The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

อินเทอร์เน็ตในงานธุรกิจ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ซา' ลันน, 2023-01-30 07:07:37

อินเทอร์เน็ตในงานธุรกิจ

อินเทอร์เน็ตในงานธุรกิจ

ได้ผ่านการตรวจประเมินหนังสือเรียนอาชีวะศึกษา หลักสูตรประกาศประกาศนียบัตร วิชาชีพพุทธศักราช 2562 ประจ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2564 ครั ้งที่ 1 ประกาศล าดับที่376 รหัสวิชา 20204-2101 อินเทอร์เน็ตเพื่องานธุรกิจ lnternet in business


อินเทอร์เน็ตในงานธุรกิจ รหัสวิชา 20204-2101! หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช ) พุทธศักราช 2562 ของส านักงานคณะกรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ผู้เรียบเรียง : สุริดา ทะนันท์ (๓2 ๓.๓.3) บข.บ. (คอมพิวเตอร์ธุรกิจ) พิมพ์ครั้งที่ 1 : พฤศจิกายน 2563temnetni) จ านวน : 3,000 เล่ม ผลิตและจ าหน่ายโดย : บริษัท ศูนย์หนังสือ เมืองไทย จ ากัด นางสาวปัญจนี วิทยสัมพันธ์ 101/14 หมู่บ้านมณียา 3 ซอย 10 ถนนรัตนาธิเบศร์ ต าบลไทรม้า อ าเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000 โทร. 0-2924-6316. 08-1445-0968, 08-6300-4113 โทรสาร 0-2594-3923 Website :www.muangthaibook.com Emall : [email protected] 978-616-281-767-0


ค าน า หนังสือเรียนวิชา อินเทอร์เน็ตในงานธุรกิจ รหัสวิชา 20204-2101 เล่มนี้ เรียบเรียงขึ้นเพื่อใช้ประกอบการ เรียนการสอนที่เน้นผู้เยนเป็นส าคัญ ตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) พุทธศักราช2582 ของส านักงาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ เนื้อหาของหนังสือมีด้วยกันทั้งหมด 8 หน่วยการเรียน ประกอบด้วย (1) ความรู้เบื้องดันเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต (2) หลักการท างานของอินเทอร์เน็ต (3) ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต (4) การใช้อินเทอร์เน็ตในการสืบค้นข้อมูล (5) การขายสินค้าและบริการบนอินเทอร์เน็ต (6) การประยุกต์ใช้อินเทอร์เน็ตเพื่องานธุรกิจ (7 การท าธุรกิจออนไลน์ และ (8) จรรยาบรรณและกฎหมายที่เกี่ยวกับธุรกิจออนไลน์ พร้อมทั้งแบบทดสอบหลังเรียนและใบงาน เพื่อให้ผู้เรียนให้ฝึก ทักษะในสถานการณ์ต่าง ๆ มีทักษะการคิดและแก้ปัญหา และบูรณาการกับการท างานตามสาขาอาชีพต่าง ๆ ต่อไป ทิ้ง!ผู้เรียบเรียงและฝ่ายวิชาการ ศูนย์หนังสือ เมืองไทย หวังเป็นอย่างยิ่งว่าหนังสือเรียนวิชาอินเทอร์เน็ตในงานธุรกิจ เล่มนี้ จะสามารถใช้ศึกษาให้เกิดความรู้และเกิดประโยชน์แก่ผู้เรียน ผู้สอนตลอดจนผู้สนใจศึกษาทั่วไปได้เป็นอย่างดี หากมีข้อผิดพลาดประการใด ผู้เรียบเรียงและฝ่ายวิชาการศูนย์หนังสือ เมืองไทย


หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562 ของส านักงานคณะกรรมการการอาชีพศึกษา การทรวงศึกษาธิการ รหัสวิชา 20204-2101 ชื่อวิชา อินเทอร์เน็ตเพื่องานธุรกิจ ท-ป-น 1-2-2 1. เข้าใจเกี่ยวกับหลักการของอินเทอร์เน็ต 2. เข้าใจเกี่ยวกับการขายสินค้าบนอินเทอร์เน็ต (E-commerce) 3. สามารถใช้อินเทอร์เน็ตในการสืบคันข้อมูล (Search engine) 4. สามารถประยุกต์ใช้อินเทอร์เน็ตเพื่องานธุรกิจ 5. มีเจตคติและกินิสัยที่ดีในการปฏิบัติงานคอมพิวเตอร์ด้วยความละเอียดรอบคอบ และถูกต้อง 1. แสดงความรู้เกี่ยวกับหลักการของอินเทอร์เน็ต 2. แสดงความรู้เกี่ยวกับการขายสินค้าบนอินเทอร์เน็ต (E-commerce) 3. ใช้อินเทอร์เน็ตในการสืบค้นข้อมูล(Search engine) 4. ประยุกต์ใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อธุรกิจ จุดประสงค์รายวิชา สมรรถนะรายวิชา


สารบัญ หน้า หน่วยที่1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยที่ 1……………………………………………………………………………….1 1.1 ความหมายของอินเทอร์เน็ต……………………………………………………………………………….2 1.2 ประวัติความเป็นมาของอินเทอร์เน็ต……………………………………………………………………5 1.3 ประโยชน์และการใช้งานบนอินเทอร์เน็ต……………………………………………………………..8 1.4 การให้บริการบนอินเทอร์เน็ต……………………………………………………………………………..12 1.5 ยุคของอินเทอร์เน็ต…………………………………………………………………………………………..14 แบบทดสอบหลังเรียนหน่วยที่ 1……………………………………………………………………………….16 ใบงานที่ 1 ความหมายและที่มาของอินเทอร์เน็ต………………………………………………………..18 หน่วยที่ 2 หลักการท างานของอินเทอร์เน็ต แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยที่ 2……………………………………………………………………………….. 2.1 หลักการท างานของระบบอินเทอร์เน็ต…………………………………………………………………. 2.2 เทคโนโลยีที่ใช้ในการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต……………………………………………………………. 2.3 ประเภทของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแบบทดสอบหลังเรียนหน่วยที่ 2…………………….. ใบงานที่ 2 เทคโนโลยีการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต…………………………………………………….


หน่วยที่ 3 ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยที่ 3………………………………………………………………………………35 3.1 ความหมายและความส าคัญของระบบเครือข่าย……………………………………………………36 3.2 ประเภทของระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต……………………………………………………………..39 3.3 รูปแบบการเชื่อมต่อของระบบเครือข่าย LAN Topology……………………………………..40 3.4 อุปกรณ์ที่ใช้ในระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต………………………………………………………….41 3.5 ระบบเครือข่ายไร้สาย……………………………………………………………………………………….44 3.6 ค าศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับอินเทอร์เน็ต……………………………………………………………………..53 แบบทดสอบหลังเรียนหน่วยที่ 3………………………………………………………………………………54 ใบงานที่ 3 อุปกรณ์ที่ใช้ในระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต……………………………………………….57 ใบงานที่ 4 ประเภทของระบบเครือข่าย…………………………………………………………………...59 หน่วยที่ 4 การใช้อินเทอร์เน็ตในการสืบค้นข้อมูล 4.1 ความหมายของการสืบค้นชัยมูลสารสนเทศ……………………………………………………… 4.2 ประเภทการสืบค้นข้อมูลสารสนเทศ…………………………………………………………………. 4.3 หลักการค้นหาข้อมูล Search Engine………………………………………………………………. 4.4 ประโยชน์ของ Search Engine………………………………………………………………………… 4.5 การสืบค้นข้อมูลด้วย Google…………………………………………………………………………. แบบทดสอบหลังเรียนหน่วยที่ 4……………………………………………………………………………. ใบงานที่ 5 ความหมายรองการสืบคันข้อมูล....................................................................


หน่วยที่ 5 การขายสินค้าและบริการบนอินเทอร์เน็ต แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยที่ 5........................................................................ 5.1 ความหมายของการขายสินค้าและบริการบนอินเทอร์เน็ต……………………… 5.2 ประเภทของการชายสินค้าและบริการบนอินเทอร์เน็ต………………………….. 5.3 กระบวนการขายสินค้าและบริการบนอินเทอร์เน็ต……………………………….. 5.4 ประโยชน์และข้อจ ากัดของการขายสินค าและบริการบนอินเทอร์เน็ต…….. 5.5 สินค้าที่เหมาะกันการขายบนอินเทอร์เน็ต…………………………………………… แบบทดสอบหลังเรียนหน่วยที่ 5……………………………………………………………… ใบงานที่ 6 การชายสินค้าและบริการบนอินเทอร์เน็ต………………………………… หน่วยที่ 6 การประยุกต์ใช้อินเทอร์เน็ตเพื่องานธุรกิจ.. แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยที่ 6…………………………………………………………….. 6.1 การใช้อินเทอร์เน็ตในงานธุรกิจ………………………………………………………… 6.2 วัตถุประสงค์ของการน าอินเทอร์เน็ตมาใช้ในงานธุรกิจ………………………… 6.3 ลักษณะของธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์…………………………………………… 6.4 ประเภทของการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์…………………………………………….. 6.5 การให้บริการอินเทอร์เน็ตเพื่องานธุรกิจ……………………………………………. แบบทดสอบหลังเรียนหน่วยที่ 6…………………………………………………………….. ใบงานที่ 7 ความส าคัญของการน าอินเทอร์เน็ตมาใช้งานธุรกิจด้านต่าง ๆ…… ใบงานที่ 8 การให้บริการอินเทอร์เน็ตเพื่องานธุรกิจ………………………………….


หน่วยที่ 7 การท าธุรกิจออนไลน์ แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยที่ 7…………………………………………………… 7.1 ความหมายของธุรกิจออนไลน์………………………………………………… 7.2 ประเภทของธุรกิจออนไลน์……………………………………………………... 7.3 ปัจจัยที่มีผลต่อการเติบโตของธุรกิจออนไลน์……………………………. 7.4 การใช้โปรแกรมสร้างเว็บไซต์ในงานธุรกิจออนไลน์……………………. 7.5 ตัวอย่างเว็บไซต์ที่เกี่ยวกับธุรกิจออนไลน์…………………………………. แบบทดสอบหลังเรียนหน่วยที่ 7…………………………………………………… ใบงานที่ 9 ธุรกิจออนไลน์ที่ได้รับความนิยม…………………………………… แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยที่ 8. 8.1 จรรยาบรรณที่เกี่ยวกับธุรกิจออนไลน์……………………………………… 8.2 องค์กรที่เกี่ยวข้องกับการธุรกิจออนไลน์…………………………………… 8.3 พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์…………………….. แบบทดสอบหลังเรียนหน่วยที่ 8…………………………………………………… ใบงานที่ 10 จรรยาบรรณและกฎหมายที่เกี่ยวกับธุรกิจออนไลน์………. บรรณานุกรม………………………………………………………………………………


โครงการจัดการเรียนรู้ วิชา อินเทอร์เน็ตในงานธุรกิจ รหัสวิยา 20204-2101 สัปดาห์ที่ หน่วยการเรียน จ านวนคาบ 1 หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต 3 2 หน่วยที่ 2 หลักการท างานของอินเทอร์เน็ต 3 3-4 หน่วยที่ 3 ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต 6 5-6 หน่วยที่ 4 การใช้อินเทอร์เน็ตในการสืบค้นข้อมูล 6 7-9 หน่วยที่ 5 การขายสินค้าและบริการบนอินเทอร์เน็ต 9 10-12 หน่วยที่ 6 การประยุกต์ใช้อินเทอร์เน็ตเพื่องานธุรกิจ 9 13-15 หน่วยที่ 7 ท าธุรกิจออนไลน์ 9 16-17 หน่วยที่ 8 จรรยาบรรณและกฎหมายที่เกี่ยวกับธุรกิจออนไลน์ 6 18 วัดผลสัมฤทธิ์ปลายภาคเรียน 3 รวม 54 หมายเหตุเวลาจัดการเรียนรู้อาจเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม


หน่วยที่ 1 ความร ้ ู เบอ ื ้ งต ้ นเก ่ ียวกับอินเทอร์เน็ต


หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต 1.1 ความหมายของอินเทอร์เน็ต 1.2 ประวัติความเป็นมาของอินเทอร์เน็ต 1.3 ประโยชน์และการใช้งานบนอินเทอร์เน็ต 1.4 การให้บริการบนอินเทอร์เน็ต 1.5 ยุคของอินเทอร์เน็ต ปัจจุบันเป็นยุคของการสื่อสารไร้พรมแดน อินเทอร์เน็ตได้เข้ามามีบทบาทในชีวิตประจ าวันของผู้คนทั่วโลก อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ประโยชน์ของการใช้งานอินเทอร์เน็ตนั้นมีมากมาย ทั้งในด้านการศึกษาในวงการธุรกิจ การค้า การลงทุน ความบันเทิง การบรรเทาสาธารณภัย อินเทอร์เน็ตช่วยให้ผู้ใช้งานเข้าถึงข่าวสารข้อมูลทุกมิติ ตลอดจนการ ขอความช่วยเหลือต่าง ๆ ได้อย่างรวดเร็ว ประสานความสัมพันธ์นของผู้คนในสังคมทั่วโลกได้อย่างใกล้ชิด แสดงความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต หัวข้อเรื่อง(Topics) แนวคิดส าคัญ(Main Idea) สมรรถนะย่อย(Element of Competency)


1. บอกความหมายและความส าคัญของอินเทอร์เน็ตได้ 2. บอกประวัติความเป็นมาของอินเทอร์เน็ตได้ 3. บอกประโยชน์และการใช้งานบนอินเทอร์เน็ตได้ 4. อธิบายการให้บริการบนอินเทอร์เน็ตได้ 5. อธิบายยุคของอินเทอร์เน็ตในแต่ละยุคได้ จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม (Behavioral Objectives)


1.1 ความหมายของอินเทอร์เน็ต อินเทอร์เน็ต (Internet) หมายถึง ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่สุดของโลก โดยจะเป็นการเชื่อมต่อ เครื่องคอมพิวเตอร์หลาย ๆ เครื่องจากทั่วโลกมาเชื่อมต่อเข้าด้วยกัน ซึ่งช่วยให้ติดต่อสื่อสารเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกัน ได้ทั่วโลก ในการติดต่อกันระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ จ าเป็นระบุว่า ส่งมาจากไหน ส่งไปให้ใครซึ่งต้องมีการระบุ ชื่อ เครื่อง (คล้ายกับเลขที่บ้าน) ในอินเทอร์เน็ตใช้ข้อตกลงในการติดต่อที่เรียกว่า TCPIP (ข้อตกลงที่ท าให้คอมพิวเตอร์ ติดต่อกันได้) ซึ่งจะใช้สิ่งที่เรียกค่า"ไอพี-แอดเดรส (IP-Address)" ในการระบุชื่อเครื่องจะไม่มีเบอร์ที่ซ้ ากันได้ รูปภาพที่ 1.1 ระบบ การเชื่อมต่อของ อินเทอร์เน็ต 1.2 ประวัติความเป็นมาของอินเทอร์เน็ต อินเทอร์เน็ต มีพัฒนาการมาจากอาร์พาเน็ต (ARPAnet) เรียกสั้น ๆ ว่า อาร์พา ที่ตั้งขึ้นในปี 2512เป็น เครือข่ายคอมพิวเตอร์ของกระทรวงกลาโหม สหรัฐอเมริกา ที่ใช้ในงานวิจัยด้านทหาร (AdvancedResearch Project Agency: ARPA) เนื้อหาสาระ (Content)


ปี 2515 หลังจากทีเครือข่ายทดลองอาร์พาประสบความส าเร็จอย่างสูง และได้มีการปรับปรุงหน่วยงาน จากอาร์พามาเป็นอาร์พา (Defense Advanced Research Project Agency: DARPA) ปี 2518 อาร์พา ขึ้นตรงกับหน่วยการสื่อสารของกองทัพ (Defense Communication Agency) ปี 2526 อาร์พา ได้แบ่งออกเป็น 2 เครือข่ายด้านงานวิจัย ใช้ชื่ออาร์พาเน็ตเหมือนเดิม ส่วนเครือข่ายของ กองทัพใช้ชื่อว่า มิลเน็ต (MilitaryNetwork:MILNET) ซึ่งมีการเชื่อมต่อโดยใช้ โพรโตคอล TCPIP(Transmission Control Protocol/Internet Protocol) เป็นครั้งแรก ในปี 2528 มูลนิธิวิทยาศาสตร์แห่งชาติของอมริกา (NSF) ได้ให้เงินทุนในการสร้างศูนย์ซูเปอร์ คอมพิวเตอร์6 แห่ง และใช้ชื่อว่า NSFNET ปี 2533 อาร์พารองรับภาระที่เป็นกระดูกสันหลัง (Backbone) ของระบบไม่ได้ จึงได้ยุติอาร์พาเน็ตและ เปลี่ยนไปใช้ NSFNET และเครือข่ายขนาดมหึมา จนถึงทุกวันนี้และเรียกเครือข่ายนี้ว่า อินเทอร์เน็ตโดยเครือข่ายส่วน ใหญ่จะอยู่ในอมริกา ปัจจุบันนี้มีเครือข่ายย่อยมากถึง50,000 เครือข่ายทีเดียว และคาดว่า ภายในปี 2543 จะมีผู้ใช้ อินเทอร์เน็ตทั้งโลกประมาณ 100 ล้านคน หรือใกล้เคียงกับประชากรในโลกทั้งหมด ส าหรับประเทศไทยนั้น อินเทอร์เน็ตเริ่มมีบทบาทอย่างมากในช่วงปี 2530-2535 โดยเริ่มจากการเป็น เครือข่ายในระบบคอมพิวเตอร์ระดับมหาวิทยาลัย (CampusNetwork) แล้วจึงเชื่อมต่อเข้าสู่อินเทอร์เน็ตอย่าง สมบูรณ์เมื่อเดือนสิงหาคม 2535 และในปี 2538 ได้เปิดให้บริการอินเทอร์เน็ตในเชิงพาณิชย์ (รายแรกคือ อินเทอร์เน็ตเคเอสซี) ซึ่งขณะนั้น เวิลด์ไวด์เว็บก าลังได้รับความนิยมอย่างมากในอเมริกา อินเทอร์เน็ต เรียกกันย่อ ๆ ว่า เน็ต (Net) หรือ The Net หรือ อินเทอร์เน็ตก็คือ เว็บ (Web) และ เวิลด์ไวด์เว็บ (Word wide web) เป็นเพียงบริการหนึ่งของอินเทอร์เน็ตเท่านั้น แต่บริการนี้ ถือว่าเป็นบริการที่มีผู้ นิยมใช้มากที่สุด อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ได้เริ่มติดต่อกับอินเทอร์เน็ตในปี พ.ศ.2530 ในลักษณะการใช้บริการ จดหมายเล็กทรอนิกส์แบบ แลกเปลี่ยนถุงเมล์เป็นครั้งแรกที่มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่(Prince of Songkhla University) และสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชียหรือสถาบันเอไอที (AIT) ภายใต้โครงการความร่วมมือระหว่างประเทศไทยและ ออสเต รเลีย (โครงก าร IDP) ซึ่งเป็นก ารติดต่อเชื่อมโยงโดยสายโทรศัพท์ จนก ระทั่งปี พ ศ. 2531 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาใหญ่ ได้ยื่นขอที่อยู่อินเทอร์เน็ตในได้รับที่อยู่อินเทอร์เน็ต Sritrang.pu.th


ซึ่งนับเป็นที่อยู่อินเทอร์เน็ตแห่งแรกของประเทศ2534 บริษัท DEC (Thailand) จ ากัด ได้ขอที่อยู่อินเทอร์เน็ตเพื่อใช้ ประโยชน์ภายในที่อยู่อินเทอร์เน็ตเป็น dect.co.th โดยที่ค า "h" เป็นส่วนที่เรียกว่า โดเมน (Domain) ซึ่งเป็นแสดง โซนของเครือข่ายอินเทอร์เน็ตในประเทศไทย โดยย่อมาจากค าว่า Thailand รูปภาพที่ 1.2 แสดงการใช้งานอินเทอร์เน็ตแทนการเขียนจดหมายส่งทางไปรษณีย์ การใช้งานอินเทอร์เน็ตชนิดเต็มรูปแบบตลอด 24 ชั่วโมง ในประเทศไทยเกิดขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อเดือน กรกฎาคม ปี พ.ศ. 2535 โดยสถาบันวิทยุบริการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้เช่าวงจรสื่อสารความเร็ว9600 บิตต่อ วินาที จากการสื่อสารแห่งประเทศไทยเพื่อเชื่อมเข้าสู่อินเทอร์เน็ตที่บริษัท ยูยูเน็ตเทคโนโลยี(UUNET Technologies) ประเทศสหรัฐอเมริกา ในปีเดียวกัน ได้มีหน่วยงานที่เชื่อมต่อแบบออนไลน์กับเครือข่ายอินเทอร์เน็ตผ่านจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หลายแห่งด้วยกัน ได้แก่ สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย (AIT) มหาวิทยาลัยมหิดล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า วิทยาเขตเจ้าคุณทหารลาดกระบังมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญบริหารธุรกิจ โดยเรียกเครือข่ายนี้ ว่าเครือข่าย "ไทยเน็ต" (THAInel) ซึ่งนับเป็นเครือข่ายที่มี"เกตเวย์ " (Gateway) หรือประตูสู่เครือข่ายอินเทอร์เน็ต เป็นแห่งแรกของประเทศไทย ปัจจุบันมีผู้ใช้อินเทอร์เน็ตมากขึ้น มีอัตราการเติบโตมากกว่า 100% สมาชิกของอินเทอร์เน็ตขยายจาก อาจารย์และนิสิตนักศึกษาในระดับอุดมศึกษาไปสู่ประชาชนทั่วไป ในยุคแห่งสังคมข่าวสารเช่นปัจจุบัน การสื่อสาร ส่งผ่านอินเทอร์เน็ต เขียนจดหมาย แทนบุรุษไปรษณีย์ เขียนบนคอมพิวเตอร์แทนกระดาษ อ่านจดหมายในคอมพิวเตอร์


ผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ยิ่งทวีความส าคัญมากขึ้นเป็นล าดับ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ให้แลกเปลี่ยนข่าวสารระหว่าง กันได้โดยง่าย ในปัจจุบันมีเครือข่ายคอมพิวเตอร์เชื่อมโยงไปทั่วโลก ผู้ใช้ในซีกโลกหนึ่งสามารถติดต่อกับผู้ใช้ในซีกโลก หนึ่งได้อย่างรวดเร็ว " อินเทอร์เน็ต" (Internet) เป็นเครือข่ายที่มีบทบาทส าคัญที่สุดในยุคของสังคมข่าวสารปัจจุบันอินเทอร์เน็ตมี ชอบข่ายครอบคลุมพื้นที่แทบทุกมุมโลก สมาชิกในอินเทอร์เน็ตสามารถใช้คอมพิวเตอร์ที่ตั้งอยู่ที่จุดใด เพื่อส่งข่าวสาร และข้อมูลระหว่างกันได้ อินเทอร์เน็ตประมาณ 45,000 เครือข่ายจ านวนคอมพิวเตอร์ในทุกเครือข่ายรวมกันคาดว่ามี ประมาณ 4 ล้านเครื่อง หรือหากประมาณจ านวนผู้ใช้อินเทอร์เน็ตทั่วโลกคาดว่ามีประมาณ 25 ล้านคน และมีแนวโน้ม เพิ่มมากขึ้น การเชื่อมต่อเข้าสู่อินเทอร์เน็ตของประเทศไทยมีจุดก าเนิดมาจากเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระหว่างมหาวิทยาลัย หรือที่เรียกว่า "แคมปัสเน็ตเวิร์ก" (Campus Network) เครือข่ายดังกล่าวได้รับการสนับสนุนจาก "ศูนย์เทคโนโลยี อิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ" (NECTEC) จนกระทั่งได้เชื่อมเข้าสู่อินเทอร์เน็ตโดยสมบูรณ์ในเดือนสิงหาคม ปี พ.ศ. 2535 ประเทศไทยได้เริ่มติดต่อกับอินเทอร์เน็ตโดยใช้E-mail ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2530 โดยเริ่มที่ "มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่" เป็นแห่งแรก และสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย ภายใต้ความ ร่วมมือระหว่างไทยและออสเตรเลียในช่วงเวลาต่อมา ในขณะนั้นยังไม่ได้มีการเชื่อมต่อ แบบ On-line หากแต่เป็น การแลกเปลี่ยนข่าวสาร ด้วย E-mail โดยใช้ระบบ MSHnetและ UUCP โดยทางออสเตรเลียจะโทรศัพท์เชื่อมเข้ามา สู่ระบบวันละ 2 ครั้ง 1.3 ประโยชน์และการใช้งานบน ปัจจุบันอินเทอร์เน็ต มีความส าคัญต่อชีวิตประจ าวันหลายด้าน อาทิ ด้านการศึกษา พาณิชย์ธุรกรรม วรรณกรรม และอื่น ๆ ดังนี้ 1.3.1 ประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต 1. ด้านธุรกิจและการพาณิชย์ (1) ค้นหาข้อมูลต่าง ๆ เพื่อช่วยในการตัดสินใจทางธุรกิจ (2) สามารถซื้อขายสินค้า ผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต


(3) ผู้ใช้ที่เป็นบริษัท หรือองค์กรต่าง 1 สามารถเปิดให้บริการ และสนับสนุนลูกค้าของตนผ่านระบบ เครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้ เช่น การให้ค าแนะน า สอบถามปัญหาต่าง ๆ ให้แก่ลูกค้า แจกจ่ายตัวโปรแกรมทดลองใช้ (Shareware) หรือโปรแกรมแจกฟรี (Freeware) เป็นต้น 2. ด้านสนับสนุนการศึกษา การใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการติดต่อสื่อสาร เป็นการใช้อินเทอร์เน็ตในการ ติดต่อสื่อสาร ระหว่างคณาจารย์และนักศึกษาสถาบันการศึกษาเกี่ยวกับการเรียนการสอนดังนี้ (1) การใช้เป็นระบบสื่อสารส่วนบุคคล บนอินเทอร์เน็ตมีอิเล็กทรอนิกส์เมล์หรือเรียกย่อ ว่า อีเมล์ (Email) เป็นระบบที่ท าให้การสื่อสารระหว่างกันเกิดขึ้นได้ง่าย แต่ละบุคคลจะมีตู้จดหมายเป็นของตัวเองสามารถส่ง ข้อความถึงกันผ่านในระบบนี้โดยส่งไปยังจดหมายของกันและกัน นอกจากนี้ยังสามารถประยุกต์ไปใช้ทางการศึกษาได้ (2) ระบบข่าวสารบนอินเทอร์เน็ต มีลักษณะเหมือนกระดานข่าวที่เชื่อมโยงถึงกันทั่วโลกทุกคนสามารถ ปิดกระดานข่าวที่ตนเองสนใจหรือสามารถส่งข่าวสารผ่านกลุ่มข่าวบนกระดานนี้ เพื่อโต้ตอบข่าวสารกันได้ (3) การใช้เพื่อสืบค้นข้อมูลข่าวสารต่าง ( บนอินเทอร์เน็ตมีแหล่งข้อมูลขนาดใหญ่ที่เชื่อมโยงกัน และ ติดต่อกับห้องสมุดทั่วโลก ท าให้การคันหาข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ ท าได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ หมายถึง สามารถค้นหาและได้มาซึ่งข้อมูลในเวลาอันสั้น โดยเฉพาะบนอินเทอร์เน็ตจะมีค าหลัก (Index) ไว้ให้ส าหรับการสืบค้น ที่รวดเร็ว (4) ฐานข้อมูลเครือข่ายใยแมงมุม (World Wide Web) เป็นฐานข้อมูลแบบเอกสาร(Hypertext) และ แบบมีรูปภาพ (Hypermedia) จนมาปัจจุบัน ฐานข้อมูลเหล่านี้ได้พัฒนาขึ้นจนเป็นแบบมัลติมีเดีย (Multimedia) ซึ่ง มีทั้งข้อความ รูปภาพ วิดีโอ วีดิทัศน์ และเสียงผู้ใช้เครือข่ายนี้สามารถสืบค้นได้จากที่ต่าง ๆ ทั่วโลก (5) การพูดคุยแบบโต้ตอบหรือคุยเป็นกลุ่ม บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตสามารถเชื่อมต่อกันและพูดคุยกัน ได้ด้วยเวลาจริง ผู้พูดสามารถพิมพ์ข้อความโต้ตอบกันได้ไม่ว่าจะอยู่ที่ใดบนเครือข่าย (6) การส่งถ่ายข้อมูลระหว่างกันแบบ FTP (Files Transfer Protocol) คือ สามารถโอนย้ายถ่ายเท ข้อมูลระหว่างกันเป็นจ านวนมาก ๆ ได้ โดยส่งผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตซึ่งท าให้สะดวกต่อการรับ-ส่งข้อมูล ข่าวสารซึ่งกันและกัน (7) การใช้ทรัพยากรที่ห่างไกลกัน ผู้เรียนอาจเรียนอยู่ที่บ้านและเรียกใช้ข้อมูลที่เป็นทรัพยากรการ เรียนรู้ของมหาวิทยาลัยได้


รูปที่ 1.3 การใช้งานอินเทอร์เน็ตด้านการศึกษา ข้อพึงระวังในการใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการศึกษา (1) การสืบค้นข้อมูล เนื่องจากข้อมูลบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เป็นข้อมูลที่ไม่ได้จากผู้เชี่ยวชาญ องค์กร หรือสถาบันใด และเป็นข้อมูลที่ผู้ใช้เครือข่ายทุกคนมีสิทธิที่น าความคิดเห็น เผยแพร่ข่าวสารอย่างเป็นอิสระดังนั้นใน การเลือกสรรเอาเองผู้ใช้จึงจ าเป็นต้องตรวจสอบข้อมูลและใช้วิจารณญาณ (2) การติดต่อสื่อสาร แม้ว่าการส่งอีเมล์จะเป็นวิธีการติดต่อสื่อสารที่แสนสะดวกสบายแต่ก็มีข้อจ ากัด บางอย่าง คือ ผู้รับไม่สามารถสังเกตการแสดงออกทางสีหน้า ท าทาง หรือน้ าเสียง ประกอบของผู้ส่งได้เลย ดังนั้น การ เขียน หรือพิมพ์ข้อความใด " ในอีเมล์จึงจ าเป็นต้องเขียนให้ซัดเจน กระชับ และถูกกาลเทศะ ป้องกันความเข้าใจผิดที่ อาจเกิดขึ้นได้ (3) การเผยแพร่ข้อมูล เนื่องจาอินเทอร์เน็ตเป็นเครือข่ายไร้พรหมแดน ที่ไม่มีเจ้าของและไม่ขึ้นกับ กฎระเบียบขององค์กรองค์กรหนึ่ง ดังนั้น ผู้ใช้เครือข่ายที่ต้องการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร หรือน าเสนอข้อคิดเห็นใด ๆ บนเครือข่ายจึงจ าเป็นจะต้องมีจรรยาบรรณในการใช้อินเทอร์เน็ต และหลีกเลี่ยงการน าเสนอข้อมูลที่ไม่เหมาะสม คลาดเคลื่อน หรือที่อาจกระทบกระเทือน หรือสร้างความเสียหายต่อผู้อื่นได้ 3. ด้านความบันเทิง (1) ค้นหา Magazine online รวมทั้งหนังสือพิมพ์และข่าวสารอื่น ๆ ได้ (2) ฟังวิทยุผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้ (3) ดาวน์โหลด (Download) ภาพยนตร์ตัวอย่าง ทั้งภาพยนตร์ใหม่และเก่ามาดู


รูปที่ 1.4 การใช้งานบนอินเทอร์เน็ตด้านความบันเทิง 1.3.2 การใช้งานบนอินเทอร์เน็ต 1. การใช้งานอินเทอร์เน็ตเพื่อส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (E-mail) ผ่านเครือข่ายที่สมัครเป็นสมาชิก แทนการส่ง จดหมายแบบเขียนใส่ของปิดผนึกจ่าหน้าของถึงผู้รับ แต่การส่งอีเมล์ท าให้ถึงผู้รับได้อย่างรวดเร็วกว่าแบบเดิม 2. การใช้งานอินเทอร์เน็ตเพื่อค้นข้อมูลข่าวสารที่มีอยู่มากมายจากแหล่งข้อมูลต่าง ทั่วโลกได้โดยผ่าน World Wide Web 3. สื่อสารด้วยข้อความ Chat เป็นการพูดคุยโดยพิมพ์ข้อความตอบกัน การสนทนากันผ่านอินเทอร์เน็ตเปรียบ เสมือนเรานั่งอยู่ในห้องสนทนาเดียวกัน แม้อยู่คนละประเทศหรือคนละซีกโลก


รูปที่ 1.5 ค้นหาข่าวสารด้วย Google และสื่อสารข้อความด้วย Facebook 1.4 การให้บริการอินเทอร์เน็ต 1.4.1 เวิลด์ไวด์เว็บ (WWW) เวิลด์ไวด์เว็บ หรือเครือข่ายใยแมงมุม เหตุที่เรียกชื่อนี้เพราะว่าเป็นลักษณะของการเชื่อมโยงข้อมูล จากที่ หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งเรื่อย ๆ ในการดูข้อมูล บราวเซอร์ที่ได้รับความนิยมใช้ในปัจจุบัน เช่น โปรแกรม Internet Explorer (IE), Netscape Navigator, Google Chrome, 1.4.2 จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Mail) การติดต่อสื่อสารโดยใช้มลสะดวก และประหยัดเวลา หลักการท างานของอีเมล์เปรียบเสมือนการส่งจดหมาย ธรรมดา โดยจะต้องมีที่อยู่ที่ระบุชัดเจน เรียกว่า "อีเมล์แอดเดรส (E-mail องค์ประกอบของ E-mail address ประกอบด้วย 1. ชื่อผู้ใช้ (User name) 2. ชื่อโดเมน Username@domain_name


การใช้งานอีเมล์สามารถท าได้ดังนี้ 1. Free E-mail คือที่สามารถสมัครได้ฟรีตาม web mail ต่าง ๆ เช่น Hotmail,Yahoo Mail และ Chaiyo Mail 1.4.3 บริการโอนย้ายไฟล์ (File Transfer Protocol) บริการโอนย้ายไฟล์เป็นบริการที่เกี่ยวข้องกับการโอนย้ายไฟล์ผ่านระบบอินเทอร์เน็ตการโอนย้ายไฟล์สามารถ แบ่งได้ ดังนี้ 1. การดาวน์โหลดไฟล์ (Download File) คือ การรับข้อมูลเข้ามายังเครื่ององคอมพิวเตอร์ ของผู้ใช้ ปัจจุบันมีหลายเว็บไซต์ที่จัดให้มีการดาวน์โหลดโปรแกรมได้ฟรี เช่น www.download.com 2. การอัพโหลดไฟล์ (Upload File) คือ การน าไฟล์ข้อมูลจากเครื่องของผู้ใช้ไปเก็บไว้ใน เครื่องที่ให้บริการ (Server) ผ่านระบบอินเทอร์เน็ต เช่น กรณีที่ท าการสร้างเว็บไซต์จะมีการอัพโหลดไฟล์ไปเก็บไว้ใน เครื่องบริการเว็บไซต์(Web Server)ที่เราขอใช้บริการพื้นที่ (Web Server) โปรแกรมที่ช่วยในการอัพโหลดไฟล์ 1.4.4 บริการสนทนาบนอินเทอร์เน็ต (Instant สนทนาบนอินเทอร์เน็ต คือ การส่งข้อความถึงกันโดยทันทีทันใด นอกจากนี้ ยังสัญลักษณ์ต่าง ๆ อาทิ รูปภาพ ไฟล์ข้อมูลได้ด้วย การสนทนาบนอินเทอร์เน็ตนับเป็นโปรแกรมที่ได้รับความนิยมไม่น้อย ตัวอย่างโปรแกรมประเภทนี้ เช่น Messenger, Line, Tinder, WEChat เป็นต้น 1.4.5 บริการค้นหาข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต 1. Web directory คือ การค้นหาโดยการเลือก Directory ที่จัดเตรียมและแยกหมวดหมู่ไว้ เรียบร้อยแล้ว เว็บไซต์ที่ให้บริการ Web Directory เช่น www.yahoo.com, www.sanook.com 2. Search Engine คือ การค้นหาข้อมูลโดยใช้โปรแกรม Search โดยการเอาค าที่ต้องการค้นหาไปเทียบกับ เว็บไซต์ต่าง ๆ ว่ามีเว็บไซต์ใดบ้างที่มีค าที่เราต้องการค้นหา website ที่ให้บริการ searchengine เช่น www.yahoo.com, www.sanook.com,www.google.co.th, www.sansarn.com


3. Metasearch คือ การค้นหาข้อมูลแบบ Search engine แต่จะท าการส่งค าที่ต้องการไปค้นหาในเว็บไซต์ ที่ให้บริการสืบค้นข้อมูลอื่น ๆ อีก ถ้าข้อมูลที่ได้มีซ้ ากัน ก็จะแสดงเพียงรายการเดียว เว็บไซต์ที่ให้บริการ Metasearch เช่น www.search.com,www.thaifind.com 1.4.6 บริการกระดานข่าวหรือเว็บบอร์ด (Web board) เว็บบอร์ด (Web board)เว็บบอร์ดเป็นศูนย์กลางในการ แสดงความคิดเห็น มีการตั้งกระทู้ ถาม-ตอบในหัวข้อที่สนใจ เว็บ บอร์ดของไทยที่เป็นที่นิยมและมีผู้เข้าไปแสดงความคิดเห็น มากมาย คือเว็บบอร์ดของพันทิป.คอม (www.pantip.com) 1.4.7 ห้องสนทนา (Chat Room) ห้องสนทนา คือ การสนทนาออนไลน์ประเภทหนึ่ง ที่มี การสงข้อความสั้นๆถึงกัน การเข้าไปสนทนาต้องเข้าไปในเว็บไซต์ 1.5 ยุคของอินเทอร์เน็ต อินเทอร์เน็ตเป็นระบบเครือข่ายที่มีการพัฒนามาต่อเนื่อง ในตลอดช่วงพัฒนาการของอินเทอร์เน็ตนั้นสมารถ แบ่งได้เป็น 3 ยุค ดังนี้ 1.5.1 "Internet 1.0" ยุคแรกของการเชื่อมต่อเพื่อการสื่อสารระหว่างบุคคล (Human-to-Humanในยุคนี้พัฒนาการของ อินเทอร์เน็ตจะเป็นเพื่อการสื่อสารระหว่างบุคคลที่ใช้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ต เทคโนโลยีที่ ส าคัญที่พัฒนาใช้งานกับอินเทอร์เน็ตเพื่อการสื่อสารในยุคนี้ได้แก่ อีเมล์(E-mail) และ ยูสเน็ต (UseNet) อีเมลเป็นเทคโนโลยีที่ยังมีการใช้งานในปัจจุบัน นอกจากการสื่อสารระหว่างบุคคลแล้วอีเมล์ได้มีการ ประยุกต์ใช้เพื่อการสื่อสารระหว่างบุคคลกับกลุ่มบุคคล (Human-toCommunityด้วย เทคโนโลยีเพื่อการนี้เรียกว่า เมลลิ่งลิสต์ (Mailing List) ซึ่งก็ยังมีการใช้งานอยู่เช่นกัน รูปที่1.6 สื่ออินเทอร์เน็ตมีความส าคัญ ต่อชีวิตประจ าวัน


ส่วน UseNet ได้รับความนิยมลดน้อยลง แต่ก็ยังมีการใช้งานอยู่อย่างสม่ าเสมอจากผู้ใช้ที่ใช้Groupsงานมา ตั้งแต่ในอดีต ผู้ให้บริการ UseNet รายส าคัญในปัจจุบันคือ Google ภายใต้ซื่อ Google Groups 1.5.2 "Internet 2.0" ยุคที่สองของการเชื่อมต่อเพื่อสื่อสารระหว่างบุคคลกับคอมพิวเตอร์ (Human-to-CoCommunication) เทคโนโลยีส าคัญที่พัฒนาขึ้นเพื่อใช้งานอินเทอร์เน็ตในยุคนี้ได้แก่ เว็บ (Web หรือ Worldwide web) เปิดโอกาสให้ บุคคลสามารถเข้าใช้คอมพิวเตอร์เพื่อท างานใดงานหนึ่งจากระยะไกลได้ผ่านกระบวนการใช้งานที่เป็นมาตรฐาน เดียวกัน ในอดีต ผู้ใช้งานจะต้องใช้โปรแกรมจ าลองหน้าจอเพื่อเข้าไปใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องใดเครื่องหนึ่ง แล้ วใ ช้โป ร แก รมในเค รื่องค อมพิ วเต อ ร์นั้นท าง าน กล่ า วโด ยส รุปคือในมุมมองเ ชิง แน วค ว ามคิ ด (ConceptualProspective) แล้ว เว็บท าให้การใช้งาอินเทอร์เน็ตเปลี่ยนจากการอยู่บนพื้นฐานของ "เครื่อง" เป็น "ระบบ" 1.5.3 "Internet 3.0" ยุคที่สามของอินเทอร์เน็ตเป็นยุคที่ก าลังจะก้าวไปสู่ยุคของการสื่อสารเพื่อการเชื่อมต่อระหว่างคอมพิวเตอร์ กับคอมพิวเตอร์ (Computer-to-Computer Communication) เป็นการเชื่อมต่อในระดับของสารสนเทศ (Information) ซึ่งเป็นการเชื่อมต่อในระดับที่สูงกว่าใน "การรับรู้ความหมาย" มากกว่าการเชื่อมต่อเพื่อการส่งผ่าน ข้อมูล (Data Communication) เท่านั้น เป็นยุคที่ "ระบบงาน" ติดต่อสื่อสารกันเพื่อให้สารสนเทศซึ่งกันและกันเพื่อ ให้บริการแก่ผู้ใช้ ในมุมมองเชิงแนวความคิด (ConceptualProspective) แล้ว ในยุคนี้ "ระบบงาน" จะให้ "บริการ" สารสนเทศของตนแก่ระบบงานอื่น ๆ และใช้บริการสารสนเทศจากระบบงานอื่น ๆ เพื่อประกอบเป็นบริการของตน ให้แก่ผู้ใช้ ได้แก่ 1 ."Web 2.0"(อ่านว่า Web Two Point Oh) หรือ "Web Senvices"ในยุคที่สามนี้จะมีการกล่าวถึง "บริการ" ระหว่างกันและในการติดต่อสื่อสารของข้อมูลในระบบนี้ก็ยังผ่านเทศโนโดยีพื้นฐานอย่างของเว็บ ในยุคที่สาม ของอินเทอร์เน็ตนั้นถือได้ว่าเป็นยุคที่สองของเว็บ ค านึงถึงสถานะของผู้ใช้และการเข้าถึงข้อมูลเป็นหลัก ในสถานะของผู้ใช้นั้น ยุคแรของเว็บจะเป็นยุค "เว็บเพื่ออ่านอย่างเดียว" (Read- OnlyWeb) ซึ่งผู้อ่าน และผู้เขียนจะแยกกันอย่างชัดเจน ผู้เขียนจะมีหน้าที่เขียนส่วนผู้อ่านจะมีหน้าที่อ่านไม่ปะปนกัน ส่วนในยุคที่สองจะ เป็นยุค "เว็บเพื่อการอ่านและเขียน" (Read-Write Web) ในยุคนี้ผู้อ่านและผู้เขียนจะเป็นบุคคลเดียวกัน การเข้าถึง ข้อมูลนั้น ในยุคแรกเว็บจะมี "Site"เป็นเว็บไซต์ (Web Sste) นั่นคือ สารสนเทศจะมีที่อยู่ที่แน่นอน แต่ในยุคที่สองเว็บ


จะไม่มี "Site" อีกต่อไป สารสนเทศจะเกิดการแลกเปลี่ยนกันโดยระบบงานเพื่อไปหาผู้ใช้ กล่าวอีกมุมหนึ่งคือ ในยุค แรกผู้ใช้ต้อง "ไปหา" สารสนเทศ แต่ยุคที่สอง สารสนเทศจะ "มาหา" ผู้ใช้นั่นเอง 2. "Outtook from Thailand" ในขณะนี้อินเทอร์เน็ตก าลังก้าวสู่ยุคที่สาม และเว็บซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของยุค ของอินเทอร์เน็ตนั้นก็ก าลังก้าวสู่ยุคที่สอง ความหวังของประเทศไทยในฐานะนักพัฒนาซอฟต์แวร์ ที่เป็นผู้ส่งออก เทคโนโลยีที่เป็นส่วนหนึ่งของยุคใหม่สามารถท าให้ประเทศไทยได้ปรากฏในแผนที่โลกที่ถือว่าเป็น "ผู้ให้" เทคโนโลยี แก่ชาวโลกเช่นเดียวกัน รูปที่ 1.7 ตัวอย่าง Web 2.0 เช่น www.youtube.com (ที่มา : www.youtube.com)


แบบทดสอบหลังเรียนหน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต ค าชี้แจง ให้นักเรียนท าเครื่องหมายกากบาท (X) ทับข้อที่เห็นว่าถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว 1. ข้อใดคือความหมายของอินเทอร์เน็ต ก.ระบบเครือข่ายของข้อมูลและคอมพิวเตอร์สาธารณะ ข. จุดก าเนิดเริ่มแรกของอินเทอร์เน็ต ค. ระบบอินเทอร์เน็ตในปัจจุบันนั้นอาศัยโพรโทคอล ง. ระบบนี้สร้างมาเพื่อน าชื่อสามารถจดจ าได้ง่าย 2. ข้อใดคือประวัติความเป็นมาของระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ก. ระบบเครือข่ายของข้อมูลและคอมพิวเตอร์สาธารณะ ข.จุดก าเนิดเริ่มแรกของอินเทอร์เน็ตวัตถุประสงค์ทางทหาร ค. ระบบอินเทอร์เน็ตในปัจจุบันนั้นอาศัยโพรโทคอล ง. ระบบนี้สร้างมาเพื่อน าชื่อสามารถจดจ าได้ง่าย สแกนเพื่อท าข้อสอบ


3. พื้นฐานการท างานของระบบอินเทอร์เน็ต หมายถึง ก. ระบบเครือข่ายของข้อมูลและคอมพิวเตอร์สาธารณะ ข. จุดก าเนิดเริ่มแรกของอินเทอร์เน็ต ค.ระบบอินเทอร์เน็ตในปัจจุบันนั้นอาศัยโพรโทคอล ง. ระบบนี้สร้างมาเพื่อน าชื่อสามารถจดจ าได้ง่าย 4. โดเมนเนม หมายถึงข้อใด ก. ระบบเครือข่ายของข้อมูลและคอมพิวเตอร์สาธารณะ ข. จุดก าเนิดเริ่มแรกของอินเทอร์เน็ต ค. ระบบอินเทอร์เน็ตในปัจจุบันนั้นอาศัยโพรโทคอล ง.นี้สร้างมาเพื่อน าชื่อสามารถจดจ าได้ง่าย 5. โดเมนเนม ภาษาอังกฤษเขียนอย่างไร ก .A Domain Name ข.. Domin Name ค.สแกนเพื่อท าแบบทดสอบ ง. Doomain Name 6. ประเทศใดไม่ต้องใช้สถานที่ตั้งบอกโดเมนเนม ก. ไทย ข. จีน ค.สหรัฐอเมริกา ง. รัสเซีย


7. บริการ IRC คือข้อใด ก. บริการพูดคุยภายในห้อง ข. บริการโอนย้ายไฟล์ ค. บริการที่ได้รับความนิยมอย่างรวดเร็ว ง. ถูกทุกข้อ 8. บริการ FTP คือข้อใด ก. บริการพูดคุยภายในห้อง ข.บริการโอนย้ายไฟล์ ค. บริการที่ได้รับความนิยมอย่างรวดเร็ว ง. ถูกทุกข้อ 9. บริการ WWW คือข้อใด ก. บริการโอนย้ายไฟล์ ข. บริการพูดคุยภายในห้อง ค.บริการที่ได้รับความนิยมอย่างรวดเร็ว ง. ถูกทุกข้อ 10. IE ย่อมาจาก ก.XInternet Explorer ข. Internet Express ค. Internet Explore ง. Control Message Protocol


หน่วยที่ 2 หลักการท างานของอินเทอร์เน็ต 2.1 หลักการท างานของระบบอินเทอร์เน็ต 2.2 เทคโนโลยีที่ใช้ในการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต 2.3 ประเภทของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต อินเทอร์เน็ตicเครือข่ายอินเทอร์เน็ตสามารถท าให้คอม หน่วยที่ 2 หลัก กา เครือข่ายอินเทอร์เน็ตสามารถท าให้คอมพิวเตอร์ต่างชนิดหรือต่างขนาดกัน ที่เชื่อมต่อภายในเครือข่ายสามารถ สื่อสารกันได้นั้น จะต้องมีมาตรฐานการรับส่งข้อมูลระหว่างกันเป็นแบบเดียวกันหรือใช้กฎและข้อตกลงเดียวกันซึ่งก็ คือ โพรโทคอล (Protocol) ในการควบคุมรูปแบบข้อมูลและการส่งผ่านข้อมูลระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ โพรโทคอล ที่ใช้ในอินเทอร์เน็ต เรียกว่า ทรานมิสชันคอนโทรโปรโทคอลอินเทอร์เน็ตโพรโทคอล (Transmission Control Protocol Internet Protocol) หรือมีชื่อย่อว่า ทีซีพี ไอพี(TCP/IP)งานของอินเทอร์เน็ต หัวข้อเรื่อง (Topics) หัวข้อเรื่อง (Topics) แนวคิดส าคัญ( Main idea)


แสดงความรู้เกี่ยวกับหลักการท างานของอินเทอร์เน็ต 1. บอกหลักการท างานของระบบอินเทอร์เน็ตได้ 2. เลือกเทคโนโลยีที่ใช้ในการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตได้ 3. บอกประเภทของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตได้ 4. มีเจตคติและค่านิยมอันพึงประสงค์ สมรรถย่อย(Element of Competency) จุดประสงค์ของพฤติกรรม (Behavioral Objectives)


2.1 หลักการท างานของระบบอินเทอร์เน็ต การสื่อสารข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์จะมีโปรโตคอล (Protocol) ซึ่งเป็นระเบียบวิธีการสื่อสารที่เป็น มาตรฐานของการเชื่อมต่อก าหนดไว้ โปรโตคอลที่เป็นมาตรฐานส าหรับการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต คือTCP/IP (Transmission Control Protoco/Internet Protocol)เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่เชื่อมต่อเข้ากับเครือข่าย อินเทอร์เน็ตจะต้องมีหมายเลขประจ าเครื่องที่เรียกว่า IP Address เพื่อเอาไว้อ้างอิงหรือติดต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์ อื่น ๆ ในเครือข่าย ซึ่ง IP ในที่นี้ก็คือIntemet Protocol หมายเลขประจ าเครื่องคอมพิวเตอร์ในระบบเครือข่าย อินเทอร์เน็ต เรียกว่า หมายเลขไอพี (IP Address) ซึ่งเป็นหมายเลขชุดหนึ่งมีขนาด 32 บิต หมายเลขชุดนี้จะถูกแบ่ง ออกเป็น 4 ส่วนส่วนละ 8 บิตเท่า ๆ กัน ซึ่งแต่ละส่วนจะมีค่าได้ตั้งแต่ 0-255 เช่น 205.42. 117.104 โดหมายเลขไอ พีของเครื่องคอมพิวเตอร์จะต้องไม่ซ้ ากัน และเนื่องจากหมายเสนอพีจดจ าได้ยาก หากมีเครื่องคอมพิวเตอร์อยู่ใน เครือข่ายเป็นจ านวนมาก อาจท าให้สับสนได้ง่าย จึงเกิดการตั้งชื่อที่เป็นตัวอักษรขึ้นมาแทนหมายเลขไอพีเพื่อช่วยใน การจดจ า เรียกว่า ดีเอ็นเอส (DNS:Domain Name Server) ซึ่งประกอบไปด้วย 2 ส่วน คือ ชื่อและโดเมน ดังนี้ 1. โดเมนระดับบนสุด จะบอกถึงประเภทขององค์กร หรือชื่อประเทศที่เครือข่ายตั้งอยู่ 2. โดเมนระดับย่อย ใช้ในประเทศ ซึ่งจะบอกถึงประเภทขององค์กร 2.1.1 โดเมนเนม (Domain Name System: DNS) เนื่องจากการติดต่อสื่อสารกันกันในระบบอินเทอร์เน็ตใช้โปรโตคอล TCP/IP เพื่อสื่อสารกันโดยจะต้องมี IP address ในการอ้างอิงเสมอ แต่ IP address นี้ถึงแม้จะจัดแบ่งเป็นส่วน ๆ แล้วก็ยังมีอุปสรรคในการที่ต้องจดจ า ถ้า เครื่องที่อยู่ในเครือข่ายมีจ านวนมากขึ้น การจดจ าหมายเลข IP ดูจะเป็นเรื่องยาก และอาจสับสนจ าผิดได้ แนวทาง แก้ปัญหาคือการตั้งชื่อหรือตัวอักษรขึ้นมาแทนที่ IP address ซึ่งสะดวกในการจดจ ามากกว่า เช่น IP address คือ 225.101.225.1 แทนที่ด้วยชื่อ Nakae.ac.th ผู้ใช้งานสามารถ จดจ าชื่อ Nakae.ac.th ได้ง่ายกว่าการจ าตัวเลข เนื้อหาสาระ(Content)


2.1.2 การขอจดทะเบียนโดเมน การขอจดทะเบียนโดเมนกับหน่วยงานที่รับผิดขอบ ชื่อโดเมนที่ขอจดนั้นไม่สามารถซ้ ากับชื่อที่มี อยู่เดิม สามารถตรวจสอบได้ว่ามีชื่อโดเมนนั้น ๆ ได้จากหน่วยงานที่ขอจดทะเบียน การขอจดทะเบียนโดเมน มี 2 วิธี ด้วยกัน คือ 1. การขอจดทะเบียนให้เป็นโดเมนสากล (.com .edu.int .org .net) ต้องขอจดทะเบียนกับ www.networksolution.com ซึ่งเดิม คือ www.internic.net 2. การขอจดทะเบียนที่ลงท้ายด้วย .th (Thailand) ต้องจดทะเบียนกับ www.thnic.netโดเมนเนมที่ลงท้าย ด้วย . th ประกอบด้วย ตารางที่ 2.1 ตัวอย่างโดเมนของหน่วยงาน ชื่อโดเมน ชื่อหน่วยงาน .ac.th Academic Thailand ส าหรับสถานศึกษาในประเทศไทย .co.th Company Thailand ส าหรับบริษัทที่ท าธุรกิจในประเทศไทย .go.th Government Thailand ส าหรับหน่วยงานต่างๆ ของรัฐบาล net.th Network Thailand ส าหรับบริษัทที่ท าธุรกิจด้านเครือข่าย .or.th Organization Thailand ส าหรับหน่วยงานที่ไม่แสวงหาก าไร .in.th Individual Thailand ส าหรับหน่วยงานที่ไม่แสวงหาก าไร 2.2 เทคโนโลยีที่ใช้ในการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต เครือข่ายอินเทอร์เน็ตเหมือนใยแมงมุมที่มีจุดเชื่อมต่อกันอยู่แล้ว และเทคโนโลยีที่ใช้ในการเชื่อมต่อผู้ให้มีหลาย ชนิดให้เลือกใช้ เช่น โมเต็ม เอดีเอสแอล แอร์การ์ด ห้าจี ไวร์เลส


2.2.1 โมเต็ม (Modem) โมเด็มเป็นอุปกรณ์ส าหรับคอมพิวเตอร์อย่างหนึ่งที่ช่วยให้สัมผัสกับโลกภายนอกได้อย่างง่ายดาย โมเด็ม เป็นเสมือนโทรศัพท์ส าหรับคอมพิวเตอร์ที่จะช่วยให้ระบบคอมพิวเตอร์ของแต่ละคนสามารถสื่อสารกับคอมพิวเตอร์ อื่น ๆ ได้ทั่วโลก โมเด็มจะท างานให้ส าเร็จได้ด้วยการเชื่อมต่อระหว่างคอมพิวเตอร์เข้าคู่สายของโทรศัพท์ธรรมดาคู่ หนึ่ง ซึ่งโมเต็มจะท าการแปลงสัญญาณดิจิทัล(Digital Signals)จากเครื่องคอมพิวเตอร์ให้เป็นสัญญาณแอนะล็อก (Analog Signas) เพื่อให้สามารถส่งไปบนคู่สายโทรศัพท์ค าว่า โมเต็ม (Modems) มาจากค าว่า (Modulate/Demo dulate) ผสมกัน หมายถึง กระบวนการแปลงซ้ ากับข้อมูลข่าวสารดิจิทัลให้อยู่ในรูปของแอนะล็อก แล้วจึงแปลง สัญญาณกลับเป็นดิจิทัลอีกครั้งหนึ่งเบียนเมื่อโมเต็มของต่อเข้ากับโมเต็มตัวอื่น รูปที่ 2.1 เทคโนโลยีที่ใช้ในการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตโมเด็ม (Modems) 2.2.2 เอดีเอสแอล (ADSL) ADSL ย่อมาจาก Asymmetic Digital Subscrbers Line คือเทคโนโดยีการสื่อสารข้อมูลความเร็วสูงแบบ ใหม่ ซึ่งท าให้สามารถเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตและเครือข่ายระยะไกลได้ด้วยความเร็วสูงโดยใช้คู่สายโทรศัพท์ธรรมดา ถือ เป็นเทคโนโลยีของโมเด็มแบบใหม่ ที่เปลี่ยนโฉมหน้าของสายโทรศัพท์ที่ท าจากลวดทองแดงธรรมดา ให้เป็นสัน สัญญาณน าส่งข้อมูลความเร็วสูง โดย ADSL สมารถจัดส่งข้อมูลจากผู้ให้บริการด้วยความเร็วมากกว่า 6 เมกะบิตต่อ วินาที (Mbps) ไปยังผู้รับบริการ หมายความว่าผู้ใช้บริการสามารถดาวนโหลดข้อมูลด้วยความเร็วสูงมากกว่า 6 Mbps


ขึ้นไปจากผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต หรือผู้ให้บริการข้อมูลทั่วไป (ส่วนจะได้ความเร็วมากกว่า 6 Mbps หรือไม่ก็ขึ้นอยู่ กับผู้ให้บริการ รวมทั้งระยะทางการเชื่อมต่ออีกด้วย) เทคโนโลยี ADS. มีความเร็วในการรับข้อมูล (Downstream) และความเร็วในการส่งข้อมูล(Upstream) ไม่ท า กัน โดยมีความเร็วในการรับข้อมูล สูงกว่าความเร็วในการส่งข้อมูลเสมอ เทคโนโลยีADSL มีความเร็วในการรับข้อมูล สูงสุด 8 Mbps และความเร็วในการส่งข้อมูลสูงสุดที่ 640 กิโดบิตต่อวินาที(Kbps) ความเร็วอาจเริ่มตั้งแต่ 12864., 256/128, 61225 เป็นต้นโดยความเร็วแรกเป็นความเร็วขารับข้อมูล 2.2.3 ไอเอสดีเอ็น (ISDN) Integrated Service Digital Network คือ บริการสื่อสารร่วม หมายถึงสามารถรับส่งสัญญาณภาพ เสียง และข้อมูลได้พร้อมกันในระบบดิจิทัล ท างานโดยการหมุนโทรศัพท์ผ่านคู่สาย ISDN ซึ่งมีความเร็วสูงถึง 64 kbps - 128 kbps (สามารถรับส่งสัญญาณได้ถึง 2 วงจร หรือ 2 session พร้อมกัน)และเนื่องด้วย ISDN เป็นการสื่อสารใน ระบบดิจิทัล ดังนั้น จึงไม่จ าเป็นต้องมีการแปลงสัญญาณจากแอนะล็อกเป็นดิจิทัล ระบบจึงไม่มีสัญญาณรบกวนการ ใช้งาน นอกเหนือจากการน ามาใช้อินเทอร์เน็ตด้วยความเร็วสูงแล้ว เรายังสามารถน า ISDN มาใช้ในลักษณะของ Video Conference หมายถึง การประชุมระหว่างประเทศ หรือจังหวัด โดยสามารถมองเห็นได้ทั้งภาพและเสี่ยงใน เวลาเดียวกัน รูปที่ 2.2 เทคโนโลยีที่ใช้ในการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตไอเอสดีเอ็น


2.2.4 แอร์การ์ด (AirCard) อุปกรณ์โมเต็มอย่างหนึ่งที่ใช้เพื่อเชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์ (Desktop หรือ Laptop) ของเราเข้าสู่โลก อินเทอร์เน็ตแบบไร้สายความเร็วสูงโดยผ่านโครงข่ายสัญญาณโทรศัพท์มือถือ ซึ่งในขณะที่เราเชื่อมต่อเข้าสู่โลก อินเทอร์เน็ตไปแล้วยังสามารถใช้โทรศัพท์ในเวลาเดียวกันได้ด้วย เพราะระบบมีการใช้ช่องสัญญาณคนละ ช่องสัญญาณกัน แต่ใช้ Cellsite เดียวกัน หรือท าหน้าที่เป็นแฟกซ์ไร้สายได้ด้วย ดังนั้นไม่ว่าเราจะอยู่ที่ไหน ขอมีเพียง สัญญาโทรศัพท์มือถือก็สามารถใช้งานได้ จึงเหมาะส าหรับใช้งานร่วมกับคอมพิวเตอร์ทั้ง PC, Notebook เพื่อเข้าสู่ โลกอินเทอร์เน็ตแบบไร้สายความเร็วสูง โดยผ่านโครงข่ายสัญญาณโทรศัพท์มือถือที่ใช้เทคโนโลยีGPRS และ EDGE ในปัจจุบัน รูปที่2.3 เทคโนโลยีที่ใช้ในการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแอร์การ์ด (AirCard) 2.2.5 ห้าจี(5G, 5rd generation mobile telecommunications) ห้าจีเป็นมาตรฐานโทรศัพท์มือถือในยุคที่ 5 ถูกพัฒนาเพื่อแทนที่ระบบโทรศัพท์ 4G ซึ่ง 5Gนั้นได้รับการพัฒนา บนพื้นฐานชองมาตรฐาน IM -2020 ภายใต้กลุ่มของสนภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ มาตรฐานโทรศัพท์มือถือยุคที่ 5 เพื่อใช้งานในประเทศไทย ต้องรองรับคลื่นความถี่ 700 MHz2600 MHz, 3500 MHz และ 26 GHz คุณสมบัติเด่นของ 5G คือ คุณภาพการรับชมวิดีโอหรือการเล่นเกมออนไลน์ที่คมชัดและ รวดเร็วเทียบเท่ากับการใช้งานผ่านโครงข่ายใยแก้วน าแสง (Fiber Optic) การท างานและเข้าถึงข้อมูลบนคลาวด์ได้


ทันทีที่ต้องการ มีความเร็วในการดาวน์โหลดและอัปโหลดสูงกว่าเทคโนโลยี4G รวมทั้งรองรับการเชื่อมต่อจ านวนมาก ผ่านอินเทอร์เน็ต (IOT) รูปที่ 2.4 เทคโนโลยีห้าจีสามารถรองรับการเชื่อมต่อจ านวนมากผ่านอินเทอร์เน็ตได้ (ที่มา : https:/www.nato.int/docureview/articles/2020/09/30/nato-and-the-5g-challenge/index.htmI) 2.2.6 ไวร์เลส (Wireless) Wireless หรือ Wi-Fi คือ เครือข่ายไร้สาย มักใช้กับระบบเครือข่าย ไม่ว่าจะเป็นในองค์กรหรือในระบบ เครือข่ายอินเทอร์เน็ต (Wi-Fi ย่อมาจาก wireless fidelity) ส่วน (Wireless LAN! WLAN หรือwireless local area network) หมายถึงเทคโนโลยีที่ช่วยให้การติดต่อสื่อสารระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ 2 เครื่อง หรือกลุ่มของเครื่อง คอมพิวเตอร์สามารถสื่อสารกันได้ รวมถึงการติดต่อสื่อสารระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์กับอุปกรณ์ เครือข่าย คอมพิวเตอร์ด้วยเช่นกัน โดยปราศจากการใช้สายสัญญาณในการเชื่อมต่อ แต่จะใช้คลื่นวิทยุเป็นช่องทางการสื่อสาร แทน การรับส่งข้อมูลระหว่างกันจะผ่านอากาศ ท าให้ไม่ต้องเดินสายสัญญาณ และติดตั้งใช้งานได้สะดวกขึ้น ที่ส าคัญ ก็คือ การที่มันไม่ต้องใช้สายท าให้การเคลื่อนย้ายการใช้งานท าได้โดยสะดวก ไม่เหมือนระบบ LAN แบบใช้สาย ที่ต้อง ใช้เวลาและการลงทุนในการปรับเปลี่ยนต าแหน่งการใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์


รูปที่ 2.5 เทคโนโลยีที่ใช้ในการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตไวร์เลส (Wireless) 2.3 ประเภทของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต การเชื่อมส่อระบบอินเทอร์เน็ตนั้น ขึ้นอยู่กับความต้องการในการใช้งานเป็นส าคัญ เช่น ใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อ ค้นหาข้อมูลที่บ้าน ใช้ในเชิงธุรกิจ ใช้เพื่อความบันเทิง หรือใช้ภายในองค์กรขนาดใหญ่ดังนั้น การเชื่อมต่อระบบ อินเทอร์เน็ตจึงมีความแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับปัจจัยด้านความต้องการ รวมทั้งเงินทุนที่จะใช้ในการติดตั้งระบบ ปัจจุบัน การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตที่นิยมใช้มี 5 ประเภท คือ 2.3.1 การเชื่อมต่อแบบหมุนโทรศัพท์ (Dial Up Connection) การเชื่อมต่อแบบหมุนโทรศัพท์เป็นการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตที่เคยได้รับความนิยมในยุคแรก ๆโดยใช้ เครื่องคอมพิวเตอร์บุคคล กับสายโทรศัพท์บ้านที่เป็นสายตรงต่อเชื่อมเข้ากับโมเค็ม (Modem)ก็สามารถใช้งาน อินเทอร์เน็ตได้แล้ว ผู้ใช้บริการอินเทอร์เน็ตต้องท าการติดต่อกับผู้ให้บริการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตผ่านหมายเลข โทรศัพท์บ้าน โดยผู้ให้บริการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตจะก าหนดชื่อผู้ใช้ (Username)และหัสผ่าน (Password) มาให้เพื่อ เข้าใช้บริการอินเทอร์เน็ต สิ่งที่จ าเป็นในการเชื่อมต่อมีดังนี้ 1. เครื่องคอมพิวเตอร์ เป็นอุปกรณ์ส าหรับใช้ในการส่งและรับข้อมูล 2. เว็บบราวเซอร์เป็นโปรแกรมที่ใช้ในการดึงข้อมูลาจากเว็บเซิร์ฟเวอร์ ซึ่งจัดเก็บอยู่ในรูปแบบที่เรียกว่า HTML (HyperText Markup Language) และแปลความหมายของรูปแบบข้อมูลที่ให้ก าหนดเอาไว้เพื่อน าเสนอแก่ผู้ใช้


3. หมายเลขโทรศัพท์และสายโทรศัพท์ ส าหรับเป็นสื่อกลางในการรับส่งข้อมูลข่าวสารโดยผู้ใช้ต้องเสียค าใช้ จ่ายในการโทรศัพท์เพียง 3 บาทต่อครั้งในการต่อเชื่อม 4. โมเด็ม เป็นอุปกรณ์ส าหรับแปลงสัญญาณข้อมูลรองคอมพิวเตอร์ซึ่งอยู่ในรูปแบบติจิทัล(digtal)ให้เป็น สัญญาณข้อมูลรูปแบบแอนะล็อก (anal0g) และเมื่อเป็นผู้ส่งจะแปลงสัญญาณข้อมูลรูปแบบแอนะล็อกให้เป็นดิจิทัล 5. บริการชุดอินเทอร์เน็ตจากผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต (ISP) ซึ่งเปิดโอกาสให้ผู้ใช้บริการสามารถเลือกขอเป็น สมาชิกเป็นรายเดือน รายปี หรืออาจเป็นการซื้อชุดอินเทอร์เน็ตแบบส าเร็จรูป โดยคิดคู่ใช้บริการเป็นหน่วยชั่วโมง บริษัทที่ให้บริการอินเทอร์เน็ตในประเทศไทย เช่น ทีโอที กสท โทรคมนาคมทีทีแอนด์ที่ ล็อกอินโฟ เป็นต้น ข้อดีของการเชื่อมต่อแบบ Dial Up คือ อุปกรณ์มีราคาถูก การติดตั้งง่าย การเคลื่อนย้ายอุปกรณ์ท าได้ง่าย ข้อเสีย คือ อัตราการรับส่งข้อมูลค่อนข้างต่ า เพียงไม่เกิน 56 Kbps (กิโลบิตต่อวินาที) 2.3.2 การเชื่อมต่อแบบ ISDN (Interet Senvices Digital Network) การเชื่อมต่อแบบเป็นการเชื่อมต่อที่คล้ายกับแบบ Dial Up เพราะต้องใช้โทรศัพท์และโมเต็มในการ เชื่อมต่อต่างกันตรงที่ระบบโทรศัพท์เป็นระบบความเร็วสูงที่ใช้เทคโนโลยีระบบติจิทัล (Digtal) และต้องใช้โมเต็มแบบ ISDN Modem ในการเชื่อมต่อ ดังนั้น การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแบบ ISDN จะต้องค านึงถึงสิ่งเหล่านี้ คือ 1. การติดต่อผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต (ISP) ที่ให้บริการการเชื่อมต่อแบบ ISDN 2. การเชื่อมต่อโดยใช้ ISDN Modem ในการเชื่อมต่อ 3. การตรวจสอบสถานที่ที่จะใช้บริการอยู่บริเวณพื้นที่บริการ IรDN ได้หรือไม่พร้อม ๆ กับการเล่น อินเทอร์เน็ต ข้อดีไม่มีสัญญาณรบกวน มีความเร็วสูง และยังคงสามารถใช้โทรศัพท์เพื่อพูดคุยไปได้พร้อมๆ กับการเล่น อินเทอร์เน็ต ข้อเสีย ค าใช้จ่ายสูงกว่าระบบ Dial-Up


2.3.3 การเชื่อมต่อแบบ DSL (Digital Subscritber Line) การเชื่อมสื่อแบบเป็นเทคโนโลยีการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตความเร็วสูงโดยใช้สายโทรศัพท์ธรรมดา ที่สามารถใช้ อินเทอร์เน็ตและพูดผ่านสายพรศัพท์ปกติในเวลาเดียวกัน สิ่งที่ต้องค านึงถึงในการติดตั้งระบบอินเทอร์เน็ตแบบ DS. ก็ คือ 1. การตรวจลอบว่าสถานที่ที่ติดตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ให้บริการระบมโทรศัพท์แบบ DS. หรือไม่ 2. บัญชีผู้ใช้อินเทอร์เน็ตจากผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตในแบบ DSL 3. การเชื่อมต่อต้องใช้ DS. Modem ในการเชื่อมต่อ 4. การติดตั้ง Ethemet Adapter Card หรืe LAN Card ไว้ที่เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการเชื่อมต่อ อินเทอร์เน็ตด้วย ข้อดี มีความเร็วสูงกว่าแบบ Dial-Up และ ISDN ข้อเสีย ไม่สามารถระบุความเร็วที่แน่นอนได้ 2.3.4 การเชื่อมต่อแบนเคเบิล (Cable) การเชื่อมต่อแบบเคเบิล เป็นการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตโดยฝานสายสื่อสารเดียวกับเคเบิลทีวีท าให้มาสามารถ เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตไปพร้อม ๆ กับการดูที่วีได้ โดยต้องจัดหาอุปกรณ์เพิ่มเติม คือ 1. การใช้ Cable Modem เพื่อเชื่อมต่อ 2. การติดตั้ง Ethernet Adapter Card หรือ LAN Card ไว้ที่เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ไปในการเชื่อมต่อ อินเทอร์เน็ต ข้อดีถ้ ามีสายเคเบิลทีวีอยู่แล้ว สามารถเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตได้โดยเพิ่มอุปกรณ์ CableModem ก็สามารถ เชื่อมต่อได้ ข้อเสีย ถ้ ามีผู้ใช้เคเบิลในบริเวณใกล้เคียงมาก อาจท าให้การรับส่งข้อมูลช้าลง


2.3.5 การเชื่อมต่อแบบดาวเทียม (Satellites) การเชื่อมต่อแบบดาวเทียมเป็นการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตที่มีค าใช้จ่ายค่อนช้างสูง ระบบที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน ชียกว่า Direct Broadcat Satelitles หรือ DES โตยผู้ใช้ต้องจัดหาอุปกรณ์เพิ่มเติม คือ 1. จานดาวเทียมขนาด 18-21 นิ้ว เพื่อท าหน้าที่เป็นตัวรับสัญญาณจากดาวเทียม 2. ใ4โมเต็มเพื่อเชื่อมต่อระบบอินเทอร์เน็ต ข้อเสีย 1. ต้องส่งผ่านสายโทรศัพท์เหมือนแบบอื่น ๆ 2. ความเร็วในการรับส่งข้อมูลต่ ามากเมื่อเทียบกับแบบชื่น ๆ 3. ค่าใช้จ่ายสูง รูปที่ 2.6 การเชื่อมต่อเครือข่ายอินเทอร์เน็ต


แบบทดสอบหลังเรียนหน่วยที่2 หลักการท างานของอินเทอร์เน็ต ค าชี้แจง ให้นักเรียนท าเครื่องหมายกากบาท (X) ทับข้อที่เห็นว่าถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว 1. การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตที่บ้านต้องเชื่อมผ่านอุปกรณ์ใด ก. โมเต็ม ข. เราเตอร์ ค. ทีซีพี แสกนเพื่อท าแบบทดสอบ ง, โพรโทคอล 2. โมเด็มคืออะไร ก. อุปกรณ์แปลงสัญญาณชนิดหนึ่ง ข. เครื่องมือในเล่นอินเทอร์เน็ต ค. เครื่องมือในการส่งข้อมูล ง.อุปกรณ์แปลงสัญญาณทั้งสัญญาณ แอนะล็อกและดิจิทัล 3. การก าหนดรหัสผ่านPassword ควรใช้กี่ตัวอักษร ก. มากกว่า 3 ตัว ข. มากกว่า 4 ตัว ค. มากกว่า 5 ตัว ง. มากกว่า 6 ตัว


4. ข้อใดไม่ใช่อุปกรณ์ส าคัญในการเชื่อมต่อเครือข่ายอินเทอร์เน็ตพื้นฐาน ก. เครื่องคอมพิวเตอร์ ข. โมเดีม ค. โทรศัพท์ ง. เราเตอร์ 5. ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ คือข้อใด ก. Chat ข.. Net ค. E-maill ง. Web 6.จุดเด่นที่ท าให้อีเมลได้รับความนิยมคืออะไร? ก. ปลอดภัย ข. ประหยัด ค. รวดเร็ว ง. สะดวก 7. บริการใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์ ก. Download ข. FTP ค. Telnet ง. BBS


8. การบริการในลักษณะของกระดานข่าวหรือบูเลตินบอร์ด คืออะไร ก. UseNet ข. Download ค. IRC ง. Chat 9. ข้อใดไม่ใช่การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต ก. เครื่องคอมพิวเตอร์ ข. โมเต็ม ค. โทรศัพท์ ง. โทรทัศน์ 10.การเชื่อมโยงเครือข่ายอินเทอร์เน็ตบุคคลใช้อุปกรณ์ต่อพ่วงคือ ก. ทีซีพี ข. โมเด็ม ค. เราเตอร์ ง. โพรโทคอล


หน่วยที่ 3 ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต


หน่วยที่3 ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต 3.1 ความหมายและความส าคัญของระบบเครือร่าย 3.2 ประเภทของระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต 3.3 รูปแบบการเชื่อมต่อของระบบเครือข่าย LAN Topology 3.4 อุปกรณ์ที่ใช้ในระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต 3.5 ระบบเครือข่ายไร้สาย 3.6 ค าศัพท์ที่เกี่ยวร้องกับอินเทอร์เน็ต การใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ได้ถูกน ามาใช้งานครั้งแรกในระบบธุรกิจ ซอฟต์แวร์ต่าง ๆถูกออกแบบ มาส าหรับผู้ใช้งานคนเดียว มีพียงส่วนน้อยที่ใช้ในการเชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลหลายเรื่อง ปัจจุบัน เมื่อ คอมพิวเตอร์มีการใช้งานมากขึ้น นักพัฒนาโปรแกรมได้พัฒนาซอฟต์แวร์ที่รองรับการท างานแบบผู้ใช้หลายคน จึงเป็น สาเหตุให้บริษัทต่าง ใ ให้ความส าคัญในการเชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์หลายเครื่องเข้าด้วยกันเป็นระบบเครือข่าย การติดต่อสื่อสารข้อมูลหรือการับส่งสารสนเทระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์กลายมาเป็นสิ่งที่อุตสาหกรรมคอมพิวเตอร์ ต้องให้ความส าคัญ เทคโนโลยีระบบเครือข่ายจึงเป็นเทคโนโลยีที่มีการเจริญเติบโดมากที่สุดในอุตสาหกรรม คอมพิวเตอร์ มีความต้องงการระบบเครือข่ายที่ใหญ่ขึ้นเร็วขึ้น มีความปลอดภัยและมีประสิทธิภาพมากขึ้น แนวคิดส าคัญ (Main Idea) หัวเรื่อง(Topics)


แสดงความรู้เกี่ยวกับระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต 1. บอกความหมายและความส าคัญชองระบบเครือข่ายและระบบเครือข่ายไร้สายได้ 2. บอกประเภทชองระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตและอุปกรณ์ที่ใช้ในระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้ 3. อธิบายรูปแบบการเชื่อมต่อของระบบเครือข่าย LAN Topology 4. บอกค าศัพท์ที่เกี่ยวร้องกับอินเทอร์เน็ตได้ จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม (Behavioral Objectives) สมรรถนะย่อย (Element of Competency)


3.1 ความหมายแความส าคัญของระบบเครือข่าย 3.3.1 ความหมายของระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต อินเทอร์เน็ต (Interne!) หมายถึง เครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดยักษ์ที่เชื่อมต่อกันชั่วโลก โดยมีมาตรฐาน การรับส่งข้อมูลระหว่างกันเป็นหนึ่งเดียว ซึ่งคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องสามารถรับส่งข้อมูลในรูปแบบต่าง ๆ เช่น ตัวอักษร ภาพและเสียงได้รวมทั้งสามารถคันหาข้อมูลจากที่ต่าง ๆ ได้อย่างรวดเร็ว รูปที่ 3.1 แสดงระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต 3.1.2 ความส าคัญของระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตมีมาตรฐานการรับส่งข้อมูลที่ซัดเจน และเป็นหนึ่งเดียวท าให้การเชื่อมต่อ คอมพิวเตอร์คนละชนิดคนละแบบเป็นไปได้อย่างง่ายดาย ไม่ว่าจะเป็นเมนเฟรมคอมพิวเตอร์มินิคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ ส่วนบุคคลชนิดต่าง ๆ อาทิ พีซี แมคอินทอ หรือเครื่องแบบใด ๆ ก็ตามซึ่งโดยทั่วไปแล้วคอมพิวเตอร์ที่ ประกอบกันเข้าเป็นเครือข่ายหลักของอินเทอร์เน็ตมักจะเป็นเครือข่ายของมินิคอมพิวเตอร์ หรือระบบเครือข่าย เนื้อหาสาระ(Content)


ท้องถิ่น (Local Area Network หรือ LAN) และเครือข่ายของเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ บางคนจึงเรียกอินเทอร์เน็ตว่า เป็น "เครือข่ายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์" (Network of Networks) ส่วนคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลทั้งหลายนั้นมักจะ ไม่ได้เชื่อมต่อกับระบบอินเทอร์เน็ตตลอดเวลาเพียงแต่เชื่อมต่อเข้าไปเป็นครั้งคราวเมื่อต้องการใช้งาน การเชื่อมต่อ จากเครือข่ายทั่วโลกโดยทั่วไประบบอินเทอร์เน็ต มีความส าคัญในรูปแบบ ดังนี้ 1. การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัย 2. การติดต่อสื่อสารที่สะดวก และรวดเร็ว 3. แหล่งรวบรวมข้อมูลแหล่งใหญ่ที่สุดของโสก สรุป ความส าคัญของระบบอินเทอร์เน็ต คือ เป็นเครื่องมือที่จ าเป็นส าหรับงานไอที ท าให้เกิดช่องทางในการ เข้าถึงข้อมูลที่รดเร็ว ช่วยในการตัดสินใจ และริหารงานทั้งระดับบุคคลและองค์กร 3.2 ประเภทของระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต 3.2.1 Peer To Peer Peer To Peer เป็นระบบที่เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องบนระบบเครือข่ายมีฐานเท่าเทียมกันคือทุกเรื่อง สามารถจะใช้ไฟในเรื่องอื่นได้ และสามารถให้เครื่องอื่นมาใช้ไฟล์ของตนเองได้เช่นกัน ระบบPeer To Peer มีการ ท างานแบบดิสทรีบิวต์(Distnbuted System) โดยจะกระจายทรัพยากรต่าง ๆ ไปสู่วิรักสตชันอื่น ๆ แต่จะมีปัญหา เรื่องการรักษาความปลอดภัย Peer To Peer คือ Windows for Workgroup และPersonal Netware รูปที่ 3.2 ระบบเครือข่าย Peer To Peer


3.2.2 Client/Server Client/Server เป็นระบบการท างานแบบ Distributed Processing หรือการประมวลผลแบบกระจาย โดย จะแบ่งการประมวลผลระหว่างเครื่องเซิร์ฟเวอร์กับเครื่องไคลเอนต์ แทนที่แอปพลิเคชันจะท างานอยู่เฉพาะบนเครื่อง เซิร์ฟเวอร์ ก็แบ่งการค านวณของโปรแกรมแอปพลิเคชันมาท างานบนเครื่องไคลเอนด์ต้อง และเมื่อใดที่เรื่องไคลเอนด์ ต้องการผลลัพธ์ของข้อมูลบางส่วน จะมีการเรียกใช้ไปยังเครื่องเซิร์ฟแวร์ให้น าเฉพาะข้อมูลบางส่วนเท่านั้นส่งกลับมา ให้เครื่องไคลเอนต์เพื่อท าการค านวณข้อมูลนั้นต่อไป รูปที่ 3.3 แสดงการท างานของ Client/Server 3.3 รูปแบบการเชื่อมต่อของระบบเครือข่าย LAN Topology 3.3.1 แบบบัส (Bus) การเชื่อมต่อแบบบัสจะมีสายหลัก 1 เส้น เครื่องคอมพิวเตอร์เซิร์ฟเวอร์และไคลเอนต์ทุกเครื่องจะต้อง เชื่อมต่อสายเคเบิลหลักเส้นนี้ โดยเครื่องคอมพิวเตอร์จะถูกมองเป็น Node เมื่อเครื่องไคลเอนด์เครื่องที่หนึ่ง (Node A) ต้องการส่งข้อมูลให้กับเครื่องที่สอง (Node C) จะต้องส่งข้อมูล และแอดเดรสของ Node C ลงไปบนบัสสายเคเบิล นี้ เมื่อเครื่องที่ Node C ได้รับข้อมูลแล้วจะน าข้อมูลClient/Clientไปท างานต่อทันที


รูปที่ 3.4 ระบบเครือข่ายแบบบัส 3.3.2 แบบวงแหวน (Ring) การเชื่อมต่อแบบวงแหวน เป็นการเชื่อมต่อจากเครื่องหนึ่งไปยังอีกเครื่องหนึ่งจนครบวงจรในการส่งข้อมูลจะ ส่งออกที่สายสัญญาณวงแหวน โดยจะเป็นการส่งผ่านจากเครื่องหนึ่งไปสู่เครื่องหนึ่งจนกว่าจะถึงเครื่องปลายทาง ปัญหาของโครงสร้างแบบนี้คือ ถ้ามีสายขาดในส่วนใดจะท าให้ไม่สามารถส่งข้อมูลได้ ระบบ Ring มีการใช้งานบน เครื่องตระกูล I8M กันมาก เป็นเครื่องข่าย Token Ring ซึ่งจะใช้รับส่งข้อมูลระหว่างเครื่องมินิหรือเมนเฟรมของ IBM กับเครื่องลูกข่ายบนระบบ Woskstation 1 Woskstation 2 Woskstation 3 Woskstation 4 Woskstation 5


Click to View FlipBook Version