ่งึ มขี นาด 4 × 5 นิว้
โดยใช้น้�ำยาของ Kodak สตู ร D. 72. ในการล้างนอกจากน้ีท่านยังมีกล้อง
ถ่ายภาพจากกล้อง จุลทรรศนแ์ บบเก่า ท่ีต้องใชน้ ้ำ� เปน็ ตัวกันความรอ้ นจาก
หลอดไฟ โดยใชฟ้ ลิ ์มกระจกถ่ายภาพท่ีมคี วามคมชดั มาก การฉาย Lantern
slide ไมส่ ะดวกเหมอื นการฉายด้วยฟลิ ์มสไลด์ขนาด 35 ม.ม. เพราะเคร่อื ง
ฉาย Lantern slide มีชอ่ งวางสไลด์บรรจุสไลด์ได้เพียง 2 เฟรม สลับเซียน
กันฉายเม่ือฉายสไลด์เฟรมหน่ึงเสร็จแล้วก็ดึงแมกกาซินเพ่ือน�ำสไลด์ อีก
เฟรมทย่ี งั ไมไ่ ดฉ้ ายเขา้ แทนทต่ี ำ� แหนง่ ทฉ่ี ายพรอ้ มท้งั เปลย่ี นเอาสไลดท์ ฉ่ี าย
แล้วออก จึงน�ำสไลด์อันใหมเ่ ขา้ บรรจุแทนท่ีพรอ้ มท่ีจะฉายหมุนเวียนสลับ
สับเปล่ียนเชน่ น้ีจนเสรจ็ สิ้นการฉาย

ในชว่ งเวลาน้นั มกี ารตีพิมพง์ านวิจัย บทความทางการแพทย์ ท่ีต้องการ
ภาพประกอบ ท่านก็ชว่ ยถ่ายภาพ และอัดขยายใหไ้ ด้ภาพขนาดพอเหมาะ
ท่ีจะนำ� ไปตีพมิ พ์ ให้กับแพทยท์ ่ีมาขอความชว่ ยเหลือจากท่าน นอกจากน้ี
ท่านยงั สนใจในการถ่ายภาพยนตร์ เพ่อื ใชแ้ สดงความเคล่ือนไหวของผปู้ ว่ ย
ท่ีผิดปกติก่อนรักษา และหลังรักษา โดยใช้กล้องถ่ายภาพพยนต์ Bolex
ขนาดฟิล์ม 16 mm. เคร่อื งฉายภาพยนตรใ์ ชย้ ่ีห้อ Elmo งานด้านห้องมดื

บทท่ี 1 3

การถ่ายภาพทางทันตกรรม

ท่านล้างฟิล์มและขยายภาพเองท้ังส้ิน นับว่าท่านเป็นช่างภาพการแพทย์
ท่านแรก หรือบิดานักเวชนิทัศน์แหง่ ประเทศไทย

ในปีพ.ศ. 2496 นพ.สภา ลิมพาณิชยก์ าร ในขณะน้นั ยังเป็นนกั ศกึ ษา
แพทยช์ น้ั ปที ่ี 1 ทค่ี ณะแพทยศาสตร์ ศริ ริ าช ไดเ้ รยี นจากการดภู าพจากLan-
tern slide ขาวด�ำ และบางสไลด์จะระบายเป็นสี เชน่ สีของเสน้ เลือด เส้น
ประสาท ได้อยา่ งสวยงามการท�ำ Lantern slide

ภาพท่ี 3. ตัวอยา่ งของภาพ Lantern slide
แหล่งท่ีมา :https://www.worthpoint.com

เริม่ ด้วยการถ่ายส�ำเนาภาพจาก หนังสอื (textbook) ด้วยกล้อง Rollei-
flex แล้วนำ� ฟลิ ์ม Negative มาขยายลงบนกระจกไวแสงชนดิ พเิ ศษ ซ่งึ ต้อง
ส่ังโดยตรง เพราะไมม่ ที ่ีไหนใช้แล้วเปน็ ของ Illford แล้วน�ำไปล้างในน้ำ� ยา
สร้างภาพ จะได้ lantern slide ขนาด 3*4 นิ้ว สามารถฉายได้ภาพท่ีชัด
กระจ่างบนจอ กระจกฉายหรอื Lantern slide น้ี ใช้สอนวิชา Anatomy แก่
นกั ศึกษาแพทย์ โดยเฉพาะเน้อื หาวิชา Gross Anatomy ซ่งึ ปจั จุบันยังมไี ว้
ให้นักศึกษาแพทย์ได้ดูท่ีภาควิชากายวิภาคศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์
ศริ ริ าชพยาบาล ซ่ึงขณะน้ัน นพ.สภา มคี วามสนใจการถ่ายภาพมาก มกี าร
เข้ารว่ มถ่ายภาพกิจกรรมของคณะด้วยตนเอง อาทิ งานมหิดล งานรับน้อง
ใหม่ งานปีใหม่ เป็นต้น

เม่อื พน.สภา ลิมพาณชิ ยก์ ารได้เรยี นแพทยจ์ บ ศาสตราจารยน์ ายแพทย์
สดุ แสงวิเชียร จึงชวนมาท�ำงานถ่ายภาพโดยเปิดหนว่ ยภาพการแพทยใ์ ช้

4 บทท่ี 1

การถ่ายภาพทางทันตกรรม

ช่ือว่า Medical Illustration สังกัดภาควิชากายวิภาคศาสตร์ โดยมีรอง
ศาสตราจารย์ นพ. นนั ทวัน พรหมผลิน ปฏิบตั ิ งานด้านเขยี นภาพ ท่านเปน็
ผู้ชำ� นาญด้านการเขยี นภาพด้วยลายเส้น ท่านจบการศึกษาวิชาเขียนภาพ
ทางการแพทย์ ณ University of Illinois สหรฐั อเมรกิ า เปน็ เวลา 2ปี และ
กลับมาเริ่มงานเขยี นภาพทางการแพทย์

นพ.สภา ลิมพาณชิ ยก์ าร ได้รับทุนจาก The China Medical Board of
New York Inc. ประเทศสหรฐั อเมรกิ าให้ไปฝึกงานด้าน Medical Photog-
raphy ท่ี Johns Hopkins Hospital เมอื ง Baltimore เปน็ เวลา 1ปี ไปฝกึ งาน
ในโรงพยาบาลเอกชน และของโรงพยาบาลของรัฐ อีก 4แห่งหลังจากนั้น
ท่านได้กลับมาพฒั นางานด้านถ่ายภาพนงิ่ และการถ่ายภาพยนตรใ์ นปพี .ศ.
2509

และในปีพ.ศ. 2509 น้ันเอง นายแพทย์นันทวัน พรหมผลิน ได้จัดต้ัง
หลกั สตู รชา่ งภาพทางการแพทยข์ น้ึ โดยใชช้ ่อื วา่ โรงเรยี นชา่ งภาพการแพทย์
หลักสตู รต่อเน่อื ง 2ปี ข้นึ ตรงกับภาควิชากายวิภาคศาสตร์ รบั นกั ศกึ ษาท่ีจบ
จากโรงเรียนเพาะช่าง หรือโรงเรียนช่างศิลป์ช้ันปีท่ี3 เม่ือเรียนจบได้รับ
ประกาศนียบัตร ช่างภาพการแพทย์เทียบเท่าปริญญาตรี ต่อมาได้รับ
อาจารยโ์ ชติ แสงสมพร นกั ประติมากรรม จากโรงเรียนเพาะชา่ ง ซ่งึ เป็นผู้
มคี วามรูค้ วามสามารถในการป้ นั หนุ่ จำ� ลองเปน็ อยา่ งมาก เขา้ มาทำ� การสอน
ด้านหุ่นจ�ำลองทางการแพทย์ และได้รับอาจารย์เสถียร แสงสลับและ
อาจารย์มารีย์ แสงสลับ มารว่ มงานด้านกราฟกิ ต่อมาภายหลังได้ปรบั ปรุง
หลักสูตรใหมใ่ ห้ได้รับปริญญาตรวี ิทยาศาสตรบ์ ัณฑิต สาขาเวชนทิ ัศน์ โดย
ให้นักศึกษาท่ีจบไปแล้วรุ่นท่ี 1-13 มาศึกษาเพิ่มเติมเป็นหลักสูตรระยะ
ส้นั 6เดือน เพ่อื เขา้ รบั พระราชทานปรญิ ญาบตั ร ต่อมาภายหลังได้ปรบั ปรุง
หลักสูตรใหม่ ท่ีได้รับปริญญาตรีวิทยาศาสตรบ์ ณั ฑิต สาขาเวชนิทัศน์

ในปีพ.ศ. 2519 งานถ่ายภาพทางการแพทย์มีจ�ำนวนมากข้ึน งานถ่าย
ภาพยนตรถ์ กู ยกเลกิ ไปเน่อื งจากมวี ดิ โี อเขา้ มาแทนท่ี งานถา่ ยสไลดป์ ระกอบ
การสอน การวิจัยและภาพถ่ายเพ่ือการตีพิมพ์มีจ�ำนวนเพ่ิมข้ึนจึงได้น�ำ
คอมพิวเตอรม์ าใช้รว่ มกับกล้องถ่ายภาพท่ีใช้ Compact disc สามารถถ่าย
ได้คร้ังละ 50 ภาพ สามารถนำ� มาดกู ับจอหรือท�ำสไลด์อีกท้ังสามารถท�ำได้
ท้ังภาพสีและภาพขาวด�ำไมต่ ้องใชห้ ้องมืดในการล้างฟลิ ์ม จวบจนปจั จุบัน
น้ีงานถ่ายภาพได้ใช้ระบบ Digital แทนการใชก้ ล้องฟิล์ม ท�ำใหส้ ะดวกต่อ
การผลิตสามารถลดเวลาและลดข้นั ตอนการผลิตและเวลาลงไปได้มาก

บทท่ี 1 5

การถ่ายภาพทางทันตกรรม

2.วัตถปุ ระสงคก์ ารเรียนรู้

1.เพ่อื ให้เขา้ ใจหลักการถ่ายภาพทางทันตกรรมข้ันพ้ืนฐาน
2.เพ่อื ให้เขา้ ใจการเลือกใชก้ ล้องและอุปกรณท์ ่ีเหมาะสม
วัตถปุ ระสงค์ในการถ่ายภาพ
1.เพ่อื ประกอบการรักษาและวินจิ ฉัยโรคทางทันตกรรม
2.เพ่ือประกอบส่อื การเรยี นการสอนทางทันตกรรม
3.เพ่ือผลิตส่ือสิ่งพมิ พ์ เผยแพรผ่ ลงานวิชาการ หรอื ผลงานการวิจัย
4.เพ่ือท�ำส่ือประชาสมั พนั ธ์เผยแพรค่ วามรูด้ ้านทันตะสาธารณสุข

บทท่ี 1

6 การถ่ายภาพทางทันตกรรม

บท ่ที 2

การถ่ายภาพทางทันตกรรม

อปุ กรณ์ทใ่ี ช้
ในการถา่ ยภาพ
ทางทันตกรรม

กอ่ นท่จี ะเรม่ิ ถา่ ยรูป เราควรรูว้ า่ ควรเลอื กใชก้ ลอ้ งใหเ้ หมาะสมกบั การ
ใช้งานตามวัตถุประสงค์ใด เพราะจะเห็นกล้องเยอะแยะมากมายหลาก
หลายแบบ เพ่อื เป็นการง่ายและสะดวกต่อการเลือกใช้ ซ่ึงกล้องท่ีใชเ้ ราใช้
ในการถ่ายภาพทางทันตกรรมจะใชเ้ ปน็ เปน็ กล้อง DSLR และอุปกรณอ์ ่ืนๆ
ท่ีต้องใช้ในการถ่ายภาพทางทันตกรรมด้วย

7

กล้องและอปุ กรณก์ ารถา่ ยภาพ


1.กล้อง DSLR

ภาพท่ี 4. ช่ือภาพ กล้องDSLR
แหล่งท่ีมา : https://s.isanook.com

กล้องถ่ายภาพ หรอื กล้องถ่ายรูป เปน็ เหมอื นกล่องทึบแสง ท�ำหนา้ ท่ี
รับแสงในปริมาณท่ีเหมาะสมเพ่ือใช้ในการสร้างภาพ กลไกและชิ้นส่วน
ต่างๆของกล้องท�ำงานสัมพันธ์กันในการท่ีจะควบคุมปริมาณแสงไปยัง
หน่วยรับภาพอย่างถูกต้องแม่นย�ำ อีกท้ังยังควบคุมความคมชัดของภาพ
ตลอดจนอ�ำนวยความสะดวกต่างๆในการบันทึกภาพ

กล้องท่ีเหมาะในการถ่ายภาพทางทันตกรรม คือ กล้องระบบ DSLR
หรือกล้องดิจิตอลสะท้อนภาพเลนส์เด่ียว เน่ืองจากมีประสิทธิภาพสูง
ท�ำใหภ้ าพคม-ชดั เหมอื นจรงิ สามารถรองรบั อุปกรณป์ ระกอบได้เปน็ อยา่ ง
ดี สามารถถอดเปล่ียนเลนส์ใหเ้ หมาะสมกับการถ่ายภาพในชอ่ งปากได้
สว่ นประกอบท่ีสำ� คัญ
1.ตัวกล้อง (Body)
2.เลนส์ (Lens)

หลักการท�ำงานของกล้อง แสงจะทะลเุ ลนส์ผา่ นรูรบั แสง ตกกระทบ
กระจกสะท้อนภาพข้ึนไปปริซึมห้าเหล่ียมแล้วสะท้อนมายังช่องมองภาพ
เวลากดปุ่มชัตเตอร์เปิด แสงจะทะลุมายังเซนเตอร์รับภาพซ่ึงท�ำหน้าท่ี
บนั ทึกภาพเพ่อื บนั ทึก ตัวอยา่ งเชน่ ภาพดังต่อไปน

8 บทท่ี 2

การถ่ายภาพทางทันตกรรม

ภาพท่ี 5. แสดงหลักการท�ำงานของกล้อง

แหล่งท่ีมา :https://www.wemall.com/.jpg

กล้องมีสว่ นต่างๆ มากมาย ต้องเรียนจากค่มู ือของแต่ละรุน่ ใหเ้ ขา้ ใจใน
รูปภาพเป็นตัวอยา่ งแสดงใหเ้ ห็นสว่ นต่างๆ ท่ีจ�ำเป็น

ภาพท่ี 6. ภาพสว่ นประกอบของกล้องด้านบน
แหล่งท่ีมา :อาจารย์ ชยั วุฒิ ฆารสนิ ธุ์

ภาพท่ี 7. ภาพสว่ นประกอบของกล้องด้านหลัง 9
แหล่งท่ีมา :อาจารย์ ชัยวุฒิ ฆารสนิ ธุ์

บทท่ี 2

การถ่ายภาพทางทันตกรรม

2.เลนสถ์ ่ายภาพ (lens)

หน้าท่ีหลักของเลนส์ คือ การท�ำหน้าท่ีรวมแสงน้ันไปปรากฏชัดเจน
ลงบนฟิล์มหรือเซนเซอร์รับภาพ ระยะจากเลนส์ถึงฟิล์มหรือเซนเซอร์รับ
ภาพ เรียกว่าทางยาวโฟกัส focal length ค่าทางยาวโฟกัสของเลนส์แต่ละ
ตัวจะบอกไว้ท่ีขอบวงแหวนเลนส์ด้านหน้า เช่น F = 50 หรือ 100 mm
เปน็ ต้น เลนส์ท�ำหน้าท่ีส�ำคัญ คือ

- ให้แสงท่ีมีปริมาณมากพอ ส�ำหรับการบันทึกผ่านไปตกลงบน
ฟิล์มหรือเซนเซอรร์ ับภาพ

- ปรับความชัดหรอื โฟกัสรังสีของแสงใหไ้ ด้ภาพท่ีคมชดั

ชนดิ ของเลนส์
เลนสแ์ ต่ละแบบมคี ณุ สมบตั ิพเิ ศษในตัวท่ีใหค้ ณุ สามารถใชป้ ระโยชน์
สำ� หรบั ฉาก และสถานการณ์การถ่ายภาพท่ีแตกต่างกัน ไม่ว่าจะเป็นภาพ
ทวิ ทัศนก์ ว้างใหญส่ ดุ ลกู ลกู ตาท่ชี วนใหอ้ ้าปากคา้ ง ภาพกหุ ลาบในระยะใกล้
ท่ีดลู ึกลับ การเคล่ือนไหวและพลังของกีฬาแขง่ รถ และอีกมากมาย เลนส์
แบบถอดเปล่ียนได้ก็ช่วยให้คุณถ่ายทอดอารมณ์ภาพได้อย่างหลากหลาย
ในแบบท่ีสมารท์ โฟนไมอ่ าจท�ำได้ ซ่งึ ชนดิ ของเลนสแ์ บง่ ออกเปน็ หลายชนดิ
ซ่ึงจะขอน�ำเสนอเลนส์ 6 อันหลักๆ ดังน้ี

1.เลนส์มาตราฐาน (Standard Lens)

ภาพท่ี 8. เลนสก์ ล้อง DSLR
แหล่งท่ีมา :https://lh3.googleusercontent.com


มที างยาวโฟกัส 50-55 มม คือเลนสท์ ่ีมคี วามยาวโฟกัสในระยะปกติ
ใหภ้ าพถา่ ยทม่ี รี ะยะใกลเ้ คยี งกบั การมองดว้ ยตาของมนาย์ จงึ เหมาะสำ� หรบั
ใชใ้ นการถ่ายภาพท่ัวไป เชน่ ภาพกิจกรรมต่างๆ ทิวทัศน์ ตึก คาร สถานท่ี
ภาพกล่มุ บุคคลท่ัวไป เปน็ ต้น

10 บทท่ี 2

การถ่ายภาพทางทันตกรรม

ภาพท่ี 9. ภาพท่ีได้จากการใชเ้ ลนสม์ าตรฐาน
แหล่งท่ีมา :https://www.dozzdiy.com

ภาพท่ี 10. ภาพท่ีได้จากการใชเ้ ลนสม์ าตรฐาน
แหล่งท่ีมา :https://f.ptcdn.info



บทท่ี 2 11

การถ่ายภาพทางทันตกรรม

2.เลนส์มมุ กว้าง ( Wild – angle lens)

ภาพท่ี 11. เลนส์มมุ กว้าง
แหล่งท่ีมา :https://bestthaibuy.com

มที างยาวโฟกัส 35 มม ต่�ำกว่า เปน็ เลนสท์ ่ีมอี งศารบั ภาพได้กว่างกว่า
เลนสม์ าตรฐาน แมอ้ ยูภ่ ายในพน้ิ ท่ีจ�ำกัด วัตถภุ ายในภาพผดิ เพย้ี นบดิ เบย้ี ว
ตรงขอบภาพ เหมาะส�ำหรับการถ่ายภาพวิวทิวทัศน์ในมุมกว้าง ภาพตึก
ภาพหมคู่ นจ�ำนวนมาก ไมเ่ หมาะถ่ายภาพบุคล

ภาพท่ี 12. ภาพท่ีได้จากการใชเ้ ลนส์มมุ กว้าง
แหล่งท่ีมา :https://www.photographyobsessed.com
12 บทท่ี 2

การถ่ายภาพทางทันตกรรม

ภาพท่ี 13. ภาพท่ีได้จากการใชเ้ ลนสม์ ุมกว้าง
แหล่งท่ีมา :https://www.dooddot.com

3.เลนส์มมุ แคบ เลนส์ถ่ายไกล (Telephoto Lens)

ภาพท่ี 14. เลนส์มุมแคบหรอื เลนสเ์ ทเลโฟโต้
แหล่งท่ีมา :https://garareen.files.wordpress.com

มีทางยาวโฟกัส 70 มม. หรือมากกว่า เป็นเลนส์ท่ีดึงภาพจากระยะ
ไกล สามารถถ่ายรูปวัตถุท่ีอยู่ในระยะใกล้ให้ดูเหมืนอยู่ใกล้ เหมาะกับ
ภาพถ่ายการแขง่ ขนั กีฬา ภาพสตั ว์จากระยะไกล ภาพบุคคล หรอื ภาพจาก
การแสดงบนเวที

บทท่ี 2 13

การถ่ายภาพทางทันตกรรม

ภาพท่ี 15. ภาพท่ีได้จากเลนสม์ มุ แคบ
แหล่งท่ีมา :https://d25tv1xepz39hi.cloudfront.net

ภาพท่ี 16. ภาพท่ีได้จากเลนส์มุมแคบ
แหล่งท่ีมา :https://d25tv1xepz39hi.cloudfront.net
14 บทท่ี 2

การถ่ายภาพทางทันตกรรม

4.เลนสซ์ ูม ( Zoom lens )

ภาพท่ี 17. เลนสซ์ ูม
แหล่งท่ีมา :https://garareen.files.wordpress.com


คือเลนส์ท่ีสามารถปรับเปล่ียนความยาวโฟกัสได้ เลนส์ท่ีรวมแต่ละ
ชนิดเข้าด้วยกันคือสามารถปรับซูมภาพได้หลายช่วงในเลนส์เดียว เช่น
35—135 มม. หรอื 70-200 มม. สะดวกในการถ่ายภาพ สามารถใชใ้ ห้หมา
ะกบั ลกั ษณะและชนดิ ของภาพ เชน่ ภาพ สตั ว์ กฬี า ภาพท่ัวไป แลว้ แตค่ วาม
ยาวโฟกัส

ภาพท่ี 18. ภาพท่ีได้จากเลนส์ซูม 15
แหล่งท่ีมา :https://files.vogue.co.th.

บทท่ี 2

การถ่ายภาพทางทันตกรรม

ภาพท่ี 19. ภาพท่ีได้จากเลนสซ์ ูม

แหล่งท่ีมา https://static.posttoday.com
5.เลนส์ตาปลา ( Fish eye lens)

ภาพท่ี 20. เลนสต์ าปลา
แหล่งท่ีมา :https://camerastips.com

เลนสท์ ่ีมีมมุ การรับภาพกว้างถึง 180 องศา ท�ำใหส้ ามารถรบั ภาพได้
เหมือนกับการมองเห็นของปลาท่ีแหวกว่ายอยู่ในน้�ำ เลนส์ตาปลาก็มีข้อ
ดอ้ ยตรงทจ่ี ะทำ� ใหซ้ บั เจคทอ่ี ยใู่ กลเ้ ลนสป์ ระเภทนเ้ี กดิ อาการโคง้ ปลอ่ ง และ

16 บทท่ี 2

การถ่ายภาพทางทันตกรรม

เม่ือกดกล้องลงหรือเงยกล้องข้ึนเส้นในแนวนอนก็จะโค้งปล่องเช่นกัน นัก
ถ่ายภาพจึงใช้ผลของภาพท่ีเกิดจากเลนส์ตาปลา หรือ Fisheye น้ีใน
สรา้ งสรรค์ภาพ เพ่อื ใหไ้ ด้ผลงานท่ีแปลกแตกต่างจากท่ีเคยพบเหน็ ทั่วๆไป

ภาพท่ี 21. ภาพท่ีได้จากเลนสต์ าปลา
แหล่งท่ีมา :https://cb.lnwfile.com

ภาพท่ี 22. ภาพท่ีได้จากเลนส์ตาปลา 17

แหล่งท่ีมา https://www.kamlangniyom.com

บทท่ี 2

การถ่ายภาพทางทันตกรรม

6.เลนส์ถ่ายภาพวัตถเุ ล็กๆ ( Macro Lens หรอื Micro lens)

ภาพท่ี 23. เลนสม์ าโคร
แหล่งท่ีมา :https://camerastips.com

เปน็ เลนสท์ ่ีออกแบบมาเพ่อื ถ่ายภาพขนาดเล็กโดยเฉพาะ เชน่ แมลง
หรอื เกสรดอกไม้ อกี ท้งั ยงั เปน็ เลนสท์ ่เี หมาะกบั การถา่ ยภาพทางทนั ตกรรม
เป็นพิเศษ เพราะมีขนาดความยาวโฟกัสท่ีเหมาะสม 85, 100, 105 มม.
และให้ภาพท่ีคมชัดมากเห็นรายละเอียดชัดเจน มีความผิดเพ้ียนเล็กน้อย
และมคี วามยาวโฟกัสคงท่ี

ภาพท่ี 24. ภาพท่ีได้จากเลนส์มาโคร
แหล่งท่ีมา :https://d25tv1xepz39hi.cloudfront.net
18 บทท่ี 2

การถ่ายภาพทางทันตกรรม

ภาพท่ี 25. ภาพท่ีได้จากเลนส์มาโคร
แหล่งท่ีมา :https://f.ptcdn.info

3.แฟลช (FLASH)

แฟลชถ่ายภาพ คือ แหล่งก�ำเนิดส่งสว่างไปยังวัตถุ เพ่ือให้ได้
ภาพท่ีสว่างชัดเจนท่ัวถึง สีไม่เพ้ียน การถ่ายภาพทางทันตกรรมจึงจ�ำเป็น
ต้องใช้แฟลชชนิดพิเศษ คือ แฟลชวงแหวน (Ring flash) ถ้าเป็นแฟลช
ธรรมดาท่ัวไปแสงจะสอ่ งสว่างเข้าไมถ่ ึงด้านใน โดยปกติเราจะแบง่ แฟลช
ท่ีใช้กันประจ�ำออกเปน็ 2 ประเภท น้ันคือ

3.1 แฟลชวงแหวน (Ring flash)
เปน็ flash คลา้ ยวงแหวนหรอื วงกลม สามารถสวมเขา้ ทเ่ี ลนสถ์ า่ ยภาพ
ได้ และมแี หล่งพลังงานแบตเตอร่ีเช่อื มกับตัวกล้อง จะท�ำงานพร้อมกันกับ
การกดชัตเตอร์ แฟลชวงแหวนบางชนิดฝังติดมากับตัวเลนส์ท�ำให้สะดวก
ปรบั แสงไดอ้ ตั โนมตั ิ ภาพมคี วามคมชดั สวา่ งพอดี แตข่ อ้ เสยี คอื บางรุน่ หนกั
เกินไปและมีข้อจ�ำกัด เหมาะกับการถ่ายภาพทางการแพทย์เท่าน้ันไม่
สะดวกในการนำ� ไปถ่ายภาพท่ัวไป

บทท่ี 2 19

การถ่ายภาพทางทันตกรรม

ภาพท่ี 26. อุปกรณ์รงิ แฟลช
แหล่งท่ีมา :https://importacionesarturia.com

ข้อดี ของการท่ีแสงออกเปน็ วงกลมรอบเลนสจ์ ะท�ำให้ลบเงาท้ังหมด
ท่ีเกิดได้แนน่ อน

ขอ้ จ�ำกัด คือ ภาพท่ีได้จะดไู มม่ เี หล่ียมมมุ ท�ำใหด้ ขู าดมติ ิไป ไมเ่ หมาะ
กับการถ่าย esthetic

ปกติมักใชใ้ นการถ่ายฟันหลัง
3.2 Twin flash หรือ Dual Flash

ภาพท่ี 27. อุปกรณ์ twin flash
แหล่งท่ีมา :https://images-na.ssl-images-amazon.com
20 บทท่ี 2

การถ่ายภาพทางทันตกรรม

เป็นแฟลชท่ีมี 2 ข้าง สามารถปรับทิศทางการวางตัวของแสงได้
นอกจากน้ยี งั สามารถถอดแยกช้นิ ออกมาจากหนา้ เลนส์ได้

ขอ้ ดี คือ สามารถถ่ายได้หลากหลายรูปแบบ ภาพมมี ติ ิท่ีสวยงาม หาก
ใชค้ ู่กับ Bracket และ Pocket Bouncer ยิ่งท�ำใหเ้ กิดภาพท่ีมีมติ ิ สวยงาม

ขอ้ จ�ำกัด คือ ยุง่ ยากมาก ต้องปรบั ตลอดเวลา ถ่ายฟนั หนา้ กับฟนั หลัง
ใชแ้ ฟลชวางตัวกันคนละต�ำแหนง่ คนท่ีใชต้ ้องมีประสบการณ์ และใชเ้ วลา
ถ่ายนาน

โดยสว่ นตัวเลยพกกล้อง 2 ตัว ตัวหน่ึงถ่ายฟนั หนา้ อีกตัวถ่ายฟันหลัง

4. อุปกรณ์แยกแก้มและริมฝีปาก

ภาพท่ี 28. อุปกรณแ์ ยกแก้มและริมฝีปาก
แหล่งท่ีมา : https://lh3.googleusercontent.com

การถ่ายภาพในชอ่ งปากควรใสท่ ่ีแยกแก้ม และฝีปากเพ่ือแยก
แก้มรมิ ฝปี ากไมใ่ หบ้ ดบงั ฟนั และทำ� ใหแ้ สงสอ่ งถึงฟนั ได้ไมม่ เี งามดื มหี ลาย
แบบใหเ้ ลือกใชต้ ามความเหมาะสม บางชนดิ มชี น้ิ เดียว บางชนดิ เป็น 2 ช้นิ
ช้นิ เดียวจะมแี รงดันแยกแก้มออกเอง แต่ชนดิ แยกชิ้นต้องใช้มอื จับดู บาง
ชนิดเป็นโลหะ บางชนิดเป็นพลาสติก และมีหลากหลายรูปแบบ ให้ผู้ใช้
เลือกใชต้ ามความเหมาะสม



บทท่ี 2 21

การถ่ายภาพทางทันตกรรม

5. กระจกถ่ายภาพในชอ่ งปาก (mirror )
กระจกถา่ ยภาพในชอ่ งปาก เปน็ กระจกสำ� หรบั ใสเ่ ขา้ ในชอ่ งปาก
เพ่อื ถ่ายภาพในท่ีไมส่ ามารถมองเหน็ หรอื อาจอยูล่ ึกเกินไปหรอื มมุ กล้องไม่
สามารถท่ีจะเหน็ รายละเอียดได้ จะท�ำการถ่ายภาพสะท้อนจากกระจกโดย
ไมจ่ �ำเปน็ ต้องถ่ายภาพจากฟนั จรงิ

ภาพท่ี 29. กระจกถ่ายภาพในชอ่ งปาก
แหล่งท่ีมา :https://imgaz3.staticbg.com

กระจกสองถ่ายภาพมหี ลายขนาดหลายแบบมที ้งั เปน็ กระจกจรงิ และ
สแตนเลส ท้ังแบบมดี ้ามจับและไมม่ ดี ้าม แตล่ ะยห่ี อ้ จะออกแบบรูปลักษณะ
แตกต่างกัน โดยมาตรฐานแล้วจะออกแบบมาคล้ายๆกัน และเพ่ือใช้ถ่าย
ภาพเฉพาะฟนั ด้านน้ันๆ



22 บทท่ี 2

การถ่ายภาพทางทันตกรรม

ตัวอยา่ งกระจกสำ� หรับถ่ายภาพฟนั ด้านบดเค้ียวบนและล่าง

ภาพท่ี 30. ลักษณะกระจกรูปทรงกว้างโค้งเว้าใหเ้ ขา้ กับสรีระปาก มีท้ังส�ำหรับ
เด็กและผ้ใู หญ่

แหล่งท่ีมา :อาจารย์ ชยั วุฒิ ฆารสินธุ์

ตัวอยา่ งกระจกสำ� หรบั ถ่ายฟนั ด้านแก้มและลิ้น

ภาพท่ี 31. ลักษณะกระจกเรยี วยาวปลายด้านหน่ึงจะเรยี วเล็กลง
แหล่งท่ีมา :อาจารย์ ชยั วุฒิ ฆารสินธุ์

บทท่ี 2 23

การถ่ายภาพทางทันตกรรม

บทท่ี 3

การถ่ายภาพทางทันตกรรม

การต้ังค่ากลอ้ งและ
องค์ประกอบส�ำคัญ

ในการถ่ายภาพ

ก่อนท่ีเราจะเรมิ่ ถ่ายภาพ เราจะต้องรูอ้ งค์ประกอบสำ� คัญในการถ่าย
ภาพก่อน ซ่ึงองค์ประกอบท่ีว่าน้ี คือ การถ่ายภาพแบบโหมด manual และ
การท่ีจะถ่ายโหมดน้ีได้ต้องเข้าใจการปรบั ค่ากล้อง เชน่ รูรบั แสง ความไว
ชตั เตอร์ และความไวแสงฟิล์มหรอื เซ็นเซอรร์ ับภาพ ซ่ึงค่าต่างๆเหล่าน้จี ะ
สามารถปรบั ใหภ้ าพออกมาตามท่ีเราต้องการ

24

การตงั้ ค่ากล้องส�ำหรับการ
ถา่ ยภาพโหมด manual

การถ่ายภาพพ้ืนฐานส่งิ ส�ำคัญท่ีต้องท�ำความเข้าใจคือการวัดแสงซ่งึ
มีสว่ นประกอบท่ีส�ำคัญดังน้ี


1. ความไวชตั เตอร์ (shutter speed)

ภาพท่ี 32. แสดงค่าความไวชัตเตอร์บนหน้าจอกล้อง

แหล่งท่ีมา :อาจารย์ ชัยวุฒิ ฆารสินธุ์


คือความไวชตั เตอรเ์ ปน็ การกำ� หนดคา่ เพ่อื ควบคมุ ใหม้ นั ชตั เตอรเ์ ปดิ -
ปิดรับแสงเพ่ือให้แสงตกกระทบฟิล์มหรือเซ็นเซอร์รับภาพเวลากดปุ่ม
ชัตเตอร์ ค่าความไวชัตเตอร์ท่ีใช้กับแฟลช ก็จะถูกก�ำหนดไว้ ส่วนใหญ่จะ
กำ� หนดไวป้ ระมาณ1/200หรอื 1/250 แลว้ แตย่ ห่ี อ้ หรอื รุน่ การต้งั คา่ นจ้ี ะตอ้ ง
ใช้ในโหมดM (manual) ค่าความไวชัตเตอรเ์ ป็นเศษสว่ นวินาทีเชน่ 1/20p
หมายถึง ความไวของมา่ นชัตเตอรเ์ ปดิ รบั แสง 200 ใน 1 วินาทีซ่งึ เรว็ มาก
คล้ายการกระพริบตาค่าน้อยชัตเตอร์สปีดจะช้าแต่แสงจะมาก ค่ามากชัต
เตอรส์ ปีดจะเร็วแต่แสงจะนอ้ ย ในการถ่ายภาพทางทันตกรรมสว่ นใหญจ่ ะ
ใช้แฟลชเป็นแหล่งก�ำเนดิ แสงสอ่ งไปยังวัตถุ

บทท่ี 3 25

การถ่ายภาพทางทันตกรรม

ภาพท่ี 33. ภาพแสดงผลของการต้ังค่าความไวชัดเตอรจ์ ากมากไปนอ้ ย
แหล่งท่ีมา :https://cameraharmony.com

ความไวชตั เตอรต์ ่�ำมากอาจท�ำใหก้ ล้องไหว ภาพไมค่ มชดั ดังน้นั ต้อง
จับกล้องใหน้ ง่ิ และกดชตั เตอรใ์ หน้ ่งิ ถ้าต่�ำมากอาจต้องใชข้ าต้ังกล้องติดไว้
ให้แน่น ชัตเตอร์ต่�ำคือค่าตัวเลขน้อย เช่น 1/30 ,1/15 หรือน้อยกว่าไป
เร่อื ยๆ ซ่งึ การต้ังค่าชตั เตอรส์ ปดี ข้นึ อยูก่ ับการวัดแสงของกล้องว่าแสงมาก
นอ้ ยเพียงใดซ่ึงจะสมั พนั ธก์ ับค่ารูรบั แสง ( F number )

2. รูรับแสง aperture F-number

ภาพท่ี 34. แสดงผลค่ารูรบั แสงบนหนา้ จอกล้อง
แหล่งท่ีมา :https://d25tv1xepz39hi.cloudfront.net

ชอ่ งรบั แสงกับความเรว็ ชตั เตอร์ จะชว่ ยใหเ้ กิดความลึกต้ืนของภาพ อีก
ท้ังยงั สัมพนั ธก์ ับการวัดแสงของกล้องท่ีจะท�ำให้ภาพสว่างข้ึนอีกด้วย

26 บทท่ี 3

การถ่ายภาพทางทันตกรรม

ภาพท่ี 35. ภาพแสดงผลของการต้ังค่ารูรบั แสงจากนอ้ ยไปมาก
แหล่งท่ีมา :https://sundayz.me/wp-content

Fนอ้ ย ความสว่างนอ้ ยแต่ได้ภาพท่ีมคี วามชดั ในบรเิ วณท่ีต้องการโฟกัส
Fมาก ความสว่างจะมากแต่ภาพท่ีได้จะชดั ท้ังภาพ

ท้ังน้ีเราควรต้ังค่าให้สมดลุ กันกับค่าวัดแสงและค่าความไวแสงด้วย
3. ความไวแสง (ISO)

ภาพท่ี 36. แสดงผลค่าความไวแสงงบนหน้าจอกล้อง
แหล่งท่ีมา :https://4.bp.blogspot.com

ในการถา่ ยภาพทางทนั ตกรรม คา่ ความไวแสงทเ่ี หมาะคอื ชว่ ง 100 - 200
หรอื ถา้ จำ� เปน็ ไมค่ วรเกนิ 400 เพ่อื ใหไ้ ดภ้ าพทม่ี คี ณุ ภาพ ภาพบางภาพอาจม
องไมเ่ หน็ จุดรบกวน (noise) แต่เม่อื นำ� ภาพขยายใหใ้ หญข่ ้นึ จะเห็นชัดเจน
ซ่ึงท�ำให้ภาพด้อยคณุ ค่าลงไป

สรุปแล้วค่าต่างๆท่ีกล่าวมาล้วนมีความสัมพันธ์กัน เราจึงต้องฝึกฝน
ทดลอง แลเรียนรูด้ ้วยตัวเองประกอบด้วย

บทท่ี 3 27

การถ่ายภาพทางทันตกรรม

ภาพท่ี 37. ภาพแสดงผลของการปรบั ค่ารูรบั แสง ค่าความเร็วชัตเตอร์ และค่า
ความไวแสงท่ีแตกต่างกัน และให้ผลลัพธ์ท่ีแตกต่างกัน
แหล่งท่ีมา :https://www.beartai.com

เทคนคิ ตา่ งๆในการใชก้ ลอ้ งและ
ถ่ายภาพส�ำหรบั ทางทนั ตกรรม


1. ค่าความไวแสงiso

ภาพท่ี 38. แสดงการปรยี บเทียบของค่าisoท่ีต่างกัน
แหล่งท่ีมา :https://lh3.googleusercontent.com

ควรใช้100- 200 ภาพจะได้ไมม่ nี oiseหรอื gran ไมม่ ีรบกวน มีความคม
ชัด ขยายภาพใหญห่ รือสง่ ตีพมิ พไ์ ด้

28 บทท่ี 3

การถ่ายภาพทางทันตกรรม

2. shutter speed

ความเร็วชัตเท่ีตอร์ควร
ใชอ้ ยูท่ ่ี 1\125,1\250ตามท่ี
กล้องใช้กับแฟลช เพราะ
การใช้แฟลชจะท�ำให้รู ป
สวา่ งกวา่ เดิม จึงต้องปรบั คา่
กล้องในสัมพันธ์ตามความ
สว่างแฟลชไปด้วย

ภาพท่ี 39. แสดงการเปรยี บเทียบความต่างองค่าshutter speed ท่ีต่างกัน
แหล่งท่ีมา :https://www.rei.com


3. ค่ารูรับแสง aperture F number ถ้าใชแ้ คบภาพจะคมชดั
ในชอ่ งปากควรใช้ f 16-22
ถ่าย close up f 22-32
นอกชอ่ งปากหรือใบหน้า f5.6
หรอื ลองทดสอบถ่ายภาพก่อนเม่อื ได้ค่าท่ีเหมาะสมก็บนั ทึกไว้
แฟลชจะค�ำนวณแสงแฟลชอัตโนมตั ิ
ในการถา่ ยภาพฟนั เราตอ้ งการฟนั ท่คี มชดทกุ ซส่ี ว่ นมากจงึ ตอ้ ง
ใช้ f มากกว่า16 ข้ึนไป

4. WB flash white balance อุณหภมู สิ ี ควรปรับค่าอุณหภูมิสี
แฟลช5500k

ภาพท่ี 40. แสดงหน้าจอการต้ังค่า white balance 29

บทท่ี 3

การถ่ายภาพทางทันตกรรม

5. ปรับการโฟกัส
แบบ auto focus AF-S ปรบั ความชัดอัตโนมัติ
แบบ manual ปรับความชดั เอง

ภาพท่ี 41. แสดงตัวเลือกในการชว่ ยปรบั ความชัดอัตโนมัติ
แหล่งท่ีมา :https://icdn8.digitaltrends.com


6. ชนิดไฟล์บันทึกภาพ jpeg normal โหมดภาพเปน็ sRGB
การท่ีบันทึกเป็นJPEGเพราะไม่ได้ต้องการน�ำไปดึงแสงหรือตัดแต่ง
รูปภาพมากเพราะเราต้องการความเสมือนจริงท่ีสุด แต่ถ้าหากต้องการน�ำ
ภาพไปแต่งแบบจัดเต็มสามารถต้ังไฟล์ภาพเปน็ นามสกุล raw ได้

ภาพท่ี 42. แสดงการเปรยี บเทียบระหว่างการบนั ทึกไฟล์ภาพระหว่างJPEGกับ
RAW

แหล่งท่ีมา :https://knowtechie.com
บทท่ี 3

30 ก า ร ถ ่ า ย ภ า พ ท า ง ท ั น ต ก ร ร ม

บท ่ที 4

การถ่ายภาพทางทันตกรรม

กายวภิ าคฟันพน้ื
ฐานในการถา่ ยภาพ

ทางทันตกรรม

นอกจากความรู้เร่ืองการต้ังค่ากล้องและองค์ประกอบส�ำคัญของการ
ถ่ายภาพ ผถู้ ่ายภาพควรทราบในเร่อื งของกายวิภาคฟนั พ้นื ฐานหรอื ช่อื ฟนั
แต่ละซ่ี เพ่อื ใหท้ ราบต�ำแหนง่ ท่ีต้ัง ว่าควรถ่ายแบบไหน มมุ ไหนถึงจะเหมาะ
จะได้ภาพท่ีออกมาตามความต้องการของทันตแพทย์ ซ่งึ การเรยี กช่อื ฟนั ท่ี
จะน�ำมาน�ำเสนอมีการเรียกช่อื ฟนั แบบพ้ืนฐาน

31

ระบบการเรยี กชอ่ื ฟันและระบบบด
เคีย้ วในชอ่ งปาก

คนเรามีฟันอยูส่ องชุด คือชุดฟนั น้ำ� นม( Deciduous teeth) และชุด
ฟนั แท้(Permanent teeth) ฟนั แตล่ ะชุดก็มสี มาชกิ ของชุดฟนั ไมเ่ ทา่ กัน ชุด
ฟันแท้ประกอบด้วยฟันท้ังหมด 32 ซ่ี สว่ นฟันน้�ำนม ประกอบด้วยฟัน
ท้ังหมด 20 ซ่ี แต่ระยะเวลาท่ีฟันปรากฏอยูใ่ นชอ่ งปากแบง่ ออกเปน็ 3
ระยะครา่ ว ๆ ดังน้ี

1.ระยะชุดฟนั น้�ำนม (Deciduous dentition)

ภาพท่ี 43. ฟันเด็ก
แหล่งท่ีมา :https://www.bloggang.com

ต้ังแต่อายุประมาณ 6 เดือนถึง 6 ปี หรือต้ังแต่ฟนั น้�ำนมซ่แี รกข้นึ ในชอ่ ง
ปากถึงชว่ งก่อนท่ีฟันแท้ซ่ีแรกจะปรากฏในชอ่ งปาก

2.ระยะชุดฟนั ผสม (Mixed dentition)
ต้ังแต่อายุประมาณ 6 ปี ถึง 12 ปี เรม่ิ จากท่ีฟนั แท้เริม่ ปรากฏในชอ่ ง
ปากปะปนกับฟันน้�ำนม จนกระท้ังฟันน้ำ� นมซ่ีสดุ ท้ายหลุด

32 บทท่ี 4

การถ่ายภาพทางทันตกรรม

3.ระยะชุดฟนั แท้ (Permanent dentition)
เรมิ่ หลังจากท่ีฟนั น้ำ� นมหลดุ หมดทกุ ซ่ี หรอื ต้ังแต่อายุประมาณ 12 ปี
เป็นต้นไป ฟนั น้ำ� นมประกอบด้วยฟันประเภทต่าง ๆ ดังน้ี ฟันตัด ฟันเข้ยี ว

ภาพท่ี 44. ฟันแท้
แหล่งท่ีมา :https://pbs.twimg.com

และฟนั กราม สว่ นฟนั แท้ ประกอบด้วยฟนั ประเภทต่าง ๆ ดังน้ี ฟนั ตัด
ฟันเข้ียว ฟนั กรามนอ้ ย และฟนั กราม นอกจากน้ี ฟนั ยงั ต้ังอยูใ่ นแต่ละขา
กรรไกร จ�ำนวนเท่า ๆ กัน และแบง่ ออกเป็นสองข้างซ้ายขวาขา้ งละเท่า ๆ
กนั ดงั นน้ั การเรยี กช่อื ฟนั แตล่ ะซจ่ี งึ จ�ำเปน็ ตอ้ งประกอบดว้ ยสว่ นตา่ ง ๆ ดงั น้ี
คอื ชุดฟนั ขากรรไกรท่ฟี นั อยูข่ า้ งซา้ ยหรอื ขวา ประเภทของฟนั และถา้ หาก
มีหลายซ่ใี นประเภทเดียวกันก็ต้องระบุซ่ดี ้วย

บทท่ี 4 33

การถ่ายภาพทางทันตกรรม

ชุดฟนั น้ำ� นมประกอบด้วย

ภาพท่ี 45. การเรยี กช่อื ฟันน้�ำนมแต่ละซ่ี
แหล่งท่ีมา :https://www.hisopartyofficial.com

1. ฟนั ตัดน้ำ� นมซ่ีกลาง(Central incisor)
2. ฟนั ตัดน้�ำนมซ่ีขา้ ง(Lateral incisor)
3. ฟนั เข้ียวน้ำ� นม(Canine)
4. ฟนั กรามน้�ำนมซ่แี รก(First molar)
5. ฟันกรามน้�ำนมซ่ที ่ีสอง(Second molar )
ชุดฟนั แท้ประกอบด้วย
1. ฟนั ตัดแท้ซ่กี ลาง(Central incisor)
2. ฟันตัดแท้ซ่ีข้าง(Lateral incisor)
3. ฟันเข้ียวแท้(Canine)
4. ฟันกรามนอ้ ยแท้ซ่แี รก(First premolar)
5. ฟันกรามน้อยแท้ซ่ที ่ีสอง(Second premolar)
6. ฟนั กรามแท้ซ่ีแรก(First molar)
7. ฟันกรามแท้ซ่ีท่ีสอง(Second molar)
8. ฟนั กรามแท้ซ่ที ่ีสาม(Thrid molar)

34 บทท่ี 4

การถ่ายภาพทางทันตกรรม


Click to View FlipBook Version