The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ไอร่ เนม, 2021-08-31 11:19:29

สถานที่ท่องเที่ยวโบราณสถาน ปราสาทเขาพระวิหาร

สถานที่ท่องเที่ยวโบราณสถาน

Keywords: ปราสาทเขาพระวิหาร

มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั วิทยาลัยสงฆพุทธปัญญาศรีทวารวด.ี

สถานทีท่องเทียวโบราณสถาน

ปราสาทเขาพระวิหาร

นางสาวสุชารัตน์ สี ดานุด
นิสิ ตครุศาสตรบัณฑิต สาขาสั งคมศึกษา

ชันปที ๓

ประวตั ิความเปนมา

"ปราสาทเขาพระวิหาร" หรอื "ปราสาทพระวหิ าร" เปน โบราณสถานทม่ี ีความงดงาม โดดเดน อยูเ หนือเทือก
เขาพนมดงรกั ซง่ึ กั้นพรมแดน ระหวางประเทศไทยกบั ประเทศกัมพชู ามคี วามสูงจากระดับนํ้าทะเลปานกลาง 657
เมตร ปราสาทเขาพระวิหารเปน เสมือนเทพสถิตยบ นขุนเขาหรือ "ศรีศขิ เรศร" เปน "เพชรยอดมงกฎุ " ขององคศ วิ ะเทพ
(พระอศิ วร) ต้งั โดดเดนอยบู นยอดเทือกเขาพนมดงรัก มคี วามยาว 800 เมตร ตามแนวเหนือใต สวนใหญเปน ทางเขา
ยาวและบันไดสูงถึงยอดเขา จนถึงสว นปราสาทประธาน ซงึ่ อยูท ี่ยอดเขาทางใตสุดของปราสาท (สงู 120 เมตรจาก
ปลายตอนเหนอื สดุ ของปราสาท, 525 เมตรจากพื้นราบของกัมพูชา และ 657 เมตรจากระดบั )

ปราสาทเขาพระวิหารประกอบดวยหมูเทวาลัยและปราสาทหนิ จํานวนมาก ทั้งหมดสรางข้ึนเพ่ือถวายแดพระศิวะ
ซึง่ เทวาลยั หรือปราสาทหนิ แหง แรกสรา งขึน้ เม่ือตนคริสตศ ตวรรษที่ 9 ซากปรักหักพังของเทวาลัยที่เหลอื อยู มีอายุตั้งแต
สมัยเกาะแกร ในตนครสิ ตศตวรรษท่ี 10 ครั้น และปราสาทเขาพระวหิ ารเปน สถาปต ยกรรมอนั นาทง่ึ เปนมรดกทาง
วฒั นธรรมของบรรพชนของ "ขะแมรก มั พูชา" (ขอม) แตโ บราณ ทีอ่ าศัยอยูท้งั ในกัมพูชาปจจบุ ัน และในภาคอีสานของเรา ขะ
แมรก ัมพูชา เปน ชนชาตทิ มี่ ีความสามารถย่งิ ในการสราง "ปราสาท" ดว ยหินทรายและศิลาแลง ซ่งึ ขะแมรก ัมพชู ากอ สราง
ปราสาทบนเขาพระวิหารตดิ ตอ กันมายาวหลายรชั สมัย กวา 300 ป ตง้ั แตกษตั ริย "ยโสวรมนั ที่ 1" ถงึ "สุริยวรมันที่ 1" เร่ือย
มาจน "ชยั วรมันท่ี 5-6" จนกระท่ังทา ยสดุ "สรุ ยิ วรมันที่ 2" และ "ชัยวรมันที่ 7" จากปลายครสิ ตศตวรรษที่ 9 จนถงึ กลาง
ครสิ ตศ ตวรรษท่ี 12 (หรือจากพุทธศตวรรษที่ 15 ถงึ 18 หรอื กอนสมัยสโุ ขทยั 300 ปนนั่ เอง)

ทางเขาสูปราสาทประธานน้ัน มีโคปุระ (ซมุ ประต)ู คนั่ อยู 5
ช้ัน (โคปุระช้ันท่ี 5 จึงเปนสวนท่ผี เู ขาชมจะพบเปนสว นแรก) โค
ปรุ ะแตล ะช้ันกอนถงึ ลานดา นหนา จะผานบันไดหลายข้นั โคปุระ
แตละช้นั จงึ เปล่ียนระดบั ความสงู ทลี ะชวง นอกจากนโี้ คปะรุยงั
บงั มใิ หผชู มเหน็ สว นถดั ไปของปราสาท จนกวา จะผา นทะลุ
แตละชวงไปแลว ทําใหไ มสามารถแลเห็นโครงสรางปราสาท

ทงั้ หมดจากมุมใดมุมหนึ่งได

เดิมทปี ราสาทเขาพระวหิ ารอยใู นเขตการ
ปกครองของประเทศไทย ข้นึ อยูก ับบา นภูมซิ

รอล ตาํ บลเสาธงชัย อาํ เภอกนั ทรลกั ษ
จังหวดั ศรีสะเกษ (ค.ศ.1899, ร.ศ.-118) และ

เม่ือ พ.ศ. 2442 พระเจา บรมวงศเ ธอ
พระองคเจาชมุ พลสมโภช กรมหลวงสรรพสิทธิ
ประสงค ไดเ สด็จไปยงั ปราสาทแหงนี้ และทรง
ขนานนามวา "ปราสาทพรหมวิหาร" ซ่ึงตอมา

เรยี กกนั ท่วั ไปวา "ปราสาทพระวิหาร" ซึง่
พระองคไ ดจ ารึก ร.ศ. และพระนามไวท ่บี ริเวณ

ชะงอนผาเปย ตาดีวา 118 สรรพสิทธิ

ตอมาเม่อื ป 2450 จกั รวรรดินยิ ม
ฝร่งั เศส (ปกครองเขมรขณะนนั้ ) อาศยั
แสนยานภุ าพทางทหารบบี ใหร ฐั บาลสยาม
(ไทย) ยอมเขยี นแผนทก่ี าํ หนดใหเ ขาพระวหิ าร
อยูในดนิ แดนของกัมพูชา ในการทําสนธิ
สัญญาเพ่ิมเติม รัฐบาลสยามกย็ อมรับแผนที่ที่
ฝร่งั เศษสรางขึน้ มาแตโ ดยดโี ดยมิไดทักทว ง
(ซงึ่ แตเ ดมิ ถาแบงตามสันปน นํ้าเทอื กเขาพนมดง
รัก เขาพระวหิ ารจะอยใู นฝง ไทยแตพอแบง ตาม
แผนทใี่ หมข องป 1907จะอยูในฝง กัมพูชา) อาจ
จะเปน เพราะฝรั่งเศสเปน มหาอํานาจอยูใ นขณะ
น้ัน และคนไทยก็ยงั สามารถเขาไปยงั ปราสาท

เขาพระวหิ ารไดโดยงาย

ขอ้ มูลทเี กยี วขอ้ ง

จากกรงุ เทพฯ ไปตามทางหลวงหมายเลข 1 (ถนนพหลโยธิน) ถงึ จงั หวดั สระบรุ ี เลี้ยวขวาตามทางหลวงหมายเลข
2 (ถนนมติ รภาพ) กอ นถึงอําเภอสคี ้ิว เล้ียวขวาไปตามทางหลวงหมายเลข 24 ผานอําเภอโชคชยั อาํ เภอประโคนชยั
และอําเภอสงั ขะ ถึงสีแ่ ยกตดั กบั ทางหลวงหมายเลข221 เล้ยี วขวาเขาสอู าํ เภอกันทรลกั ษ และผานตอไปยงั ท่ที ําการ
อทุ ยานแหง ชาติ รวมระยะทางประมาณ 550 กิโลเมตร

จากจังหวดั ศรีสะเกษ ใชทางหลวงหมายเลข 221 ผา นอําเภอพยหุ  อําเภอศรรี ตั นะ และอาํ เภอกันทรลักษ ระยะทาง
ประมาณ 62 กโิ ลเมตร และจากอาํ เภอกนั ทรลกั ษเ ขาสูที่ทําการอุทยานแหง ชาติ ระยะทางอกี ประมาณ 25 กิโลเมตร
รวมระยะทางจากจงั หวัดศรสี ะเกษ ถงึ ท่ที ําการอุทยานแหงชาตปิ ระมาณ 87 กิโลเมตร

จากจังหวดั อุบลราชธานี ใชเสนทางหลวงหมายเลข 24 ผานอาํ เภอวารนิ ชาํ ราบ แลวใชท างหลวงหมายเลข 2178
ผานอาํ เภอสําโรง อําเภอโนนคูณ อําเภอเบญจลกั ษ แลว ใชท างหลวงหมายเลข 2085 เพอื่ เขาสอู าํ เภอกันทรลกั ษ จาก
น้นั จึงเดินทางเขา สูอุทยานแหง ชาติ ตามทางหลวงหมายเลข 221 ตามลาํ ดบั รวมระยะทางจากจงั หวดั อุบลราชธานี
ถึงทที่ าํ การอุทยานแหงชาติประมาณ 120 กโิ ลเมตร

มรี ถโดยสารประจาํ ทางทั้งรถธรรมดาและรถปรบั อากาศ สายกรุงเทพฯ - ศรสี ะเกษ และกรงุ เทพญ -กนั ทรลกั ษ
ออกจากสถานีขนสง สายตะวันออกเฉยี งเหนือทกุ วัน ใชเ วลาเดินทางประมาณ 8 ชวั่ โมง และจากจังหวดั ศรสี ะเกษเดิน
ทางเขาสพู ้ืนท่อี ทุ ยานแหง ชาติตามทางหลวงหมายเลข 221 ตอ ไป

ภาพผนวก


Click to View FlipBook Version