The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เครือข่ายและอินเทอร์เน็ต

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Monthathip Thiamniam, 2023-03-05 09:39:36

เครือข่ายและอินเทอร์เน็ต

เครือข่ายและอินเทอร์เน็ต

ประโยชน์และตัวอย่างกิจกรรมบนระบบเครือข่าย ชนิดของเครือข่าย อุปกรณ์เครือข่าย (Network Media) ชนิดของการสื่อสาร (DSL,Cable) ชนิดของ Software ที่ใช้กับ Client และ Server บริการในเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ข้อจำ กัดของระบบเครือข่าย เครือ รื ข่า ข่ ย และอินเทอร์เ ร์ น็ต น็


คำ นำ หนังสือเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาทักษะในศตวรรษที่ 21 ใช้เพื่อศึกษาเครือข่ายและอินเทอร์เน็ต และให้ความรู้กับผู้ที่สนใจ คณะผู้จัดทำ คาดหวังเป็นอย่างยิ่งจะเป็นประโยชน์กับผู้ที่ สนใจจะศึกษา หากมีข้อผิดพลาดประการใดขออภัย ณ ที่นี้ คณะผู้จัดทำ


ประโยชน์และตัวอย่างกิจกรรมบนระบบเครือข่าย ชนิดของเครือข่าย อุปกรณ์เครือข่าย (Network Media) ชนิดของการสื่อสาร (DSL,Cable) ชนิดของ Software ที่ใช้กับ Client และ Server บริการในเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ข้อจำ กัดของระบบเครือข่าย 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. สารบัญ เรื่อง หน้า 4 8 13 15 16 17 19


1.ประโยชน์และตัวอย่างกิจกรรมบนระบบเครือข่าย 1.1 ประโยชน์ของเครือข่าย ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์หนึ่งเครือ ข่ายจะมีการทำ งานรวมกันเป็น ป็ กลุ่ม ที่เรียกว่า กลุ่มงาน (workgroup) แต่เมื่อเชื่อมโยงหลายๆ กลุ่มงานเข้าด้วยกัน ก็จะเป็น ป็ เครือข่ายขององค์กร และถ้าเชื่อมโยงระหว่างองค์กรผ่านเครือข่ายแวนก็ จะได้เครือข่ายขนาดใหญ่ขึ้น การประยุกต์ใช้งานเครือข่ายคอมพิวเตอร์เป็น ป็ ไป อย่างกว้างขวางและสามารถใช้ ประโยชน์ได้มากมายทั้งนี้เพราะระบบเครือข่าย คอมพิวเตอร์ ทำ ให้เกิดการเชื่อมโยงอุปกรณ์ต่างๆ เข้าด้วยกัน และสื่อสารข้อมูล ระหว่างกันได้ 1.2 ประโยชน์ของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ การใช้อุปกรณ์ร่วมกัน (Sharing of peripheral devices) เครือข่าย คอมพิวเตอร์ทำ ให้ผู้ใช้ สามารถใช้อุปกรณ์ รอบข้างที่ต่อพ่วงกับระบบ คอมพิวเตอร์ ร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ เช่นเครื่องพิมพ์ ดิสก์ไดร์ฟ การใช้โปรแกรมและข้อมูลร่วมกัน (Sharing of program and data) เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ทำ ให้ผู้ใช้สามารถใช้โปรแกรม และข้อมูลร่วมกันได้ โดยจัดเก็บโปรแกรมไว้แหล่งเก็บข้อมูลที่เป็น ป็ ศูนย์กลาง เช่น ที่ฮาร์ดดิสก์ ของเครื่อง File Server ผู้ใช้สามารถใช้โปรแกรมร่วมกัน ได้จากแหล่ง เดียวกัน ไม่ต้องเก็บโปรแกรมไว้ในแต่ละเครื่อง ให้ซ้ำ ซ้อนกัน สามารถติดต่อสื่อสารระยะไกลได้ (Telecommunication) การเชื่อมต่อ คอมพิวเตอร์ เป็น ป็ เครือข่าย ทั้งประเภทเครือข่าย LAN , MAN และ WAN ทำ ให้คอมพิวเตอร์ สามารถสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล ระยะไกลได ้โดยใช้ ซอฟต์แวร์ประยุกต์ทาง ด้านการติดต่อสื่อสาร โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในระบบ เครือข่ายอินเทอร์เน็ต มีการให้บริการต่าง ๆ มากมาย เช่น การโอนย้ายไฟล์ ข้อมูล การใช้จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Mail) การสืบค้นข้อมูล (Search Engine) เป็น ป็ ต้น ซีดีรอม สแกนเนอร์ โมเด็ม เป็น ป็ ต้น ทำ ให้ประหยัดค่าใช้จ่าย ไม่ต้องซื้อ อุปกรณ์ที่มีราคาแพง เชื่อมต่อพ่วงให้กับคอมพิวเตอร์ทุกเครื่อง


สามารถประยุกต์ใช้ในงานด้านธุรกิจได้ (Business Applicability) ความประหยัด นับเป็นการลงทุนที่คุ้มค่า อย่างเช่นในสำ นักงานหนึ่งมี ความเชื่อถือได้ของระบบงาน นับเป็นสิ่งที่สำ คัญสำ หรับการดำ เนินธุรกิจ องค์กรธุรกิจ มีการเชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เพื่อประโยชน์ทางธุรกิจ เช่น เครือข่ายของธุรกิจธนาคารธุรกิจการบิน ธุรกิจประกันภัย ธุรกิจการท่องเที่ยว ธุรกิจหลักทรัพย์ สามารถดำ เนินธุรกิจได้อย่างรวดเร็ว ตอบสนองความพึงพอใจ ให้แก่ลูกค้าในปัจจุบัน เริ่มมีการใช้ประโยชน์จากเครือข่าย Internet เพื่อทำ ธุรกิจ เช่นการสั่งซื้อสินค้า การจ่ายเงินผ่านระบบธนาคาร เป็นต้น เครื่องอยู่ 30 เครื่อง หรือมากกว่านี้ถ้าไม่มีการนำ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ มาใช้ จะเห็นว่าต้องใช้เครื่องพิมพ์อย่างน้อย 5 - 10 เครื่อง มาใช้งาน แต่ถ้ามี ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์มาใช้แล้วละก็สามารถใช้อุปกรณ์ หรือเครื่องพิมพ์ ประมาณ 2-3 เครื่องก็พอต่อการใช้งานแล้ว เพราะว่าทุกเครื่องสามารถเข้าใช้ เครื่องพิมพ์เครื่องใดก็ได้ ผ่านเครื่องอื่นๆที่ในระบบเครือข่ายเดียวกัน ถ้าทำ งานได้เร็วแต่ขาดความน่าเชื่อถือก็ถือว่าใช้ไม่ได้ ไม่มีประสิทธิภาพ ดังนั้น เมื่อนำ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ มาใช้งานทำ ระบบงานมีประสิทธิภาพ มีความน่าเชื่อถือของข้อมูล เพราะจะมีการทำ สำ รองข้อมูลไว้ เมื่อเครื่องที่ใช้งาน เกิดมีปัญหาก็สามารถ นำ ข้อมูลที่มีการสำ รองมาใช้ได้ อย่างทันที 1.ประโยชน์และตัวอย่างกิจกรรมบนระบบเครือข่าย 1.2 ประโยชน์ของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์


โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ “การดำ เนินกิจกรรมบนเครือข่ายสารสนเทศเพื่อพัฒนาการ การศึกษา ครั้งที่ 42” (Workshop on Uninet and Computer Application: 42nd WUNCA) ปัจจุบันประเทศต่าง ๆ ทั่วโลกมีการแข่งขันทั้งด้านการพัฒนาทางเศรษฐกิจ การศึกษา ตลอดจนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประเทศไทยจึงจำ เป็นต้องมีการพัฒนาในด้านต่าง ๆ ให้ทัดเทียมและยั่งยืนอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เกิดการนำ เทคโนโลยีมาใช้ในการพัฒนาเศรษฐกิจ สามารถสร้างอำ นาจต่อรองกับนานาอารยะประเทศได้ การพัฒนาด้านการศึกษาและการวิจัย เป็นส่วนสำ คัญมากที่สุด สามารถส่งผลที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์สูงสุด สร้างและนำ มาประยุกต์ ใช้ เพื่อสรรหาสิ่งที่ดีที่สุดมาใช้งาน ความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในปัจจุบันเป็นไปในรูปแบบก้าวกระโดด มีผลผลักดันทางด้านการศึกษาวิจัยและพัฒนา ในหมู่อาจารย์ นักศึกษา และนักวิจัยภายในประเทศ ในปัจจุบันการพัฒนาด้านการวิจัยและ พัฒนนาโดยเฉพาะทางด้านเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา (nformation Communication Technology) ดังนั้นการวิจัยและพัฒนาความร่วมมือระหว่างสถาบันการศึกษาและ ประเทศต่าง ๆ คือปัจจัยหนึ่งที่มีส่วนในการรักษาสมดุลของสถานะระบบเครือข่ายเทคโนโลยี สารสนเทศ ระบบเครือข่ายข้อมูลและระบบเครือข่ายการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ให้มีความตื่นตัว สามารถปรับปรุงและพัฒนาได้ตลอดเวลา สำ นักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา สำ นักงานปลัดกระทรวง การอุดมศึกษาวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ได้ดำ เนินการโครงการเครือข่ายสารสนเทศ เพื่อพัฒนาการศึกษา Inter-University Network : UniNet) โดยเป็นการเชื่อมโยง เครือข่ายความเร็วสูงระหว่าง มหาวิทยาลัย/สถาบันและสถาบันการศึกษาต่าง ๆ ภายใน ประเทศ เพื่อเป็นการกระจายโอกาสทางการศึกษาไปสู่ภูมิภาคและชุมชนเป็นการแบ่งปัน ทรัพยากรทางการศึกษาร่วมกัน และได้ดำ เนินกิจกรรมทางการศึกษาทั้งทางด้านการเรียน การสอนและการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศร่วมกันระหว่างมหาวิทยาลัย/ สถาบันการศึกษาต่าง ๆ รวมถึงการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างสมาชิกที่เชื่อมต่ออยู่บนเครือ ข่ายดังกล่าว การประชุมเชิงปฏิบัติการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของสมาชิกเครือข่าย สารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษาเป็นการแลกเปลี่ยนข้อมูลประสบการณ์ ในการดูแลระบบและ บริหารจัดการเครือข่ายที่จะต้องใช้งานร่วมกัน ซึ่งนอกจากการได้แลกเปลี่ยน ข้อมูลแล้วยังจะเป็นโอกาสอันดีที่บุคลากรผู้ปฏิบัติหน้าที่จะได้มีโอกาสรับรู้ข้อมูล เกี่ยวกับเทคโนโลยีเครือข่ายใหม่ ๆ รวมทั้งการรวมกลุ่มกับเพื่อนสมาชิกเพื่อทำ การศึกษา และวิจัย และการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสนับสนุนการศึกษาและยังเป็นการ พัฒนาศักยภาพของบุคลากรให้สามารถทำ งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและเพื่อให้การ เชื่อมโยงเครือข่ายสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษากับเครือข่ายการศึกษาและวิจัยนานาชาติ เกิดประโยชน์สูงสุด จึงจำ เป็นต้องให้บุคลากรของสถาบันที่เป็นสมาชิกเครือข่ายสารสนเทศ เพื่อพัฒนาการศึกษา(UniNet) รับทราบข้อมูลของเครือข่ายการศึกษาและวิจัยนานาชาติ ทั้งในด้านเครือข่ายสารสนเทศและเนื้อหา(Content) บนเครือข่ายฯ ตลอดจนกิจกรรมการ วิจัยและพัฒนาของสถาบันสมาชิกเครือข่าย 1.3 ตัวอย่างกิจกรรมบนระบบเครือข่าย


โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ “การดำ เนินกิจกรรมบนเครือข่ายสารสนเทศเพื่อ พัฒนาการศึกษา ครั้งที่ 42” (Workshop on Uninet and Computer Application: 42nd WUNCA) ดังนั้นเพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรที่เป็นสมาชิกในเครือข่ายให้มี ประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์สูงสุด สำ นักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อ พัฒนาการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ เห็นสมควรจัดให้มีการ ดำ เนินการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “การดำ เนินกิจกรรมบนระบบเครือข่ายสารสนเทศ เพื่อพัฒนาการศึกษา ครั้งที่ 42 (42nd WUNCA)” ในช่วงระหว่างวันที่ 20-22 มกราคม 2564 ณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ วิทยาเขตวังไกล กังวล อำ เภอหัวหินจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อกำ หนดแนวทางในการดำ เนินกิจกรรมบนเครือข่ายสารสนเทศเพื่อพัฒนาการ ศึกษา (Uninet) 2. เพื่อศึกษาวิจัย การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศบนเครือข่ายสารสนเทศเพื่อ พัฒนาการศึกษา 3. เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและระบบเครือข่ายระหว่างกลุ่ม สมาชิก 4. เพื่อให้ผู้เชี่ยวชาญด้านต่างประเทศถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์และความ เชี่ยวชาญในด้านเทคโนโลยีเครือข่าย Hardware and Software 1.3 ตัวอย่างกิจกรรมบนระบบเครือข่าย


2. ชนิดของเครือข่าย ใช้ขนาดทางกายภาพของเครือข่ายเป็นเกณฑ์ แบ่งออกได้เป็น 3 ประเภทดังนี้ 2. MAN (Metropolitan Area Network) : ระบบเครือ ข่ายระดับเมือง เป็น ป็ ระบบเครือ รื ข่าข่ยที่มี ที่ ข มี นาดอยู่รยู่ ะหว่าว่ง Lan และ Wan เป็น ป็ ระบบเครือ รื ข่าข่ยที่ใที่ ช้ ภายในเมือ มื งหรือ รื จังจัหวัดวัเท่าท่นั้นนั้การเชื่อ ชื่ ม โยงจะต้อต้งอาศัยศัระบบบริกริารเครือ รื ข่าข่ย สาธารณะ จึง จึ เป็น ป็ เครือ รื ข่าข่ยที่ใที่ ช้กัช้บกัองค์กค์าร ที่มี ที่ ส มี าขาห่าห่งไกลและต้อต้งการเชื่อ ชื่ มสาขา เหล่าล่นั้นนั้เข้าข้ด้วด้ยกันกัเช่นช่ธนาคารเครือ รื ข่าข่ย แวนเชื่อ ชื่ มโยงระยะไกลมาก จึง จึ มีค มี วามเร็ว ร็ ในการสื่อ สื่ สารไม่สูม่ง สู เนื่อ นื่ งจากมีสั มี ญสัญาณ รบกวนในสาย เทคโนโลยีที่ ยี ใที่ ช้กัช้บกัเครือ รื ข่าข่ย แวนมีค มี วามหลากหลาย มีก มี ารเชื่อ ชื่ มโยง ระหว่าว่งประเทศด้วด้ยช่อช่งสัญสัญาณ ดาวเทีย ที ม เส้นส้ ใยนำ แสง คลื่น ลื่ ไมโครเวฟ คลื่น ลื่ วิทวิยุ สายเคเบิลบิ 1. LAN (Local Area Network) : ระบบเครือข่ายระดับ ท้องถิ่น เป็น ป็ ระบบเครือ รื ข่าข่ยที่ใที่ ช้งช้านอยู่ใยู่ นบริเริวณที่ไที่ ม่ กว้าว้งนักนัอาจใช้อช้ยู่ภยู่ ายในอาคารเดีย ดี วกันกัหรือ รื อาคารที่อ ที่ ยู่ใยู่ กล้กัล้นกัเช่นช่ภายในมหาวิทวิยาลัยลั อาคารสำ นักนังาน คลังลัสินสิค้าค้หรือ รื โรงงาน เป็น ป็ ต้นต้การส่งส่ข้อข้มูล มู สามารถทำ ได้ด้ด้วด้ย ความเร็ว ร็ สูง สู และมีข้ มี อข้ผิดผิพลาดน้อน้ย ระบบ เครือ รื ข่าข่ยระดับดัท้อท้งถิ่นถิ่จึง จึ ถูก ถู ออกแบบมาให้ ช่วช่ยลดต้นต้ทุน ทุ และเพื่อเพิ่มประสิทสิธิภธิาพในการ ทำ งาน และใช้งช้านอุป อุ กรณ์ต่ณ์าต่ง ๆ ร่วร่มกันกั 3. WAN (Wide Area Network) : ระบบเครือข่ายระดับประเทศ หรือเครือข่ายบริเวณกว้าง เป็น ป็ ระบบเครือ รื ข่าข่ยที่ติ ที่ ดติตั้งตั้ ใช้งช้านอยู่ใยู่ นบริเริวณกว้าว้ง เช่นช่ระบบเครือ รื ข่าข่ยที่ติ ที่ ดติตั้งตั้ ใช้งช้าน ทั่วทั่ โลก เป็น ป็ เครือ รื ข่าข่ยที่เ ที่ ชื่อ ชื่ มต่อต่คอมพิวเตอร์หร์รือ รื อุป อุ กรณ์ที่ณ์อ ที่ ยู่ห่ยู่ าห่งไกลกันกัเข้าข้ด้วด้ยกันกัอาจ จะต้อต้งเป็น ป็ การติดติต่อต่สื่อ สื่ สารกันกั ในระดับดั ประเทศ ข้าข้มทวีปวี หรือ รื ทั่วทั่ โลกก็ไก็ ด้ ในการเชื่อ ชื่ มการ ติดติต่อต่นั้นนั้จะต้อต้งมีก มี ารต่อต่เข้าข้กับกัระบบสื่อ สื่ สารขององค์กค์ารโทรศัพศัท์หท์รือ รื การสื่อ สื่ สารแห่งห่ ประเทศไทยเสีย สี ก่อก่น เพราะจะเป็น ป็ การส่งส่ข้อข้มูล มู ผ่าผ่นสายโทรศัพศัท์ใท์นการติดติต่อต่สื่อ สื่ สารกันกั โดยปกติมีติอั มี ตอัราการส่งส่ข้อข้มูล มู ที่ต่ำ ที่ ต่ำ และมีโมี อกาสเกิดกิข้อข้ผิดผิพลาด การส่งส่ข้อข้มูล มู อาจใช้ อุป อุ กรณ์ใณ์นการสื่อ สื่ สาร เช่นช่ โมเด็ม ด็ (Modem) มาช่วช่ย


2. ชนิดของเครือข่าย ใช้ลักษณะหน้าที่การทำ งานของคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายเป็นเกณฑ์ สามารถแบ่ง ได้เป็น 2 ประเภทดังนี้ 1. Peer-to-Peer Network หรือเครือข่ายแบบเท่าเทียม เป็น ป็ การเชื่อ ชื่ มต่อต่เครื่อ รื่ งคอมพิวเตอร์เร์ข้าข้ด้วด้ยกันกั โดยเครื่อ รื่ งคอมพิวเตอร์ แต่ลต่ะเครื่อ รื่ ง จะสามารถแบ่งบ่ทรัพรัยากรต่าต่งๆ ไม่ว่ม่าว่จะเป็น ป็ ไฟล์หล์รือ รื เครื่อ รื่ งพิมพ์ซึ่ง ซึ่ กันกัและกันกัภายใน เครือ รื ข่าข่ยได้ เครื่อ รื่ งแต่ลต่ะเครื่อ รื่ งจะทำ งานในลักลัษณะที่ทั ที่ ดทัเทีย ที มกันกั ไม่มีม่เ มี ครื่อ รื่ งใดเครื่อ รื่ ง เครื่อ รื่ งหนึ่ง นึ่ เป็น ป็ เครื่อ รื่ งหลักลัเหมือ มื นแบบ Client / Server แต่ก็ต่ยั ก็ งยัคงคุณ คุ สมบัติบัพื้ติ พื้ นฐาน ของระบบเครือ รื ข่าข่ยไว้เว้หมือ มื นเดิมดิการเชื่อ ชื่ มต่อต่แบบนี้มั นี้ กมัทำ ในระบบที่มี ที่ ข มี นาดเล็ก ล็ ๆ เช่นช่ หน่วน่ยงานขนาดเล็ก ล็ ที่มี ที่ เ มี ครื่อ รื่ งใช้ไช้ม่เม่กินกิ 10 เครื่อ รื่ ง การเชื่อ ชื่ มต่อต่แบบนี้มี นี้ จุ มี ด จุ อ่ออ่นในเรื่อ รื่ ง ของระบบรักรัษาความปลอดภัยภัแต่ถ้ต่าถ้เป็น ป็ เครือ รื ข่าข่ยขนาดเล็ก ล็ และเป็น ป็ งานที่ไที่ ม่มีม่ข้ มี อข้มูล มู ที่ เป็น ป็ ความลับลัมากนักนัเครือ รื ข่าข่ยแบบนี้ ก็เ ก็ป็น ป็ รูป รู แบบที่น่ ที่ าน่เลือ ลื กนำ มาใช้ไช้ด้เด้ป็น ป็ อย่าย่งดี 2. Client-Server Network หรือเครือข่ายแบบผู้ใช้บริการ และ ผู้ให้บริการ เป็น ป็ ระบบที่มี ที่ เ มี ครื่อ รื่ งคอมพิวเตอร์ทุร์ก ทุ เครื่อ รื่ งมีฐ มี านะการทำ งานที่เ ที่ หมือ มื น ๆ กันกัเท่าท่เทีย ที ม กันกัภายในระบบ เครือ รื ข่าข่ย แต่จต่ะมีเ มี ครื่อ รื่ งคอมพิวเตอร์เร์ครื่อ รื่ งหนึ่ง นึ่ ที่ทำ ที่ ทำหน้าน้ที่เ ที่ป็น ป็ เครื่อ รื่ ง Server ที่ทำ ที่ ทำหน้าน้ที่ใที่ ห้บห้ริกริารทรัพรัยากรต่าต่ง ๆ ให้กัห้บกัเครื่อ รื่ ง Client หรือ รื เครื่อ รื่ งที่ข ที่ อใช้ บริกริาร ซึ่ง ซึ่ อาจจะต้อต้งเป็น ป็ เครื่อ รื่ งที่มี ที่ ปมี ระสิทสิธิภธิาพที่ค่ ที่ อค่นข้าข้งสูง สู ถึง ถึ จะทำ ให้กห้ารให้บห้ริกริาร มีปมี ระสิทสิธิภธิาพตามไปด้วด้ย ข้อข้ดีข ดี องระบบเครือ รื ข่าข่ย Client - Server เป็น ป็ ระบบที่มี ที่ ก มี าร รักรัษาความปลอดภัยภัสูง สู กว่าว่ระบบแบบ Peer To Peer เพราะว่าว่การจัดจัการในด้าด้น รักรัษาความปลอดภัยภันั้นนั้จะทำ กันกับนเครื่อ รื่ ง Server เพียงเครื่อ รื่ งเดีย ดี ว ทำ ให้ดูห้แ ดู ลรักรัษา ง่าง่ย และสะดวก มีก มี ารกำ หนดสิทสิธิกธิารเข้าข้ใช้ทช้รัพรัยากรต่าต่ง ๆให้กัห้บกัเครื่อ รื่ งผู้ขผู้ อใช้บช้ริกริาร หรือ รื เครื่อ รื่ ง Client


1. อินเทอร์เน็ต (Internet) เครือข่ายสาธารณะ อินเทอร์เน็ตเป็นเครือข่ายที่ครอบคลุมทั่ว โลก ซึ่งมีคอมพิวเตอร์เป็นล้านๆเครื่องเชื่อมต่อเข้ากับระบบและยังขยายตัวขึ้นเรื่อย ๆ ทุก ปี อินเทอร์เน็ตมีผู้ใช้ทั่วโลกหลายร้อยล้านคน และผู้ใช้เหล่านี้สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูล ข่าวสารกันได้อย่างอิสระ โดยที่ระยะทางและเวลาไม่เป็นอุปสรรค นอกจากนี้ผู้ใช้ยังสามารถ เข้าดูข้อมูลต่าง ๆ ที่ถูกตีพิมพ์ในอินเทอร์เน็ตได้ อินเทอร์เน็ตเชื่อมแหล่งข้อมูลต่าง ๆ เข้าด้วยกันไม่ว่าจะเป็นองค์กรธุรกิจ มหาวิทยาลัย หน่วยงานของรัฐบาล หรือแม้กระทั่ง แหล่งข้อมูลบุคคล องค์กรธุรกิจหลายองค์กรได้ใช้อินเทอร์เน็ตช่วยในการทำ การค้า เช่น การติดต่อซื้อขายผ่านอินเทอร์เน็ตหรืออีคอมเมิร์ช (E-Commerce) ซึ่งเป็นอีกช่องทาง หนึ่งสำ หรับการทำ ธุรกิจที่กำ ลังเป็นที่นิยมเนื่องจากมีต้นทุนที่ถูกกว่าและมีฐานลูกค้าที่ใหญ่ มาก ส่วนข้อเสียของอินเทอร์เน็ตคือ ความปลอดภัยของข้อมูลเนื่องจากทุกคนสามารถเข้า ถึงข้อมูลทุกอย่างที่แลกเปลี่ยนผ่านอินเทอร์เน็ตได้อินเทอร์เน็ตใช้โปรโตคอลที่เรียกว่า “TCP/IP (Transport Connection Protocol/Internet Protocol)” ในการสื่อสาร ข้อมูลผ่านเครือข่าย ซึ่งโปรโตคอลนี้เป็นผลจากโครงการหนึ่งของกระทรวงกลาโหมสหรัฐฯ โครงการนี้มีชื่อว่า ARPANET (Advanced Research Projects Agency Network) ในปี ค.ศ.1975 จุดประสงค์ของโครงการนี้เพื่อเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ที่อยู่ห่างไกลกัน และ ภายหลังจึงได้กำ หนดให้เป็นโปรโตคอลมาตรฐานในเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ในปัจจุบัน อินเทอร์เน็ตได้กลายเป็นเครือข่ายสาธารณะ ซึ่งไม่มีผู้ใดหรือองค์กรใดองค์กรหนึ่งเป็น เจ้าของอย่างแท้จริง การเชื่อมต่อเข้ากับอินเทอร์เน็ตต้องเชื่อมต่อผ่านองค์กรที่เรียกว่า “ISP (Internet Service Provider)” ซึ่งจะทำ หน้าที่ให้บริการในการเชื่อมต่อเข้ากับ อินเทอร์เน็ต นั่นคือ ข้อมูลทุกอย่างที่ส่งผ่านเครือข่าย ทุกคนสามารถดูได้ นอกเสียจากจะมี การเข้ารหัสลับซึ่งผู้ใช้ต้องทำ เอง ใช้ระดับความปลอดภัยของข้อมูลเป็น ป็ เกณฑ์


2. อินทราเน็ต (Intranet) หรือเครือข่ายส่วนบุคคล ตรงกันข้ามกับอินเทอร์เน็ต อินทราเน็ตเป็นเครือข่ายส่วนบุคคลที่ใช้เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต เช่น เว็บ, อีเมล, FTP เป็นต้น อินทราเน็ตใช้โปรโตคอล TCP/IP สำ หรับการรับส่งข้อมูลเช่นเดียวกับอินเทอร์เน็ต ซึ่งโปรโตคอลนี้สามารถใช้ได้กับฮาร์ดแวร์หลายประเภท และสายสัญญาณหลายประเภท ฮาร์ดแวร์ที่ใช้สร้างเครือข่ายไม่ใช่ปัจจัยหลักของอินทราเน็ต แต่เป็นซอฟต์แวร์ที่ทำ ให้ อินทราเน็ตทำ งานได้ อินทราเน็ตเป็นเครือข่ายที่องค์กรสร้างขึ้นสำ หรับให้พนักงานของ องค์กรใช้เท่านั้น การแชร์ข้อมูลจะอยู่เฉพาะในอินทราเน็ตเท่านั้น หรือถ้ามีการแลกเปลี่ยน ข้อมูลกับโลกภายนอกหรืออินเทอร์เน็ต องค์กรนั้นสามารถที่จะกำ หนดนโยบายได้ ในขณะที่ การแชร์ข้อมูลอินเทอร์เน็ตนั้นยังไม่มีองค์กรใดที่สามารถควบคุมการแลกเปลี่ยนข้อมูลได้ เมื่อเชื่อมต่อเข้ากับอินเทอร์เน็ต พนักงานบริษัทของบริษัทสามารถติดต่อสื่อสารกับโลก ภายนอกเพื่อการค้นหาข้อมูลหรือทำ ธุรกิจต่าง ๆ การใช้โปรโตคอล TCP/IP ทำ ให้ผู้ใช้ สามารถเข้าใช้เครือข่ายจากที่ห่างไกลได้ (Remote Access) เช่น จากที่บ้าน หรือในเวลาที่ ต้องเดินทางเพื่อติดต่อธุรกิจ การเชื่อมต่อเข้ากับอินทราเน็ต โดยการใช้โมเด็มและสาย โทรศัพท์ ก็เหมือนกับการเชื่อมต่อเข้ากับอินเทอร์เน็ต แต่แตกต่างกันที่เป็นการเชื่อมต่อเข้า กับเครือข่ายส่วนบุคคลแทนที่จะเป็นเครือข่ายสาธารณะอย่างเช่นอินเทอร์เน็ต การเชื่อมต่อ กันได้ระหว่างอินทราเน็ตกับอินเทอร์เน็ตถือเป็นประโยชน์ที่สำ คัญอย่างหนึ่งระบบการรักษา ความปลอดภัยเป็นสิ่งที่แยกอินทราเน็ตออกจากอินเทอร์เน็ต เครือข่ายอินทราเน็ตของ องค์กรจะถูกปกป้องโดยไฟร์วอลล์ (Firewall) ซึ่งอาจจะเป็นได้ทั้งฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ ที่ทำ หน้าที่กรองข้อมูลที่แลกเปลี่ยนกันระหว่างอินทราเน็ตและอินเทอร์เน็ตเมื่อทั้งสองระบบ มีการเชื่อมต่อกัน ดังนั้นองค์กรสามารถกำ หนดนโยบายเพื่อควบคุมการเข้าใช้งาน อินทราเน็ตได้ อินทราเน็ตสามารถสนองความต้องการของผู้ใช้ในองค์กรได้หลายอย่าง ความง่ายในการตีพิมพ์บนเว็บทำ ให้เป็นที่นิยมในการประกาศข่าวสารขององค์กร เช่น ข่าว ภายในองค์กร กฎ ระเบียบ และมาตรฐาน การปฏิบัติงานต่าง ๆ เป็นต้น หรือแม้กระทั่ง การเข้าถึงฐานข้อมูลขององค์กรก็ง่ายเช่นกัน ผู้ใช้สามารถทำ งานร่วมกันได้ง่าย และมี ประสิทธิภาพมากขึ้น ใช้ระดับความปลอดภัยของข้อมูลเป็น ป็ เกณฑ์


3. เอ็กส์ทราเน็ต (Extranet) หรือเครือข่ายร่วม เอ็กส์ทราเน็ต (Extranet) เป็นเครือข่าย กึ่งอินเทอร์เน็ตกึ่งอินทราเน็ต กล่าวคือ เอ็กส์ทราเน็ตคือเครือข่ายที่เชื่อมต่อระหว่าง อินทราเน็ตของสององค์กร ดังนั้นจะมีบางส่วนของเครือข่ายที่เป็นเจ้าของร่วมกันระหว่าง สององค์กรหรือบริษัท การสร้างอินทราเน็ตจะไม่จำ กัดด้วยเทคโนโลยี แต่จะยากตรง นโยบายที่เกี่ยวกับการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลที่ทั้งสององค์กรจะต้องตกลงกัน เช่น องค์กรหนึ่งอาจจะอนุญาตให้ผู้ใช้ของอีกองค์กรหนึ่งล็อกอินเข้าระบบอินทราเน็ตของ ตัวเองหรือไม่ เป็นต้น การสร้างเอ็กส์ทราเน็ตจะเน้นที่ระบบการรักษาความปลอดภัยข้อมูล รวมถึงการติดตั้งไฟร์วอลล์หรือระหว่างอินทราเน็ตและการเข้ารหัสข้อมูลและสิ่งที่สำ คัญ ที่สุดก็คือ นโยบายการรักษาความปลอดภัยข้อมูลและการบังคับใช้ ใช้ระดับความปลอดภัยของข้อมูลเป็น ป็ เกณฑ์


3. อุปกรณ์เครือข่าย (Network media) 3.1 ระบบเครือข่ายระยะใกล้หรือท้องถิ่น (Location Area Network:LAN) เป็นรูปแบบการทำ งานของระบบเครือข่าย หนึ่งที่ช่วยให้เครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องพิมพ์ และอุปกรณ์ใช้งานทางด้าน คอมพิวเตอร์ต่างๆ สามารถเชื่อมโยงสื่อสาร ส่งข้อมูล ติดต่อใช้งานร่วมกันได้ การติดต่อ สื่อสารของอุปกรณ์จะอยู่ในบริเวณแคบ โดยทั่วไปจะมีระยะการไม่เกิน 10 กิโลเมตร เช่น ภายในอาคารสำ นักงาน ภายในคลัง สินค้า โรงงานหรือ ระหว่างตึกใกล้ๆ เชื่อม โยงด้วยสายสื่อสารจึงทำ ให้มีความเร็วใน การสื่อสารข้อมูลด้วยความเร็วสูงมาก และ ความผิดพลาดต่ำ 3.2 ระบบเครือข่ายเมือง (Metropolitan Area Network :MAN) เป็นเครือข่ายที่เชื่อมต่อระบบเครือข่ายท้อง ถิ่นหลายๆ ระบบเข้าด้วยกันในพื้นที่ เดียวกัน เช่นภายในเมืองเดียวกัน เกิดเป็น เครือข่ายของเมืองนั้น ระบบเครือข่ายนี้จะ ใช้สื่อเชื่อมโยงทั้งชนิดใช้สายสัญญาณและ ชนิดไม่ใช้สายสัญญาณผสมเข้าด้วยกัน ตามลักษณะพื้นที่ ความเร็วในการรับ-ส่ง ข้อมูล ในระยะทางไม่เกิน 60 กิโลเมตร 3.3 ระบบเครือข่ายระยะไกล (Wide Area Network :WAN) เป็น ป็ เครือข่ายที่ติดตั้งใช้งานอยู่ในบริเวณกว้าง โดยมีการส่งข้อมูลในลักษณะเป็น ป็ Packet ซึ่งต้องเดินทางจากเครื่องคอมพิวเตอร์ต้นทางไปสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ปลาย ทาง Packet นี้ส่งจากเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์อีก เครื่องหนึ่ง โดยมีสายสื่อสารหรืออุปกรณ์สื่อสารอื่น ในการเชื่อมต่อกัน ในลักษณะเป็น ป็ ลูกโซ่ อาศัยเครื่องคอมพิวเตอร์ถัดไปในเส้นทางที่สะดวกรูปแบบของเครือข่ายแตกต่าง กัน ไปตามลักษณะอัลกอริทึมสำ หรับการคำ นวณเส้นทางในการส่ง Packet โดยแบ่งออก ได้เป็น ป็ สองประเภทใหญ่ๆ คือ แบบดาตาแกรม (Datagram) และแบบเวอร์ชวล เซอร์กิต (Virtual Circuit) หรือวงจรแบบเสมือน ระบบดาตาแกรมพิจารณาแต่ละ Packet แยกจากกัน Packet ต่างๆ ของข้อความเดียวกันอาจถูกส่งไปในเส้นทางที่ต่างกันได้ ขึ้นอยู่กับ ปริมาณข่าวสารในเครือข่าย ในแต่ละขณะเวลาที่ผ่านไป และรวมถึงการ เปลี่ยนแปลงลักษณะของเครือข่ายเนื่องจากเครื่องคอมพิวเตอร์บางตัวเสีย ระบบเครือ ข่ายคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการแสวงหาความรู้มีหลายระบบ ในที่นี้จะกล่าวถึง 2 ระบบ คือ อินทราเน็ตและอินเทอร์เน็ต


ต้องตรวจสอบว่าสถานที่ที่ติดตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ให้บริการระบบโทรศัพท์แบบ DSL หรือไม่ บัญชีผู้ใช้อินเตอร์เน็ตจากผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ตในแบบDSL การเชื่อมต่อต้องใช้DSL Modem ในการเชื่อมต่อ ต้องติดตั้งEthernet Adapter Card หรือ Lan Card ไว้ที่เครื่อง คอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตด้วย 4.1 การเชื่อมต่อแบบDSL (Digital Subscriber Line) เป็นเทคโนโลยีการเชื่อม ต่ออินเทอร์เน็ตความเร็วสูงโดยใช้สายโทรศัพท์ธรรมดาที่สามารถใช้อินเตอร์เน็ต และพูดผ่านสายโทรศัพท์ปกติได้ในเวลเดียวกัน DSLเป็นอีกหนึ่งทางเลือกของเส้น ทางการสื่อสารที่เป็นสัญญาณดิจิตอลโดยเหมาะสำ หรับสำ นักงานขนาดเล็กหรือผู้ ใช้ตามบ้านทั่วไป โดย DSL มีลักษณะการทำ งานเหมือนกับ ISDN Line เพียงแต่มี ความเร็วในการรับ – ส่งข้อมูลสูงกว่า ISDN Line เท่านั้น สิ่งที่ต้องคำ นึงถึงในการติดตั้งระบบอินเตอร์เน็ตแบบ DSL ก็คือ 1. 2. 3. 4. ข้อดี : คือมีความเร็วสูงกว่าแบบ Dial-Up และ ISDN ข้อเสีย : คือไม่สามารถระบุความเร็วที่แน่นอนได้ ADSL (Asymmetric DSL) เป็นเส้นทางการสื่อสาร DSL ชนิดหนึ่งที่ได้รับความ นิยมเป็นอย่างมาก เนื่องจากอัตราการรับ–ส่งข้อมูลที่แตกต่างกัน โดยสามารถส่งข้อมูลได้ด้วยความเร็วสูงถึง 640 Kbps แต่สามารถรับข้อมูลได้ ด้วยความเร็วสูงถึง 9Mbps ทำ ให้ตอบสนองต่อการใช้งานอินเตอร์เน็ตของผู้ใช้ งานได้เป็นอย่างดีเนื่องจากความต้องการในการดาวน์โหลดข้อมูลของผู้ใช้งานมี มากกว่าการอัพโหดข้อมูล 4. ชนิดของการสื่อสาร (DSL,Cable)


ใช้ Cable Modem เพื่อเชื่อมต่อ ต้องติดตั้ง Ethernet Adapter Card หรือ Lan Card ไว้ที่เครื่อง คอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตด้วย 4.2 การเชื่อมต่อแบบCable เป็น ป็ การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตโดยผ่านสายสื่อสาร เดียวกับ Cable TV จึงทำ ให้เราสามารถเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตไปพร้อม ๆ กับการดู ทีวีได้ โดยต้องจัดหาอุปกรณ์เพิ่มเติม คือ 1. 2. ข้อดี : คือถ้ามีสายเคเบิลทีวีอยู่แล้วสามารถเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตได้โดยเพิ่ม อุปกรณ์ Cable Modem ก็สามารถเชื่อมต่อได้ ข้อเสีย : คือถ้ามีผู้ใช้เคเบิลในบริเวณใกล้เคียงมาก อาจทำ ให้การรับส่งข้อมูลช้าลง 4. ชนิดของการสื่อสาร (DSL,Cable)


5. ชนิดของ software ที่ใช้กับ client และ server หลักการทำ งานของระบบเครือข่ายแบบ Client/Server ( ไคลเอนต์ เซิร์ฟเวอร์ ) เครือ ข่ายแบบ Client/Server เป็น ป็ รูปแบบหนึ่งของเครือข่ายแบบ server-based โดยจะมี คอมพิวเตอร์หลักเครื่องหนึ่งเป็น ป็ เซิร์ฟเวอร์ ซึ่งจะไม่ได้ทำ หน้าที่ประมวลผลทั้งหมด ให้เครื่องลูกข่ายหรือเครื่องไคลเอนต์ (client) แต่เซิร์ฟเวอร์จะทำ หน้าที่เสมือนเป็น ป็ ที่เก็บ ข้อมูลระยะไกล และประมวลผลบางอย่างให้กับเครื่องไคลเอนต์เท่านั้น เช่น ประมวลผลคำ สั่งในการดึงข้อมูลจากเซิร์ฟเวอร์ฐานข้อมูล (database server) เป็น ป็ ต้น Client เรียกอีกอย่างว่า ผู้ขอใช้บริการ คือ คอมพิวเตอร์อื่นๆ ในระบบเน็ตเวิร์คที่ผู้ใช้สามารถเข้าไปใช้ทรัพยากรต่างๆ ของเครือ ข่ายได้ และ Client จะเป็น ป็ คอมพิวเตอร์ที่ใช้ระบบปฏิบัติการต่างๆ เช่น windows หรือแมคอินทอช เป็น ป็ ต้น ซึ่งสามารถเข้าไปขอใช้ บริการจาก Server ได้ เช่น ฮาร์ดดิสก์, สายสื่อสาร, ไฟล์ฐาน ข้อมูล เรียกว่า Database client และเครื่องพิมพ์บน Server ได้ ราวกับว่าเป็น ป็ ส่วนหนึ่งของผู้ใช้เอง บริการในการจัดเก็บข้อมูล เรียกว่า "File server " (ไฟล์เซิร์ฟเวอร์) ให้บริการด้านการพิมพ์เอกสารและควบคุมเครื่องพิมพ์ เรียกว่า "Printer server " (ปริ้นเตอร์ เซิร์ฟเวอร์) ให้บริการควบคุมด้านการสื่อสารที่จะต่อเชื่อมกับอุปกรณ์สื่อสารอื่น เรียกว่า “Communication server ” (คอมมูนิเคชั่น เซิร์ฟเวอร์) Serve เรียกอีกอย่างว่า ผู้ให้บริการ ในระบบ LAN จำ เป็น ป็ ต้องมีเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ คอยทำ หน้าที่ให้บริการทางด้านต่างๆ แก่คอมพิวเตอร์อื่นๆ ซึ่งเป็น ป็ ลูกข่าย โดยทั่วไป มีหน้าที่ให้บริการ 3 ประการ คือ 1. 2. 3. การใช้ทรัพยากรร่วมกัน เช่น เครื่องพิมพ์ ฮาร์ดดิสก์ การเชื่อมโยงสื่อสารระหว่างกัน และแอพพลิเคชันต่างๆ ช่วยแบ่งเบาภาระการประมวลผลในการทำ งานของระบบเครือข่าย เมนเฟรมและมินิ คอมพิวเตอร์ที่ยุ่งยากและราคาแพง มาสู่ระบบเครือข่าย Client and Server ที่มีราคา ถูกกว่า การจัดเก็บข้อมูลง่าย สะดวก และสามารถควบคุมการเปลี่ยนแปลงแก้ไขฐานข้อมูลให้ ถูกต้อง และทันสมัยอยู่ตลอดเวลา ช่วยลดค่าใช้จ่ายของการบำ รุงรักษา(maintenance costs) ของ Software และ Hardware แต่ละเครื่อง ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทำ งานของ workstation ประโยชน์ของระบบ Client/Server 1. 2. 3. 4. 5.


6. บริการในระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต 1. World Wide Web (WWW) เครือ ข่ายใยแมงมุม เป็น ป็ การเข้าสู่ระบบข้อมูล อย่างข้อมูลในรูปของ Interactive Multimedia คือ มีทั้งรูปภาพ ข้อความ ภาพเคลื่อนไหว เสียง และวีดีโอ อีกทั้ง ข้อมูลเหล่านี้ยังใช้ระบบที่เรียกว่า hypertext กล่าวคือ จะมีคำ สำ คัญหรือ รูปภาพในข้อมูลนั้นที่จะช่วยให้ท่าน เข้าสู่ รายละเอียดที่ลึกและกว้างขวางยิ่งขึ้น คำ สำ คัญดังกล่าวจะเป็น ป็ คำ ที่เป็น ป็ ตัวหนา หรือขีดเส้นใต้ เพียง แต่ท่านเลือกกด ที่ คำ ที่เป็น ป็ ตัวหนาหรือขีดเส้นใต้ นั้น ๆ ท่าน ก็สามารถเข้าสู่ข้อมูลเพิ่มเติมได้ (ข้อมูล เหล่านี้จะมีผู้สร้างขึ้นมาและเก็บไว้ใน คอมพิวเตอร์ ต่าง ๆ ทั่วโลก) 2. ไปรษณีย์อิเลคทรอนิคส์ (Electronic Mail หรือ E-Mail) เป็น ป็ บริการหนึ่งบนอิน เทอร์เนตที่คนนิยมใช้กันมากคือส่ง จดหมายโดยทางคอมพิวเตอร์ถึงผู้ที่มี บัญชีอินเตอร์เน็ต ด้วยกันไม่ว่าจะอยู่ใกล้ หรือไกลคนละซีกโลกจดหมายก็จะไปถึง อย่างสะดวกรวดเร็วและง่ายดาย โปรแกรมที่ใช้ ได้แก่ Hotmail , YahooMail , ThaiMail และยังมี Mail ต่าง ๆ ที่ให้บริการอย่างมากมายใน ปัจปัจุบัน ตามหน่วยงานหรือองค์กรต่าง ๆ 3. Search Engine (บริการค้นหาข้อมูล บนอินเทอร์เน็ต) เป็น ป็ เว็บไซต์ที่มีเครื่องมือ ในการที่จะค้นหาเว็บไซต์ต่าง ๆ มาเก็บไว้ ในฐานข้อมูลของตัวเองโดยอัตโนมัติ เช่น Google.com หรือ Altavista.com ซึ่ง เครื่องมือนี้ มีชื่อเรียกว่า Search Robot จะทำ หน้าที่คอยวิ่งเข้าไปอ่านข้อความจาก หน้าเว็บไซต์ ของเว็บต่าง ๆ แล้วนำ มาจัด ลำ ดับคำ ค้นหา (Index) ที่มีในเว็บไซต์ เหล่านั้น เก็บไว้ในฐานข้อมูลของตนเอง เมื่อเราเข้าไปใช้บริการ กับSearch Engine


6. บริการในระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต 4. Instant Message ( บริการสนทนา บนอินเทอร์เน็ต ) ก็คือการสนทนาทาง โทรศัพท์อย่างหนึ่งแต่เป็น ป็ ในรูปของตัว อักษร พนักงานในบริษัททั้งขนาดเล็กและ ใหญ่ต่างใช้ IM เป็น ป็ เครื่องมือในการ สื่อสาร สำ หรับคนอีกจำ นวนมาก IM คือ การสื่อสารสำ รองเมื่ออีเมล์มีปัญปัหาหรือ เหตุฉุกเฉินอื่นๆ 5. Telnet เป็น ป็ บริการที่ช่วยให้เรา สามารถเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์อื่นเสมือน หนึ่งไปนั่งใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ของที่นั่น โปรแกรมที่ช่วยให้ท่านใช้บริการนี้ได้คือ โปรแกรม NCSA Telnet เมื่อเปิดปิ โปรแกรมแล้วให้พิมพ์คำ สั่ง Telnet ดังใน รูปภาพข้างล่างเมื่อท่านใช้คำ สั่ง Telnet แล้วให้พิมพ์ที่อยู๋ของแหล่งข้อมูลนั้น ท่าน ก็จะสามารถเข้าสู่ระบบข้อมูลนั้น ๆ ได้ เสมือนท่านไปนั่งอยู่หน้าจอคอมพิวเตอร์ ของเครื่อง ๆ นั้นเลยทีเดียว ระบบ Telnet 6. FTP (File Transfer Protocol) คือ บริการที่ใช้ในการโอนย้าย file หรือข้อมูล จากคอมพิวเตอร์หนึ่งไปยังอีก คอมพิวเตอร์หนึ่ง สามารถโอนย้ายข้อมูล เช่น รูปภาพ , ข้อความ , บทความ , คู่มือ และโปรแกรมต่าง ๆ 7. Web board ( บริการกระดานข่าว หรือ เวบบอร์ด ) คือโปรแกรมที่ทำ หน้าที่ ในลักษณะเป็น ป็ กระดานสนทนา เป็น ป็ กระ ดานแจ้งข่าวสาร ข้อมูล และแลกเปลี่ยน ความคิดเห็นกัน


3. ขาดแคลนซอฟต์แวร์ประยุกต์ ระบบเครือข่ายปัจปัจุบัน ยังขาดแคลนซอฟต์แวร์ ประยุกต์ ด้านต่าง ๆ ทำ งานภายใต้สภาพแวดล้อม แบบเครือข่ายอยู่มาก เพราะการ พัฒนา ต้องใช้ความรู้ความชำ นาญสูง ต้องใช้เวลาในการพัฒนา จึงจะสามารถสร้าง ซอฟต์แวร์ประยุกต์ใช้งานด้านต่าง ๆ ได้ 7. ข้อจำ กัดของระบบเครือข่าย 1. ลงทุนสูงและจัดการยุ่งยาก การเชื่อมต่อระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และการ จัดการระบบเครือข่าย ต้องใช้เทคโนโลยีที่ยุ่งยากซับซ้อน ต้องอาศัยผู้ที่มีความรู้ความ ชำ นาญ และมีประสบการณ์สูง จึงต้องใช้งบประมาณ การเริ่มต้นลงทุนสูงมากอีกทั้ง เทคโนโลยีของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เปลี่ยนแปลงไปเร็วมาก จำ เป็น ป็ ต้องมีงบ ประมาณ เพื่อปรับปรุงระบบให้ทันสมัยอยู่เสมอ 2. การแบ่งทรัพยากรกันใช้นั้นอาจไม่สามารถใช้ทรัพยากรนั้นๆ ได้ทันทีทันใด เพราะ หากมีการเรียกใช้ทรัพยากรเดียวกันจากคอมพิวเตอร์ 2 เครื่องพร้อมกัน เช่นการใช้ เครื่องพิมพ์โดยเครื่องพิมพ์นั้นมีการใช้งานจากคอมพิวเตอร์ตัวอื่นอยู่ก่อนหน้าแล้ว งานพิมพ์ของเราก็จะต้องเข้าคิวรอการทำ งาน 4. การรักษาความปลอดภัย ในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ยังขาดความปลอดภัยใน ด้านการรักษาข้อมูลอยู่มาก มีโอกาสที่จะถูกผู้อื่นแอบเข้ามาเอาข้อมูลได้จากหลายๆที่ หรืออาจมีข้อมูลสูญหายได้ ในขณะติดต่อสื่อสาร เนื่องจากมีข่าวสารในระบบอยู่มาก 5. ความเร็วในการรับส่งข้อมูลต่ำ ในระบบเครือข่ายระยะไกล เช่น อินเทอร์เน็ต การ เรียกใช้ข้อมูลในไฟล์ผ่านระบบเครื่อข่ายนั้นจะมีความเร็วที่ช้ากว่าการเรียกใช้ข้อมูลกับ ฮาร์ดดิสก์ในเครื่องของตน ตัวกลางนำ ที่ใช้ ในการนำ สัญญาณ ยังมีอัตราความเร็วใน การรับส่งข้อมูลต่ำ เมื่อเทียบกับการสื่อสารด้วยโทรศัพท์ หรือโทรทัศน์ โดยเฉพาะ ข้อมูลที่เป็น ป็ ภาพนิ่งและภาพเคลื่อนไหว เพราะไฟล์มีขนาดใหญ่มาก


บรรณานุกรม อาทิตย์ พลสุวรรณ. (2559). ประโยชน์ของเครือ รื ข่าย. สืบค้น 11 มกราคม 2566, จาก https://sites.google.com/site/kruarthit021159/prayochn-khxngkherux-khay กรรณิการ์ ม้าอุตส่าห์. (2547). ระบบเครือ รื ข่าย(LAN)ในโรงเรีย รี นปร. สืบค้น 11 มกราคม 2566, จาก https://www.nectec.or.th/schoolnet/library/createweb/10000/technology/10000-12665.html ลดาวัล วั ย์. (2554). ประเภทของเครือ รื ข่าย LAN,WAN,PAN,MAN. สืบค้น 11 มกราคม 2566, จาก https://sites.google.com/site/websitraywichang3204ldawaly/hnwykar-reiyn-ru-thi-2/2-1prapheth-khxng-kherux-khay-lan-wan-pan-man ห้องเรีย รี นคอมพิวเตอร์ รร.พระวรสาร. (2562). หน่วยการเรีย รี นรู้ 3 เครือ รื ข่ายคอมพิวเตอร์. สืบค้น 11 มกราคม 2566, จาก http://pvs.ac.th/technology/techno.html รักพนา เจริญ ริ ชันษา. (2562). อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น. สืบค้น 11 มกราคม 2566, จากhttps://sites.google.com/site/stu40596samakkhiacth/home/ktikakhxng-xinthexrnet KNOWLEDGE. (2565). Big Data คืออะไร? อธิบายแบบเข้าใจง่าย [ครบถ้วนใน 5 นาที]. สืบค้น 11 มกราคม 2566, จาก https://1stcraft.com/what-is-big-data/ WELCOME TO PHOTCHANAN SITE. (2551). ข้อจำ กัดของระบบเครือ รื ข่ายคอมพิวเตอร์. สืบค้น 11 มกราคม 2566, จาก https://sites.google.com/site/photchanan1818/home มณีนุช ศรีท รี อง. (2551). บริก ริ ารต่างๆบนอินเตอร์เน็ต. สืบค้น 11 มกราคม 2566, จาก https://sites.google.com/site/ribxrn12/internet/11-brikar-tang-bnxintexrnet บริษั ริษั ท สยามเน็ทเวอร์ค แอนด์ คอมพิวเตอร์ จำ กัด. หลักการทำ งานของระบบเครือ รื ข่ายแบบ Client-Server. สืบค้น 11 มกราคม 2566, จาก https://www.snc.co.th/Article/Detail/111211


Click to View FlipBook Version