The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by mybaifern, 2019-02-10 13:15:25

บทที่4ซื้อขายแลกเปลี่ยนให้

1















ความหมายและสัญลักษณ์ของสัญญาซื้อขาย






ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 453 บัญญัติว่า


“สัญญาซื้อขาย หมายถึง สัญญาซึ่งบุคคลหนึ่งเรียกว่า ผู้ขาย โอน


กรรมสิทธิ์ แห่งทรัพย์สินให้แก่บุคคลอีกฝ่ายหนึ่งเรียกว่า ผู้ซื้อ และผู้



ซื้อตกลงว่า จะใช้ราคาทรัพย์สินนั้นให้แก่ผู้ขาย” ในทางกฎหมาย


เรียกสัญญาซื้อขาย หรือสัญญาซื้อขายเสร็จเด็ดขาดสัญลักษณ์หนี้ที่


เกิดขึ้นของสัญญาซื้อขายมีดังนี้คือ


ผู้ขายต้องโอนกรรมสิทธิ์ ในทรัพย์สินให้แก่ผู้ซื้อ


ผู้ซื้อต้องใช้ราคาสินค้าแก่ผู้ขาย



ทั้งนี้ลักษณะของสัญญาซื้อขายโดยทั่วไปก็คงตั้งอยู่บนหลักเรื่อง


สัญญา เช่น ต้องมีการท าค าเสนอ ค าสนอง เรื่อองความสามารถของ


บุคคล ตลอดจนวัตถุประสงค์ของสัญญาที่ไม่ต้องห้ามตามกฎหมาย


ไม่ขัดต่อความสงบเรียบร้อยและศีลธรรมอันดีของประชาชน โดย


ทรัพย์สินที่สามารถซื้อขายกันได้ก็จะมีทั้งสังหาริมทรัพย์ และ


อสังหาริมทรัพย์ เว้นแต่ทรัพย์สินบางประเภท ที่กฎหมายห้ามไว้ เช่น



สาธารณสมบัติของแผ่นดิน เป็นต้น

2























































ในสัญญาซ้อขาย ผู้ขายต้องโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินให้แก่


ผู้ซื้อ ผู้ซื้อต้องใช้ราคาสินค้าแก่ผู้ขาย

3

























ตามหลักกรรมสิทธิ์ ในทรัพย์สินจะโอนไปยังผู้ซื้อเมื่อท า


สัญญาซื้อขาย เว้นแต่


1.ถ้าสัญญามีเงื่อนไข หรือเงื่อนเวลา ให้กรรมสิทธิ์ โอนเมื่อ


เงื่อนไขส าเร็จ หรือถึงเงื่อนเวลานั้นแล้ว






2.ถ้าซื้อขายทรัพย์ยังไม่ได้ก าหนดลงแน่นอน กรรมสิทธิ์ จะ


โอนเมื่อชั่ง ตวง วัด หรือคัดเลือกแล้ว






3.หากล าพังแค่การชั่ง ตวง วัด หรือคัดเลือกแล้วยังไม่ทราบ

ราคา ต้องท าให้ทราบราคาเสียก่อน กรรมสิทธิ์ จึงจะโอน

4





ตัวอย่าง





นายแดงเสนอขายแหวนเพชรให้นายด า นายด าตอบตกลงซื้อ

สัญญาซื้อขายแหวนเพชรเกิดขึ้นทันที กรรมสิทธิ์ ในแหวนเพชร



โอนแก่นายด า -นายแดงเปิดร้านขายส้มเขียวหวาน ราคา


กิโลกรัมละ 35 บาท นายด าเดินผ่านมา ตั้งใจจะซื้อไปให้เพื่อนที่


ท างานรับประทานกันก่อนเข้างานตอนบ่าย ถึงขอถุงจากนายแดง



1 ใบ และเลือกส้มใส่ถุงและส่งให้นายแดงเพื่อชั่งและคิดเงิน

กรณีนี้กรรมสิทธิ์ ในส้มเขียวหวานที่ได้ตวงใส่ถุงนั้น






นายแดงบอกนายด าว่าหากตนสอบติดที่


มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จะขอซื้อมอเตอร์ไซค์จากนายด า นายด า


ตอบตกลง แต่ทันทีที่ตอบตกลง กรรมสิทธิ์ ในมอเตอร์ไซค์จะยังไม่



โอนไปที่นายแดง เพราะเงื่อนไขคือการสอบเข้า


มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ยังไม่ส าเร็จ


นายแดงบอกนายด าว่าสิ้นเดือนจะมาซื้อนาฬิกาของนายด า


นายด าตอบตกลง แต่ทันทีที่ตอบตกลง กรรมสิทธิ์ ยังไม่โอน



เพราะยังมีไม่ถึงเงื่อนเวลา

5



ตัวอย่าง




นายแดงเปิดร้านขายสาคูไส้หมู ราคาลูกละ 1.50 บาท หรือ 1


ชุดมี 20 ลูก ราคา 30 บาท นายด าบอกนายแดงว่าเอาสาคูไส้


หมู หนึ่งชุด นายแดงตอบตกลง ทันทีที่นายแดงตอบตกลงนั้น


กรรมสิทธิ์ ในสาคูไส้หมูยังไม่โอน ต้องรอให้นายแดงจิ้มสาคูไส้หมู


ในถาดใส่กล่องให้เรียบร้อยเสียก่อน






นายแดงเปิดร้านขายส้มเขียวหวาน ราคากิโลกรัมละ 35 บาท


นายด าเดินผ่านมา ตั้งใจจะซื้อไปให้เพื่อนที่ท างานรับประทานกัน


ก่อนเข้างานตอนบ่าย ถึงขอถุงจากนายแดง 1 ใบ และเลือกส้มใส่


ถุงและส่งให้นายแดงเพื่อชั่งและคิดเงิน กรณีนี้กรรมสิทธิ์ ใน



ส้มเขียวหวานที่ได้ตวงใส่ถุงนั้นยังไม่โอนต้องรอให้นายด าชั่งส้ม


และคิดค านวณออกมาเป็นจ านวนเงินเสียก่อน





กรรมสิทธิ์ในสินค้าจะโอน


มายังผู้ซื้อเมื่อสินค้านั้นเป็น


ทรัพย์เฉพาะสิ่ง คือ



ก าหนดไว้ว่าชิ้นใด


หรือมีราคาเท่าใด

6




















การซื้อขายสินค้าโดยปกติจะไม่มีแบบ นั่นคือ แม้กล่าวตกลงด้วย


วาจาสัญญาก็เกิดขึ้นได้ แต่กฎหมายได้ก าหนดให้มีข้อยกเว้นไว้



ส าหรับทรัพย์สินบางประเภทที่จะท าการซื้อกันได้นั้นต้องท าตาม


แบบไว้ดังนี้คือ


1. การซื้อขายอสังหาริมทรัพย์


2. การซื้อขายสังหาริมทรัพย์พิเศษ


การซื้อขายทรัพย์ประเภทนี้ต้องท าตามแบบคือ ต้องท าเป็น


หนังสือและจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ ถ้าไม่ตามแบบที่



กฎหมายก าหนดจะมีผลเป็นโมฆะท าให้ทั้งฝ่ายไม่มีสิทธิหน้าที่ต่อกัน


อนึ่งการซื้อขายอสังหาริมทรัพย์หรือสังหาริมทรัพย์พิเศษใน


ข้างต้นจ าเป็นต้องพิจารณาว่าการซื้ออสังหาริมทรัพย์มาใช้นั้นต่อ


สภาพเดิมหรือไม่หากซื้อมาเพื่อให้ทรัพย์นั้นโดยสภาพแล้วสลายไปก็



ไม่ต้องท าเป็นหนังสือและจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ เช่น


ต้องการซื้อบ้านไม้โบราณเพื่อรื้อน าไปปลูกในอีกที่หนึ่งไม่ต้องท าเป็น


หนังสือและจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่

7
























โดยหลักแล้วเมื่อค าเสนอตรงกับค าสนองแล้วสัญญาจะ


เกิดขึ้น และเมื่อสัญญาเป็นบ่อเกิดแห่งหนี้ลักษณะหนึ่งก็เท่ากับว่า


เมื่อสัญญาเกิดคู่สัญญาก็จะเกิดสิทธิหน้าที่ระหว่างกันและกัน หาก


ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งผิดสัญญา อีกฝ่ายหนึ่งก็สามารถฟ้องให้รับผิดตาม


สัญญาได้ ในเรื่องซื้อขายก็เช่นเดียวกัน เมื่อสัญญาซื้อขายเกิดขึ้น



หากฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งผิดสัญญาก็น ามาสู่สิทธิการฟ้องร้องคดี แต่เมื่อ


สัญญาซื้อขายเป็นสัญญาหลักเกณฑ์เรื่อง การซื้อขายบางประการ


ที่จะน าไปสู่สิทธิในการน าเรื่องฟ้องร้องต่อศาลได้ ดังนี้คือ


สัญญาจะซื้อจะขายอสังหาริมทรัพย์และสังหาริมทรัพย์พิเศษ


สัญญาซื้อขายสังหาริมทรัพย์ซึ่งมีราคาตั้งแต่ 20,000 บาท



จะต้อง มีหลักฐานเป็นหนังสือลงลายมือชื่อผู้ต้องรับผิด หรือวางเงิน


ประจ าไว้ หรือช าระหนี้บางส่วนจึงจะสามารถฟ้องร้องคดีต่อศาลได้

8








ตัวอย่าง



นายแดงตกลงด้วยวาจาจะซื้อบ้านจากนายด า และนายด าตกลง



จะขายเช่นกันต่อมานายแดงเปลี่ยนใจไม่ซื้อ นายด าก็ฟ้องร้อง


นายแดงไม่ได้ เพราะไม่มีหลักฐานเป็นหนังสือลงลายมือชื่อนาย


แดง (ซึ่งซึ่งเป็นผู้รับผิดในกรณีนี้) หรือไม่มีการวางเงินประจ า


หรือไม่มีการช าระหนี้บางส่วน

9





















การซื้อขายเฉพาะบางอย่าง หมายถึง การซื้อขายที่มีลักษณะ


แตกต่างจากการซื้อขายทั่วๆไป แต่โดยหลักแล้วยังใช้บทบัญญัติ



ว่าด้วยการซื้อขายมาใช้บังคับ ได้แก่ ขายฝาก ขายตามตัวอย่าง



ขายตามค าพรรณนา ขายเผื่อชอบ และขายทอดตลาด






ขายฝาก


ขายฝาก คือ สัญญาซื้อขายซึ่งผู้ขายฝากโอนกรรมสิทธิ์ ในทรัพย์สิน



ไปยังผู้ซื้อฝาก โดยผู้ขายฝากอาจไถ่ทรัพย์สินคืนได้ตามข้อตกลง.






ขายตามตัวอย่าง ขายตามค าพรรณนา ขายเผื่อชอบ


ขายตามตัวอย่าง หมายความว่า มีตัวอย่างทรัพย์ที่จะขายให้ผู้


ซื้อดู และขายสินค้าแบบเดียวกับตัวอย่างนั้นให้กับผู้ซื้อ เช่น เวลามี


เซลส์แมนมาขายเครื่องกรองน ้า หรือเครื่องท าป๊อปคอร์นและสาธิต



วิธีใช้ให้ดู หากผู้ซื้อตกลงซื้อ ผู้ขายก็ไม่ได้มอบชุดสาธิตให้แต่จะขาย


เครื่องอื่นๆที่ตนน าติดมาด้วยให้

10




ขายตามค าพรรณนา หมายความว่า ผู้ขายขายสินค้าที่ผู้ซื้อ


ไม่ได้เห็นตัวสินค้าจริงๆ แม้จะเห็นเป็นรูปภาพเคลื่อนไหวสาธิต



การใช้งาน ก็ยังเป็นการขายตามค าพรรณนาดังเช่น สินค้าตาม


ใบปลิวของห้างค้าปลีก การโฆษณาขายเครื่องออกก าลังกายใน


โทรทัศน์


เป็นต้น






ขายเผื่อชอบ หมายความว่า การซื้อขายกันโดยมีเงื่อนไขให้ผู้


ซื้อได้ตรวจดูทรัพย์สินก่อนที่จะตกลงซื้อ โดยผู้ขายอาจจะ


ก าหนดเวลาให้ผู้ซื้อได้ตรวจดูสินค้าและถือว่าสัญญาจะบริบูรณ์


เมื่อเกิดกรณีใดกรณีหนึ่งดังต่อไปนี้คือ


1. ผู้ซื้อไม่บอกว่าตนไม่รับซื้อในช่วงระยะเวลาที่ผู้ขายก าหนด



2.ผู้ซื้อไม่ส่งทรัพย์สินคืนในเวลาที่ก าหนด


3. ผู้ซื้อช าระราคาทั้งหมดหรือบางส่วน


4. ผู้ซื้อน าทรัพย์นั้นไปจ าหน่ายต่อ หรือแสดงโดยปริยายว่ารับ


ซื้อของนั้น เช่น ท าลายทรัพย์นั้นเสีย เป็นต้น

11




ขายทอดตลาด



ขายทอดตลาด มีลักษณะเดียวกับค าว่าการประมูล


อย่างที่เราเข้าใจหรือเคยพบเห็นในภาพยนตร์ที่มีการ


ก าหนดให้มีการสู้ราคากันในการซื้อทรัพย์สินหนึ่งๆ และ



หากผู้เสนอราคาและไม่มีผู้ที่สู้ราคาต่อ ผู้ด าเนินการ


ทอดตลาดก็จ าท าการเคาะไม้ เพราะกฎหมายก าหนดว่า


การขายทอดตลาดจะบริบูรณ์เมื่อมีการเคาะไม้หรือวิธีอื่น


ใดตามจารีตประเพณี

































ในการขายทอดตลาด ผู้สู้ราคาจะพ้นความผูกพัน


เมื่อมีผู้สู้ราคาที่สูงกว่า

12




















การแลกเปลี่ยน คือ สัญญาซึ่งคู่กรณีต่างโอนกรรมสิทธิ์ แห่ง


ทรัพย์สินให้แก่กันและกันซึ่งคู่สัญญานั้นมุ่งที่จะตกลงน ากรรมสิทธิ์ ใน



ทรัพย์สินมาแลกเปลี่ยน


ตามบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์จะเห็น


ได้ว่า สัญญาแลกเปลี่ยนเป็นสัญญาท านองเดียวกันกับสัญญาซื้อ


ขาย โดยมุ่งหมายให้มีการโอนกรรมสิทธิ์ ในทรัพย์สินเป็นการช าระ



หนี้ตอบแทน แต่ผิดสัญญาซื้อขายในข้อที่ว่า สัญญาแลกเปลี่ยนเป็น


การโอนกรรมสิทธิ์ ในทรัพย์แลกกับทรัพย์ไม่ใช่กับตัวเงิน ซึ่งมาตรา


518 บัญญัติว่า อันว่าจะแลกเปลี่ยนนั้น คือ สัญญาซึ่งคู่กรณีต่างโอน


กรรมสิทธิ์ แห่งทรัพย์สินให้กันและกัน การ


แลกเปลี่ยนนั้นให้น าบัญญัติว่าด้วยการซื้อขายมาใช้บังคับ และถ้ามี



การแลกเปลี่ยนและเพิ่มเงินก็ให้น าบทบัญญัติว่าด้วยราคาในเรื่องซื้อ


ขายมาใช้ด้วย เช่น แบบของการซื้อขาย การส่งมอบ ความรับผิดใน


การช ารุดบกพร่อง เป็นต้น

13


















การให้ คือ สัญญาซึ่งบุคคลหนึ่งเรียกว่า ผู้ให้ โอน


ทรัพย์สินของตนให้แก่บุคคลอีกคนหนึ่งเรียกว่า ผู้รับ



ยอมรับเอาทรัพย์สินนั้น โดยการให้สมบูรณ์ต่อเมื่อส่งมอบ


ทรัพย์สินที่ให้ ดังนั้นถ้าไม่มีการส่งมอบการให้ก็ไม่สมบูรณ์


เมื่อการให้ไม่สมบูรณ์ก็ไม่จัดว่ามีสัญญา ดังนั้นจึงไม่


สามารถฟ้องร้องให้มีการให้ได้ เช่น นายแดงบออกนายด า



ว่าจะให้เงิน 3,000 บาท เอาหรือไม่ นายด าบอกว่าเอา


ต่อมานายแดงไม่ให้ นายด าจะฟ้องนายแดงว่าผิดสัญญา


ไม่ได้ เพราะสัญญาให้ยังไม่เกิด


























โดยปกติสัญญาให้สมบูรณ์เมื่อมีการส่งมอบ

14










การให้ปกติแล้วเป็นสัญญาที่ไม่มีแบบ เพียงแต่งต้องการมีการ


ส่งมอบแต่กฎหมายได้ก าหนดเรื่องการให้อสังหาริมทรัพย์พิเศษที่


จะต้องท าเป็นหนังสือและจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ด้วย


และการให้ในกรณีนี้ ถ้าบุคคลท าตามแบบแล้วแม้ไม่มีการส่งมอบก็



ถือว่าสัญญาสมบูรณ์





ส าหรับการให้นั้นมีลักษณะพิเศษคือมีบทบัญญัติเกี่ยวกับการ


ถอนคืนการถอนคืนการให้ฐานเนรคุณได้แต่ค าว่าเนรคุณนั้นจะต้อง



เป็นกรณีต่อไปนี้คือ


1.ผู้รับประทุษร้ายต่อให้ผู้เป็นความผิดฐานอาญาอย่างร้ายแรง


2.ผู้รับท าให้ผู้เสียชื่อเสียง


3.ผู้รับหมิ่นประมาทผู้ให้อย่างร้ายแรง


4.หากผู้รับมีความสามารที่จะตอบแทนสิ่งจ าเป็นแก่ผู้ให้ในยาม


ยากไร้แต่ผู้รับปฏิเสธการตอบแทนนั้น

คณะผู้จัดท า



















































นางสาวฮิลมีย์ สร้างบุญ (ฮิล)



เลขที่ 9 ปวส.1/5 แผนกการบัญชี

นางสาวพัชรี วงศ์แสนสาน (จอย)


เลขที่ 28 ปวส.1/5 แผนกการบัญชี

นางสาวหทัยชนก สัตย์ซื่อ (ใบเฟิร์น)



เลขที่ 40 ปวส.1/5 แผนกการบัญชี


Click to View FlipBook Version