The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

นางเฉลย ศุขะวณิช

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by 42437, 2022-01-06 12:08:03

นางเฉลย ศุขะวณิช

นางเฉลย ศุขะวณิช

นางเฉลย ศุขะวณิช




โดย กลุ่มกาลสูร ๕/๘

ชีวประวัติ

นางเฉลย ศุขะวณิช
ศิลปินแห่งชาติ สาขา

ศิลปะการ
แสดง(นาฏศิลป์)
นางเฉลย ศุขะวณิช เกิด
เมื่อวันที่ ๑๑ พฤศจิกายน
พุทธศักราช ๒๔๔๗ เป็นผู้
เชี่ยวชาญการสอนและ
ออกแบบนาฏศิลป์ไทย
แห่งวิทยาลัยนาฏศิลป์
กรมศิลปากร เป็นศิลปิน

อาวุโส

ซึ่งมีความรู้ความสามารถสูงใน กระบวนท่ารำทุกประเภท
เป็นผู้อนุรักษ์แบบแผนเก่า และยังได้สร้างสรรค์และประดิษฐ์
ผลงานด้านนาฏศิลป์ ขึ้นใหม่มากมาย ซึ่งกรมศิลปา กรและ
วงการนาฏศิลป์ทั่วประเทศได้ถือเป็นแบบ ฉบับของศิลปะการ
ร่ายรำสืบทอดต่อมาจน ถึงทุกวันนี้ ทางราชการได้มอบหมาย
ให้ เป็นผู้วางรากฐานจัดสร้างหลักสูตรการเรียน การสอนวิชา
นาฏศิลป์ตั้งแต่ระดับต้นจนถึงขั้น ปริญญา นิเทศการสอนใน

วิทยาลัยนาฏศิลป์ทุกสาขาทั้งใน ส่วนกลางและภูมิภาค
ถ่ายทอดวิชาความรู้ทาง ด้านนาฏศิลป์แก่นักศึกษามาตลอด
เวลากว่า ๔๐ ปี จนถึงปัจจุบัน ให้คำปรึกษาด้านวิชาการแก่
สถาน ศึกษาและสถาบันต่าง ๆ เป็นผู้มีความเมตตาเอื้อ อารี
อุทิศตนเพื่อประโยชน์แก่การศึกษาและงานศิลป์ อย่างต่อ
เนื่อง จนสามารถแสดงให้แพร่หลายออกไป อย่างกว้างขวาง
ทั้งในและนอกพระราชอาณาจักร ได้รับปริญญาครุศาสตร์

บัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชานาฏศิลป์ สหวิทยาลัย
รัตนโกสินทร์ วิทยาลัยครูบ้านสมเด็จเจ้าพระยา

การศึกษา

ได้เรียนวิสามัญระดับประถม ศึกษา ที่โรงเรียน
ราษฎร์ใกล้บ้าน มีความรู้พอ อ่านออกเขียนได้ เมื่ออายุ
ประมาณ ๗ ขวบ มารดาได้ พาไปฝากไว้ให้อยู่ในความ
อุปการะของคุณ หญิงจรรยายุทธกิจ (เอี่ยม ไกรฤกษ์)
ต่อมา ได้ติดตามไปอยู่กับคุณท้าวนารีวรคณา รักษ์ (เจ้า
จอมแจ่มในรัชกาลที่ ๕) ซึ่งเป็นพี่สะใภ้ของคุณหญิง
จรรยาฯ เพื่อฝึก หัดละครเมื่อได้มาอยู่กับคุณท้าวนารีฯ ณ
วังสวนกุหลาบแล้วนายเฉลยก็ได้มีโอกาส ฝึกหัดละครจน
กระทั่งได้รับ การถวายตัวกับ สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมหลวง
นครราชสีมา และได้อยู่ใน ความดูแลรับการฝึกฝนเป็น
พิเศษจากท่าน ครูและท่านผู้ชำนาญการละครอีกหลาย
ท่าน อาทิ หม่อมครูนุ่ม หม่อมในกรมหมื่นสถิตธำรงสวัสดิ์
(พระองค์เจ้าเนาวรัตน์) หม่อมในสมเด็จเจ้าพระยาบรม
มหาศรีสุริยวงศ์(ช่วง บุนนาค) เจ้าจอม มารดาเขียนใน
รัชกาลที่ ๔ เจ้าจอมมารดาสาย และเจ้าจอมละม้ายใน
รัชกาลที่ ๕

นอกจากนี้ ยังได้ฝึกหัดขับร้องสักวา และเพลงในการ
แสดงละครดึกดำบรรพ์รวมทั้ง ดนตรี-ปี่ พาทย์ด้วย โดยได้

ศึกษากับท่านครู ผู้ใหญ่ เช่น
หม่อมมาลัย หม่อมจันทร์ หม่อมอุบ และหม่อม
เพื่อน(หม่อมในเจ้าพระยาเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์ หม่อม

ราชวงศ์หลาน กุญชรฯ) เป็นต้น





ร ต่อมาได้มีโอกาส แสดงละครประเภทต่าง ๆ เช่น
ละครนอก ละครใน และ ละครดึกดำบรรพ์ โดยได้รับ
ท บทเป็นตัวเอก ของเรื่องแทบทุกครั้งจนกระทั่งอายุได้
ำ ๒๑ ปี จึงได้สมรสกับพระยาอมเรศร์สมบัติ (ต่วน ศุ
ง ขะวณิช) ซึ่งดำรงตำแหน่งเจ้ากรมกองผลประโยชน์
า พระคลังข้างที่ หลังจากสมรส สามีขอร้องให้ เลิกการ
น แสดงท่านจึงต้องอำลาจากเวทีละครและ ปฏิบัติหน้าที่
แม่บ้านเพียงอย่างเดียว นางเฉลยมี บุตรและธิดากับ
พระยาอมเรศร์สมบัติ ๔ คน และเมื่ออายุ ๔๓ ปี พระ
ยาอมเรศร์สมบัติผู้สามีถึง แก่อนิจกรรม นางเฉลยจึง

ได้กลับคืนมาสู่ วงการนาฏศิลป์ อีกครั้งหนึ่ง



นอกจากนั้น ท่านยังเป็นผู้มีความสามารถในการจัดการ
เรียนการสอนวิชานาฏศิลป์ เป็นผู้หนึ่งที่มีส่วนร่วมใน
การร่างหลักสูตรวิชานาฏศิลป์ ไทยระดับนาฏศิลป์ ชั้น
ต้น จนถึงระดับปริญญา เป็นผู้พัฒนาหลักสูตรและสื่อ
การเรียนการสอนระดับปริญญา วิทยาลัยนาฏศิลป์

สมทบใน คณะนาฏศิลป์ และดุริยางค์วิทยาลัย
เทคโนโลยีและอา ชีวศึกษาให้ก้าวหน้าทันต่อวัตกรรม

ทางการ ศึกษา เป็นผู้คิดริเริ่มสร้างสรรค์ รู้จัก
ประดิษฐ์ ลีลาท่ารำระบำต่าง ๆ ตลอดจนการแสดงให้

ผสมผสานตามยุค ตามโอกาสและสมัยนิยม

ประวัติการรับราชการ

๑.) รับราชการในปี พ.ศ.๒๕๐๐ คุณครูเฉลย อายุได้ ๕๓ ปี คุณ
ครูลมุลได้ชักชวนให้ท่านมาเป็นครูสอนละครนาง ณ โรงเรียนนาฏ
ดุริยางคศาสตร์ (วิทยาลัยนาฏศิลปในปัจจุบัน) เพื่อสอนแทน
หม่อมครูต่วน (ศุภลักษณ์ ภัทรนาวิก) ซึ่งถึงแก่กรรม

๒.) คุณครูเฉลย ได้สร้างคุณูปการมากมายให้แก่วิทยาลัยนาฏ
ศิลป กรมศิลปากร และวงการนาฏศิลป์ไทย จนได้รับการยกย่อง
เป็น “ศิลปินแห่งชาติ” สาขาศิลปะการแสดง ประจำปีพ.ศ.๒๕๓๐
สิ่งที่นับว่าเป็ นเกียรติยศสูงสุดของชีวิตความเป็ นครูของคุณครู
เฉลย ศุขะวณิช คือ การได้ถวายการสอนแด่องค์สมเด็จพระเทพ
รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

๓.) ครูชำนาญการพิเศษ สาขานาฏศิลป์ไทย (โขน
ยักษ์)วิทยาลัยนาฏศิลปเชียงใหม่ สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ วัน
ที่ ๘ พฤศจิกายน ๒๕๕๒ นักเรียนนักศึกษาวิทยาลัยนาฏศิลป
ทุกคน เมื่ออ่านประวัติรำ ระบำ หรือฟ้ อน ที่อยู่หนังสูตร มักจะ
พบชื่อของครู ๒ ท่าน คือ คุณครูเฉลย ยมุปต์ (พระ) และ
คุณครูเฉลย ศุขะวณิช (นาง) อยู่เสมอๆ คุณครูทั้ง ๒ ท่านถือได้
ว่าเป็นผู้วางรากฐานให้วิทยาลัยนาฏศิลป จนมีความแข็งแกร่ง
ด้านวิชาการนาฏศิลป์ไทยมาจนถึงปัจจุบัน คนในวงการนาฏ
ศิลปต่างเรียนคุณครูทั้ง ๒ ท่านว่า “แม่” ทุกครั้ง เพราะท่าน
เปรียบประดุจ “แม่คนที่สอง” ของศิษย์เก่านาฏศิลปทุกแห่งทั่ว
ประเทศ

๔.) ต่อมาท่านรับราชการจนเกษียณอายุเมื่อ พ.ศ.๒๕๐๗
และได้ดำรงตำแหน่งผู้เชี่ยวชาญการสอนนาฏศิลป์ ประจำ
วิทยาลัยนาฏศิลป กรมศิลปากร จนสิ้นอายุของท่าน เมื่อวันที่
๑๔ เมษายน ๒๕๔๔ รวมอายุท่านได้ ๙๖ ปี

ผลงานด้านศิลปะ
การแสดงนาฏศิลป์

ไทย



ผลงานด้านการประดิษฐ์
ท่ารำและระบำ

น า ง เ ฉ ล ย ศุ ข ะ ว ณิ ช

ผ ล ง า น ด้ า น ก า ร ป ร ะ ดิ ษ ฐ์ ท่ า รำ แ ล ะ ร ะ บำ

ผ ล ง า น ด้ า น ก า ร ป ร ะ ดิ ษ ฐ์ ท่ า รำ แ ล ะ ร ะ บำ

ผ ล ง า น ด้ า น ก า ร ป ร ะ ดิ ษ ฐ์ ท่ า รำ แ ล ะ ร ะ บำ

จ า ก ผ ล ง า น ต่ า ง ๆ นี้ ทำ ใ ห้ น า ง เ ฉ ล ย ศุ ข ะ ว ณิ ช
ไ ด้ รั บ ก า ร ย ก ย่ อ ง แ ล ะ ไ ด้ รั บ เ กี ย ร ติ คุ ณ ต่ า ง ๆ
ม า ก ม า ย เ ช่ น ไ ด้ รั บ เ ค รื่ อ ง ร า ช อิ ส ริ ย า ร ณ์ ต ริ
ต ร า ภ ร ณ์ ม ง กุ ฎ ไ ท ย ( ต . ม . ) รั บ พ ร ะ ร า ช ท า น โ ล่
กิ ต ติ คุ ณ จ า ก ส ม เ ด็ จ พ ร ะ เ ท พ รั ต น ร า ช สุ ด า ฯ

ส ย า ม บ ร ม ร า ช กุ ม า รี ใ น ง า น เ ชิ ด ชู เ กี ย ร ติ
ศิ ล ปิ น อ า วุ โ ส เ นื่ อ ง ใ น ว โ ร ก า ส ง า น ส ม โ ภ ช
ก รุ ง รั ต น โ ก สิ น ท ร์ ๒ ๐ ๐ ปี ซึ่ ง ธ น า ค า ร ก รุ ง เ ท พ
จำ กั ด เ ป็น ผู้ จั ด เ มื่ อ วั น ที่ ๑ ๙ พ ฤ ษ ภ า ค ม ๒ ๕ ๒ ๕
แ ล ะ รั บ พ ร ะ ร า ช ท า น ป ริ ญ ญ า กิ ต ติ ม ศั ก ดิ์ ส า ข า
น า ฏ ศิ ล ป์ ไ ท ย วิ ท ย า ลั ย ค รู บ้ า น ส ม เ ด็ จ เ จ้ า พ ร ะ ย า

พ. ศ.๒๕๓๐

น า ง เ ฉ ล ย ศุ ข ะ ว ณิ ช

จั ด ทำ โ ด ย

กาลสูร

ก ลุ่ ม ๓ ม . ๕ / ๘

ส ม า ชิ ก

นายกิตติพศ หงษ์ทอง เลขที่ 3 นายณัฐชนน แป้นชาตรี เลขที่ 7

นายธัญพิสิษฐ์ บุญสุภาพ เลขที่ 11 นายพีรพัฒน์ ดีชู เลขที่ 15

นายยศธร ชาญสวัสดิ์ เลขที่ 19 นายสิรวิชญ์ ดอกบัว เลขที่ 23

นางสาวธัญวรัตน์ นิลมา เลขที่ 27 นางสาวพรกนก ทองคำ เลขที่ 31

นางสาวรุ่งวราภร อรรถพร เลขที่ 35


Click to View FlipBook Version