The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รวมโครงการรถประหยัดน้ำมัน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by eakechai.pic, 2021-02-26 09:29:25

รวมโครงการรถประหยัดน้ำมัน

รวมโครงการรถประหยัดน้ำมัน

โครงการ
รถประหยดั น้ามันเชือ้ เพลงิ

Fuel Efficient Car

โครงการ

รถประหยดั นา้ มันเชื้อเพลิง
Fuel Efficient Car

นายกอบชัย อา้ อน้
นายกิตตธิ ร เพชรแสง
นายชัยยนันท์ ยืนยงคีรมี าศ

โครงการนเี้ ป็นสว่ นหนงึ ของการศกึ ษาหลักสูตรประกาศนียบตั รวชิ าชพี
ประเภทวิชาอุตสาหกรรม สาขาวิชาช่างยนต์ สาขางานยานยนต์

วทิ ยาลัยการอาชพี บ้านตาก
สา้ นกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา กระทรวงศึกษาธิการ

ปีการศึกษา 2563

โครงการ

รถประหยดั นา้ มันเชื้อเพลิง
Fuel Efficient Car

นายกอบชัย อา้ อน้
นายกิตตธิ ร เพชรแสง
นายชัยยนันท์ ยืนยงคีรมี าศ

โครงการนเี้ ป็นสว่ นหนงึ ของการศกึ ษาหลักสูตรประกาศนียบตั รวชิ าชพี
ประเภทวิชาอุตสาหกรรม สาขาวิชาช่างยนต์ สาขางานยานยนต์

วทิ ยาลัยการอาชพี บ้านตาก
สา้ นกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา กระทรวงศึกษาธิการ

ปีการศึกษา 2563

ใบรับรองโครงการ
วทิ ยาลยั การอาชพี บา้ นตาก
หลกั สตู รประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556

ประเภทวชิ าอุตสาหกรรม สาขาวิชาชา่ งยนต์ สาขางานยานยนต์

โครงการรถประหยัดน้ามนั เชื้อเพลิง

คณะผดู้ า้ เนนิ งาน นายกอบชัย อ่าอ้น รหสั ประจ่าตัว 6121010004
นายกติ ตธิ ร เพชรแสง รหสั ประจ่าตัว 6121010005
นายชยั ยนันท์ ยนื ยงครี ีมาศ รหสั ประจ่าตัว 6121010011

ได้พจิ ารณาเหน็ ชอบโดย

ลงชอื ………………………….………..ครูทีปรกึ ษาหลกั
(นายเอกชัย เปย้ี วเม่น)

ลงชอื ………………………….………..ครทู ปี รกึ ษารอง
(นายเกรียงศักดิ์ ฑฆี าวงค)์

ลงชือ……………………………….…..ครทู ปี รึกษารอง
(นายวรี ภัทร ชัยศิร)ิ

ลงชอื …………………………………...หวั หน้าแผนกวชิ าชา่ งยนต์
(นายอ่านาจ รอดมา)

ลงชอื ………………………….………..รองผอู้ ่านวยการฝา่ ยวชิ าการ
(นางอรอนงค์ ชมกอ้ น)

ลงชอื ……………….…………………..ผู้อ่านวยการวทิ ยาลัยการอาชพี บ้านตาก
(นางวัลลีย์ อาศยั )

แบบเสนอโครงการ

ชอ่ื โครงการ รถประหยัดนำ้ มันเช้อื เพลิง
Fuel Efficient Car

ผู้ดาเนินโครงการ อ้ำอน้ รหัสประจ้ำตวั 6121010004
1. นำยกอบชยั เพชรแสง รหัสประจำ้ ตัว 6121010005
2. นำยกิตตธิ ร ยืนยงครี มี ำศ รหัสประจ้ำตัว 6121010011
3. นำยชัยยนันท์

ครูทปี่ รกึ ษา เปย้ี วเม่น ครูทปี รึกษำหลัก
1. นำยเอกชยั ฑฆี ำวงค์ ครทู ปี รกึ ษำรอง
2. นำยเกรยี งศกั ด์ิ ชยั ศริ ิ ครทู ปี รกึ ษำรอง
3. นำยวรี ภัทร

ความเปน็ มาของโครงการ
พลังงำนน้ำมันเช้ือเพลงิ มีควำมส้ำคัญมำกต่อมนุษย์ แตน่ ้ำมนั ก็เป็นส่วนหนึงทที ้ำให้เกิดมลพิษ

ทำงอำกำศและน้ำมนั ในตอนนม้ี ีรำคำค่อนขำ้ งสงู ปจั จบุ นั มีมำตรกำรและนโยบำยอย่ำง ตอ่ เนืองในกำร
ลดใช้น้ำมัน โดยมุ่งเน้นไปทำงพลังงำนทดแทน เชน่ พลังงำนแสงอำทิตย์ พลังงำนลม พลังงำนนำ้ เป็น
ต้น พลังงำนเหล่ำน้ีเป็นพลังงำนสะอำดแต่ค่ำใช้จ่ำยในกำรจัดกำรสูง อย่ำงไรก็ตำม ยังมีวิธีในกำรลด
กำรใช้น้ำมันเช้ือเพลิงให้น้อยลง เช่น กำรใช้พลังงำนร่วมประกอบด้วย LPG บวก น้ำมัน
ไฟฟ้ำ บวก นำ้ มนั และอกี วธิ ี คอื กำรคิดเทคโนโลยีใหม่ทีท้ำให้ลดกำรใช้น้ำมนั เชือ้ เพลงิ ใหน้ ้อยลง

ดังน้ันคณะผู้จดั ท้ำจึงมีควำมประสงคท์ ้ำโครงกำรรถประหยัดนำ้ มนั เช้อื เพลิง เพือเข้ำร่วม กำร
แข่งขันรถประหยัดน้ำมนั เชือ้ เพลิงทีมีประสทิ ธิภำพสูง ซึงเป็นรถต้นแบบของรถประหยัดน้ำมนั เช้ือเพลิง
ในอนำคต

วัตถุประสงคข์ องโครงการ
1. เพอื จดั สรำ้ งรถประหยดั นำ้ มันเชอ้ื เพลงิ

2. เพอื เข้ำร่วมกำรแข่งขนั รถประหยดั น้ำมนั เชอื้ เพลิง
3. เพอื ใหน้ ักเรียนนักศึกษำไดน้ ้ำควำมรภู้ ำคทฤษฎแี ละภำคปฏบิ ัติมำประยุกตใ์ ช้กบั รถประหยัด
น้ำมันเชือ้ เพลงิ

ขอบเขตของโครงการ
1. รถประหยดั น้ำมันเชอ้ื เพลงิ สำมำรถใชง้ ำนได้
2. รถประหยัดนำ้ มันเชื้อเพลิง สำมำรถเข้ำรว่ มกำรแขง่ ขันได้

ประโยชนท์ คี่ าดวา่ จะได้รับ
1. ได้รถประหยดั น้ำมันเช้ือเพลิง
2. ได้ควำมรู้ภำคทฤษฎแี ละภำคปฏิบัติมำประยกุ ต์ใช้กับรถประหยัดน้ำมันเช้อื เพลงิ
3. ได้เข้ำร่วมกำรแขง่ ขันรถประหยดั นำ้ มนั เชอ้ื เพลิง ครั้งที 23 ณ จงั หวัดบุรีรมั ย์

สมมตุ ฐิ าน
1. รถประหยดั นำ้ มันเช้อื เพลงิ สำมำรถเขำ้ รว่ มกำรแขง่ ขนั รถประหยัดนำ้ มันเชือ้ เพลงิ ได้จรงิ
2. รถประหยดั นำ้ มนั เชอ้ื เพลงิ สำมำรถวงิ ได้ระยะทำง 266 กิโลเมตร/ลิตร

นิยามศัพท์
1. ระบบไฟชำร์จ-ไฟแสงสว่ำง (Charging-Lighting System) ระบบไฟชำร์จ มีหน้ำทีผลิต

กระแสไฟฟ้ำเข้ำประจใุ นแบตเตอรแี ละจำ่ ยใหก้ บั อุปกรณ์ไฟฟำ้ ในระบบไฟตำ่ ง
2. ขดลวดไฟแสงสว่ำง/ไฟชำรจ์ ทำ้ หน้ำทีผลติ กระแสไฟสลับ (AC) ซึงเกดิ จำกกำรทลี อ้ แม่เหล็ก

หมุนตัดกบั ขดลวดทีพนั อย่บู นแกนเหล็กอ่อน
3. ชุดเรียงกระแส (Rectifier) หรือไดโอด (Diode) ท้ำหน้ำทีแปลงกระแสไฟฟ้ำ (AC) เป็น

กระแสไฟฟำ้ (DC)

วิธีดาเนินโครงการ
1. รูปแบบกำรดำ้ เนนิ โครงกำร
1.1 ขน้ั ตอนกำรดำ้ เนินโครงกำร
1.2 จัดตง้ั กล่มุ สมำชิกเพือทำ้ โครงกำร
1.3 ประชมุ วำงแผนเสนอหัวขอ้ โครงกำร
1.4 ศกึ ษำค้นคว้ำขอ้ มูลจำกแหล่งเรยี นรู้
1.5 เขยี นโครงรำ่ งของโครงกำร
1.6 ขออนมุ ตั โิ ครงกำร
1.7 ขน้ั ตอนด้ำเนนิ งำน ลงมอื ปฏบิ ัติงำน
1.8 รวบรวมข้อมลู เพือบนั ทกึ เพือควำมก้ำวหนำ้
1.9 สรปุ ผลกำรด้ำเนินงำน
1.10 จดั รปู เลม่ โครงกำร
1.11 ข้นั กำรน้ำเสนอโครงกำร น้ำเสนอโครงกำรต่อคณะกรรมกำร
1.12 สรุปรปู เล่มโครงกำร

2. เครืองมือทใี ช้ในกำรวิจัย
2.1 เครอื งมือทใี ชใ้ นกำรพัฒนำ ไดแ้ ก่ รถประหยัดน้ำมนั เชือ้ เพลิง
2.2 เครืองมอื ทใี ช้ในกำรรวบรวมขอ้ มลู ได้แก่ แบบสอบถำมควำมพึงพอใจ

3. กำรรวบรวมข้อมลู

3.1 ศึกษำหลักเกณฑ์ ทฤษฎี เอกสำรและวิธีกำรแบบส้ำรวจแบบสอบถำมมำตรำส่วน

ประมำณค่ำ (Rating scale) มำเป็นแนวทำงในกำรสร้ำงแบบสอบถำมควำมพึงพอใจให้กับนักเรียน

นกั ศึกษำ ครู และประชำชนผู้ทีสนใจ

3.2 ศึกษำเอกสำรงำนวจิ ยั ทีเกยี วขอ้ งกับควำมพึงพอใจและศึกษำแบบสอบถำมทีเกยี วข้อง

กับควำมพงึ พอใจ ทีมผี ูส้ รำ้ งไว้เพอื เปน็ แนวทำงในกำรสรำ้ งแบบสอบถำม

3.3 สรำ้ งข้อควำมทีแสดงลกั ษณะควำมพึงพอใจของนักเรยี น นกั ศกึ ษำ ครู และประชำชน

ผทู้ สี นใจ

3.4 แจกแบบสอบถำมควำมพึงพอใจให้กับนักเรียน นักศึกษำ ครู และประชำชน ผู้ทสี นใจ

แบบสมุ่ จำ้ นวน 30 คน

3.5 ลักษณะแบบสอบถำมเป็นมำตรำส่วนประมำณค่ำ (Rating scale) 5 ระดับตัวเลือก

คือ มำกทสี ดุ มำก ปำนกลำง นอ้ ย นอ้ ยทีสุด ดงั น้ี

พงึ พอใจมำกทสี ุด 5 คะแนน

พงึ พอใจมำก 4 คะแนน

พงึ พอใจปำนกลำง 3 คะแนน

พึงพอใจน้อย 2 คะแนน

พึงพอใจนอ้ ยทีสุด 1 คะแนน

4. กำรวิเครำะหข์ อ้ มลู
ในกำรด้ำเนินโครงกำรรถประหยัดน้ำมันเช้ือเพลิง ผู้จัดท้ำได้เลือกใช้สถิติในกำรวเิ ครำะห์

คือ วิเครำะห์หำค่ำควำมพึงพอใจของนักเรียน นักศึกษำ ครู และประชำชนผู้ทีสนใจทีมีต่อโครงกำร
รถประหยดั นำ้ มนั เชื้อเพลิง โดยใชค้ ำ่ เฉลีย ( X ) เท่ำกับ และสว่ นเบยี งเบนมำตรฐำน (S.D)

แผนดาเนนิ โครงการ (ตลอด 1 ปกี ารศกึ ษา)

กจิ กรรม พ.ศ.2563 พ.ศ.2564

1. ศกึ ษำข้อมูล ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค.
2. เสนอหัวขอ้ โครงกำร (ต่อครูผ้สู อน)
3. ออกแบบชิ้นงำน
4. เตรียมขอ้ มูลน้ำเสนอหวั ข้อโครงกำร
5. น้ำเสนอหัวข้อโครงกำร (กรรมกำร)
6. เตรยี มวัสดุ/ลงมือปฏบิ ตั งิ ำน

7. ทดสอบกำรท้ำงำน
8. จดั ท้ำรปู เล่มโครงกำร

9. น้ำเสนอโครงกำร (กรรมกำร)

งบประมาณ (ประมาณการ)

รายการ จานวน ราคา/ ราคารวม หมายเหตุ
(หนว่ ย) หน่วย

1. คำ่ ใชส้ อย - --

2. ค่ำตอบแทน - --

3. ค่ำวสั ดุ

3.1 เรซิน 1 เเกลลอน 500 500

3.2 ผำ้ คำรบ์ อน ขนำด 1.5 เมตร 13 ผนื 65 845

3.3 แบตเตอรี 12 V 1 ลกู 750 750

3.4 ใบหนิ เจียร 2 ใบ 30 60

3.5 ยำงนอกรถจักรยำน ขนำด 20x1.5 3 เสน้ 270 810

3.6 โฟมปูทนี ัง 3 ผนื 120 360

3.7 ลกู ปนื รถจักรยำน 6 ตลับ 120 720

3.8 หัวเทียนแบบเข็ม 1 อัน 165 165

รวมท้ังสน้ิ 4,210

แบบร่าง โครงการรถประหยดั น้ามันเชอื้ เพลงิ (Fuel Efficient Car)

เอกสารอ้างอิง
บญุ ธรรม ภัทรำจำรุกลุ (2556) งานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกสเ์ บ้ืองตน้ กรงุ เทพมหำนคร: ซีเอด็ ยเู คชัน

จ้ำกัด มหำชน
บุญธรรม ภัทรำจำรุกลุ (2556) งานจักรยานยนต์ กรงุ เทพมหำนคร: ซเี อด็ ยูเคชัน บมจ.

ประภำส พวงชืน พิมพ์ครั้งที 1 กุมภำพันธ์ (2557) งานไฟฟ้ารถยนต์: จังหวัดนนทบรุ ี ศูนย์หนงั สือ
เมอื งไทย จ้ำกัด

ประสำนพงษ์ หำเรอื นชพี (2556) งานบริการเบรกรถจกั รยานยนต์ กรุงเทพมหำนคร:ซเี อ็ดยเู คชนั บมจ.

พันธศ์ กั ดิ์ พุฒิมำนติ พงศ์ (2557) เครื่องมือวัดและวงจรไฟฟา้ กรงุ เทพมหำนคร: ซีเอด็ ยูเคชนั จำ้ กัด

ความคดิ เหน็ ของครูท่ปี รึกษา โครงการรถประหยดั น้ามันเชือ้ เพลิง (Fuel Efficient Car)

…………………………………………………………………………………………………………………………….………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชือ………………..........………..……
(นำยเอกชยั เปย้ี วเมน่ )
ครทู ีปรึกษำหลัก

…………………………………………………………………………………………………………………….………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชือ………………..........………..……
(นำยเกรียงศกั ดิ์ ฑีฆำวงค์)
ครูทีปรึกษำรอง

…………………………………………………………………………………………………………………….………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชอื ………………..........………..……
(นำยวีรภทั ร ชัยศริ )ิ
ครทู ปี รึกษำรอง



กิตตกิ รรมประกาศ

คณะผู้จัดทำโครงกำรรถประหยัดน้ำมันเช้ือเพลิง ขอขอบคุณครูที่ปรึกษำโครงกำร
ท่ใี ห้คำแนะนำข้อเสนอแนะรูปแบบในกำรดำเนนิ โครงกำร

ขอขอบคณุ ครแู ผนกวชิ ำช่ำงยนต์ ท่สี นับสนนุ และอำนวยควำมสะดวกสถำนที่ วสั ดุอุปกรณ์
เครือ่ งมือในกำรดำเนินโครงกำรรถประหยดั นำ้ มันเชือ้ เพลิง

ขอขอบคุณคณะครู เจ้ำหน้ำท่ี วิทยำลัยกำรอำชีพบ้ำนตำก ท่ีให้กำลังใจและควำมรู้ในกำร
เรยี นวชิ ำโครงกำร มำโดยตลอด

ขอขอบคุณรองผู้อำนวยกำร ผู้อำนวยกำร วิทยำลัยกำรอำชีพบ้ำนตำก ที่มีส่วนร่วมในกำร
ดำเนินโครงกำรและให้โอกำสนักเรยี น นักศึกษำได้ปรับปรุงและพัฒนำสื่อกำรเรียนกำรสอนควบคู่กับ
กำรเรยี นกำรสอนในสำขำอำชีพและสนบั สนุนกำรศกึ ษำทุกดำ้ นมำโดยตลอด

ขอขอบคุณบิดำ มำรดำ ทใี่ ห้กำลงั ใจและสนบั สนุนกำรศึกษำทกุ ด้ำนมำโดยตลอด
โครงกำรรถประหยัดน้ำมันเชื้อเพลิง ซึ่งคณะผู้จัดทำหวังว่ำโครงกำรดังกล่ำวฯ น้ี
จะเป็นประโยชน์ไม่มำกก็น้อยแก่นักเรียน นักศึกษำ ครู และประชำชนผู้ท่ีสนใจท่ี จะศึกษำเกี่ยวกับ
โครงกำรรถประหยัดนำ้ มนั เชอ้ื เพลิง
สุดท้ำยน้ี คณะผู้จัดทำโครงกำรรถประหยัดน้ำมันเชื้อเพลิง หำกมีข้อผิดพลำดหรือขำดตก
บกพร่องประกำรใด คณะผู้จดั ทำขออภยั ไว้ ณ ท่ีน้ดี ว้ ย

คณะผจู้ ัดทำ
นำยกอบชัย อ่ำอน้
นำยกติ ติธร เพชรแสง
นำยชยั ยนนั ท์ ยืนยงครี ีมำศ



ชอื่ โครงการ รถประหยัดน้ำมันเชอื้ เพลิง
ผู้ดาเนินโครงการ
นำยกอบชัย อำ้ อ้น
สถานศกึ ษา นำยกิตติธร เพชรแสง
ปีการศึกษา นำยชยั ยนนั ท์ ยนื ยงครี ีมำศ

วิทยำลัยกำรอำชพี บำ้ นตำก สำ้ นกั งำนคณะกรรมกำรกำรอำชีวศกึ ษำ
2563

บทคดั ยอ่

ในกำรจัดท้ำโครงกำรรถประหยัดน้ำมันเช้ือเพลิงในครั้งนี้เพือจัดสร้ำงรถประหยัดน้ำมัน
เชื้อเพลิง เพือเข้ำร่วมกำรแข่งขันรถประหยัดน้ำมันเชื้อเพลิง เพือให้นักเรียนนักศึกษำได้น้ำควำมรู้
ภำคทฤษฎีและภำคปฏบิ ตั ิมำประยกุ ต์ใช้กับรถประหยดั น้ำมันเชื้อเพลงิ

ในกำรจัดท้ำโครงกำรรถประหยัดน้ำมันเชื้อเพลิง พบว่ำควำมพึงพอใจในกำรด้ำเนินโครงกำร
ดังกล่ำวฯ โดยรวมอยู่ในระดับดีมำก ทีค่ำเฉลีย 4.59 เมือพิจำรณำเป็นข้อโดยเรียงล้ำดับจำกมำก
ไปหำน้อย ดงั นี้

1. คณุ ภำพกำรใช้งำนไดจ้ ริง ค่ำเฉลีย ( X ) เท่ำกบั 4.97 อยใู่ นระดับดีมำก
2. กำรนำ้ ไปใช้ประโยชน์ไดจ้ รงิ ค่ำเฉลีย ( X ) เทำ่ กบั 4.87 อย่ใู นระดับดีมำก
3. สำมำรถประหยดั น้ำมันเชอื้ เพลงิ ได้ คำ่ เฉลยี ( X ) เทำ่ กบั 4.60 อยใู่ นระดบั ดีมำก
4. สำมำรถใช้เป็นสือกำรเรยี นกำรสอนได้ ค่ำเฉลยี ( X ) เทำ่ กับ 4.53 อยใู่ นระดับดีมำก
5. กำรทำ้ งำนเป็นทีม ค่ำเฉลยี ( X ) เทำ่ กับ 3.97 อยู่ในระดบั ดี

ในกำรจัดท้ำโครงกำรรถประหยัดน้ำมันเชื้อเพลิงในครั้งนี้ จึงส้ำเร็จเป็นไปตำมวัตถุประสงค์
ของโครงกำร ขอบเขตของโครงกำรและประโยชน์ทีคำดว่ำจะได้รับตำมทีคณะผู้จัดท้ำตั้งใจไว้
ทกุ ประกำร

สารบัญ ค

เรือ่ ง หน้า

กิตติกรรมประกาศ ก
บทคดั ย่อ ข
สารบัญ ค
สารบัญ (ตอ่ ) ง
สารบญั ตาราง จ
สารบญั รปู ฉ

บทที่ 1 บทนา 1
1.1 ความเป็นมาของโครงการ 1
1.2 วัตถุประสงค์ของโครงการ 1
1.3 ขอบเขตของโครงการ 1
1.4 ประโยชน์ทีค่ าดว่าจะไดร้ ับ 1
1.5 สมมตุ ฐิ าน 1
1.6 นยิ ามศัพท์ 2

บทที่ 2 เอกสารทเี่ ก่ียวข้อง 3
2.1 เครอ่ื งยนต์ PGM - FI 3
2.2 ระบบเบรก (ดสิ ก์เบรก) 4
2.3 ระบบบังคับเลย้ี ว 4
2.4 ระบบสง่ กาลงั (โซ่และสเตอร์) 5
2.5 เรซน่ิ 5
2.6 ใยแกว้ ไฟเบอร์กลา๊ ส 6
2.7 สี 6

บทที่ 3 วธิ ดี าเนินโครงการ 8
3.1 การศึกษาข้อมูล 8
3.2 ข้ันตอนการลงมือปฏิบตั ิงาน 9
3.3 เครื่องมือท่ีใชใ้ นการศึกษา 14
3.4 เกบ็ รวบรวมขอ้ มลู กลุม่ ประชากรตวั อยา่ ง 14
3.5 สรปุ ผลการดาเนินโครงการ 14

บทท่ี 4 ผลการดาเนินงาน 16
4.1 ผลการวจิ ัยแบบสอบถาม 16

สารบญั (ต่อ) ง

เรอื่ ง หน้า

บทที่ 5 สรุปผล อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ 18
5.1 สรปุ ผลการดาเนินโครงการ 18
5.2 อภปิ รายผล 18
5.3 ปญั หาและอปุ สรรคในการดาเนนิ โครงการ 19
5.4 ข้อเสนอแนะแนวทางในการพฒั นา 19

เอกสารอา้ งองิ 20

ภาคผนวก 21
ภาคผนวก ก แบบสอบถามความพงึ พอใจ 22
ภาคผนวก ข ผลการวิจยั แบบสอบถามความพึงพอใจ 23
ภาคผนวก ค รูปขณะปฏิบัตงิ าน 24
ภาคผนวก ง แบบสอบถามความพงึ พอใจทีเ่ กบ็ จากกลมุ่ ตัวอยา่ ง 25

ประวัตผิ ู้ดาเนนิ โครงการ 26

สารบัญตาราง จ

ตารางท่ี หน้า

1. ขอ้ มลู ท่วั ไปของผตู้ อบแบบสอบถาม 16
2. ผลการวเิ คราะห์ข้อคาถามของแบบสอบถาม 17



สารบญั รปู หน้า

รูปท่ี 3
4
รปู ท่ี 2.1 รูปเครอื่ งยนต์ระบบฉดี PGM - FI
รปู ท่ี 2.2 รปู ระบบเบรก (ดิสกเ์ บรก) 4
รปู ที่ 2.3 รูประบบบังคับเลี้ยว 5
รปู ท่ี 2.4 รูประบบสง่ กำลัง 5
รูปที่ 2.5 รปู เรซิ่น
รูปที่ 2.6 รปู ใยแก้วไฟเบอรก์ ล๊ำส 6
รูปท่ี 2.7 รูปสี 7
รูปท่ี 3.1 รปู กำรเตรียมวัสดอุ ุปกรณ์ต่ำงๆ โครงกำรรถประหยัดน้ำมนั เชือ้ เพลิง
รปู ที่ 3.2 รปู กำรออกแบบช้ินงำน โครงกำรรถประหยดั นำ้ มนั เชอื้ เพลิง 9
รูปท่ี 3.3 รปู กำรหลอ่ ใยแกว้ แบบรงั ผ้ึง โครงกำรรถประหยัดนำ้ มันเช้ือเพลงิ 9
รูปท่ี 3.4 รูปกำรติดตงั้ ระบบบังคับเลยี้ ว โครงกำรรถประหยัดนำ้ มนั เช้อื เพลิง 10
รูปท่ี 3.5 รปู กำรตดิ ตั้งระบบส่งกำลงั โครงกำรรถประหยดั น้ำมันเชอ้ื เพลิง
รูปท่ี 3.6 รปู กำรติดตั้งระบบเบรก โครงกำรรถประหยดั นำ้ มันเช้อื เพลงิ 10
รูปที่ 3.7 รปู กำรตดิ ตั้งระบบแรงดนั ลม โครงกำรรถประหยัดนำ้ มันเชอ้ื เพลงิ 11
รูปที่ 3.8 รปู กำรทดสอบชนิ้ งำน โครงกำรรถประหยดั นำ้ มนั เช้อื เพลงิ
รูปท่ี 3.9 รูปกำรประเมินผล โครงกำรรถประหยดั นำ้ มนั เช้อื เพลงิ 11
รปู ที่ 3.10 รปู เสรจ็ สมบรู ณ์ โครงกำรรถประหยดั นำ้ มนั เชือ้ เพลงิ 12
12

13
13

บทท่ี 1

บทนำ

1.1 ควำมเปน็ มำของโครงกำร
พลังงานน้ามันเชือเพลิงมีความส้าคัญมากต่อมนุษย์ แต่น้ามันก็เป็นส่วนหนึ่งท่ีท้าให้เกิด

มลพิษทางอากาศและน้ามันในตอนนีมีราคาค่อนข้างสูง ปัจจุบันมีมาตรการและนโยบายอย่าง
ตอ่ เน่ืองในการลดใช้น้ามัน โดยมุ่งเน้นไปทางพลังงานทดแทน เชน่ พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานลม
พลังงานน้า เป็นต้น พลังงานเหล่านีเป็นพลังงานสะอาดแต่ค่าใช้จ่ายในการจัดการสูง อย่างไรก็ตาม
ยังมีวิธีในการลดการใช้น้ามันเชือเพลิงให้น้อยลง เช่น การใช้พลังงานร่วมประกอบด้วย
LPG บวก น้ามัน ไฟฟ้า บวก น้ามัน และอีกวิธี คือการคิดเทคโนโลยีใหม่ท่ีท้าให้ลดการใช้น้ามัน
เชือเพลงิ ให้น้อยลง

ดังนันคณะผู้จัดท้าจึงมีความประสงค์ท้าโครงการรถประหยัดน้ามันเชือเพลิง เพื่อเข้าร่วม
การแข่งขันรถประหยัดน้ามันเชือเพลิงท่ีมีประสิทธิภาพสูง ซ่ึงเป็นรถต้นแบบของรถประหยัดน้ามัน
เชือเพลงิ ในอนาคต

1.2 วตั ถุประสงคข์ องโครงกำร
1.2.1 เพ่ือจดั สร้างรถประหยดั นา้ มันเชือเพลิง
1.2.2 เพ่อื เขา้ ร่วมการแข่งขันรถประหยัดน้ามันเชอื เพลิง
1.2.3 เพื่อให้นักเรียนนักศึกษาได้น้าความรู้ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติมาประยุกต์ใช้กับ

รถประหยดั น้ามนั เชอื เพลงิ

1.3 ขอบเขตของโครงกำร
1.3.1 รถประหยัดนา้ มันเชือเพลงิ สามารถใช้งานได้
1.3.2 รถประหยดั นา้ มันเชอื เพลงิ สามารถเขา้ ร่วมการแข่งขนั ได้

1.4 ประโยชน์ที่คำดวำ่ จะได้รบั
1.4.1 ไดร้ ถประหยัดน้ามันเชือเพลิง
1.4.2 ได้ความรู้ภาคทฤษฎแี ละภาคปฏบิ ตั ิมาประยุกต์ใชก้ บั รถประหยดั นา้ มนั เชือเพลงิ
1.4.3 ไดเ้ ขา้ ร่วมการแข่งขนั รถประหยัดนา้ มนั เชอื เพลงิ ครังท่ี 23 ณ จงั หวัดบรุ รี ัมย์

1.5 สมมุตฐิ ำน
1.5.1 รถประหยัดนา้ มนั เชอื เพลิง สามารถเขา้ ร่วมการแข่งขนั รถประหยัดนา้ มันเชอื เพลงิ ได้จริง
1.5.2 รถประหยดั นา้ มนั เชือเพลิง สามารถวงิ่ ได้ระยะทาง 266 กิโลเมตร/ลติ ร

2

1.6 นิยำมศพั ท์
1.6.1 ระบบไฟชาร์จ-ไฟแสงสว่าง (Charging-Lighting System) ระบบไฟชาร์จ มีหน้าท่ี

ผลติ กระแสไฟฟา้ เขา้ ประจใุ นแบตเตอรแ่ี ละจา่ ยให้กบั อปุ กรณ์ไฟฟา้ ในระบบไฟตา่ ง
1.6.2 ขดลวดไฟแสงสว่าง/ไฟชาร์จ ท้าหน้าที่ผลิตกระแสไฟสลับ (AC) ซึ่งเกิดจากการที่ล้อ

แมเ่ หล็กหมุนตัดกับขดลวดทีพ่ นั อยบู่ นแกนเหลก็ ออ่ น
1.6.3 ชุดเรียงกระแส (Rectifier) หรือไดโอด (Diode) ท้าหน้าท่ีแปลงกระแสไฟฟ้า (AC)

เป็นกระแสไฟฟา้ (DC)

บทท่ี 2
เอกสารท่ีเกยี่ วขอ้ ง

จากท่ีบริษัท ฮอนด้า ประเทศไทย จากัด ได้มีความร่วมมือกับสถานศึกษาระดับอาชีวศึกษา
ทั่วประเทศในเรื่องของการจัดการแข่งขันรถประหยัดน้ามันเช้ือเพลิงขึ้นน้ัน เพื่อเป็นแนวทางในการ
ผลิตรถยนต์ในอนาคต ทาให้ สถานศึกษาหลายแห่งได้มีการคิดค้นและออกแบบรถประหยัดน้ามัน
เชื้อเพลิงในแบบของตนเอง เพ่ือเข้าแข่งขันกับทางฮอนด้า ทาให้เกิดการนาเอาหลักวิชาในการเรียน
การสอนมาพัฒนาเป็นนวัตกรรมของแต่ละสถาบันการศึกษาข้ึน โดยแต่ละสถาบันจะสร้างร่วมกับ
นักเรียนและมีการแข่งขันเพื่อค้นหาสถิติท่ีดีท่ีสุด เพื่อที่จะนาเอาเทคนิคที่ใช้ในรถคันท่ีได้ลาดับท่ี 1-3
ในการแข่งขันไปพัฒนาเป็นนวัตกรรมใหม่ๆ

2.1 เครอ่ื งยนต์ PGM - FI
เครื่องยนต์ PGM - FI ย่อมาจากคาว่า Programmed Fuel Injection คือ การใช้ระบบ

อิเล็กทรอนิกส์เข้ามาควบคุมการฉีดจ่ายน้ามันเชื้อเพลิงให้มีปริมาณที่เหมาะสมกับการทางานของ
เครื่องยนต์ในสภาวะต่าง ๆ โดยมีเป้าหมายเพื่อให้เครื่องยนต์ทางานอย่างเต็มประสิทธิภาพปริมาณ
ไอเสียต่า ประหยัดน้ามันและให้สมรรถนะการขับขี่ที่ดีข้ึน ระบบจ่ายน้ามันแบบหัวฉีด PGM-FI น้ัน
ทางานโดยการควบคุมและส่ังการผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งเปรียบเสมือนกับสมองกลอัจฉริยะ
ECU (Engine Control Unit) พร้อมด้วยกลไกต่างๆ ท่ีเป็นเทคโนโลยีล้าสมัย ส่งผลให้การคานวณ
อัตราของการจ่ายนา้ มันเช้อื เพลิงมีความเท่ียงตรงแม่นยามาก ส่งผลให้มีอัตราการประหยัดน้ามันที่สงู
ในขณะที่เครื่องยนต์ทางานได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ ตอบสนองทุกความต้องการของผู้ขับขี่ด้วย
แรงบดิ ทีด่ ีเย่ียมและใหส้ มรรถนะสูง รวมท้งั ยังเผาไหม้สมบรู ณ์หมดจด จึงทาใหม้ ไี อเสยี สะอาดอกี ด้วย

รูปท่ี 2.1 เครอ่ื งยนต์ระบบฉีด PGM - FI

4

2.2 ระบบเบรก (ดสิ ก์เบรก)
แบบดิสก์เบรก (Disc Brakes) จักรยานท่ีใช้ระบบเบรกแบบนี้ส่วนมากจะเป็นจักรยานเสือ

ภูเขาหรือจักรยานประเภทลงเขา (Down Hill) จักรยานประเภทนี้จะต้องเจอกับสภาพสนามที่เต็มไป
ด้วยอุปสรรค เช่น โคลนและฝุ่น ระบบเบรกแบบนจี้ ึงเป็นส่ิงจาเป็นมากเพราะให้การหยุดท่ีม่ันคงและ
แนน่ อนแมจ้ ะมีโคลนหรอื น้ามาเกาะบรเิ วณรอบๆ เบรกก็ตาม

รูปท่ี 2.2 ระบบเบรก (ดสิ ก์เบรก)
2.3 ระบบบังคับเลีย้ ว

ระบบท่ีควบคุมการเลี้ยวของรถยนต์ผ่านการบังคับจากคนขับในห้องโดยสารเพื่อให้ล้อหน้า
ท้ัง 2 ล้อเกิดการหันตามทิศทางท่ีต้องการ โดยจะช่วยผ่อนแรงจากผู้บังคับผ่านการใช้ชุดเฟืองทดแรง
ท่ีอยู่ระหว่างแกนพวงมาลัยกับแขนส่งกาลังที่เรียกว่ากระปุกพวงมาลัย เมื่อออกแรงหมุนที่พวงมาลัย
ก็จะเกิดการส่งผ่านแรงมายังกระปุกพวงมาลยั และส่งไปที่แกนยึดกับล้อก็จะทาให้ล้อหมุนตามทิศทาง
ทีต่ ้องการ

รูปท่ี 2.3 ระบบบังคับเลีย้ ว

5

2.4 ระบบส่งกาลัง (โซ่และสเตอร์)
โซ่และสเตอร์ คือตัวกลางท่ีสาคัญสาหรับการส่งต่อกาลังงานความเร็วต่างๆ โซ่ถือว่าเป็น

ช้ินส่วนที่มีความสาคัญเป็นอย่างมากท่ีจะเป็นตัวส่งต่อกาลังจากเคร่ืองยนต์ไปยังวงล้อ ทาให้เกิด
เเรงเหวี่ยงหมนุ รอบตัวเองหลายๆ รอบ ท้งั ในช่วงความเร็วสงู และในชว่ งท่ีรถทาการออกตวั จากสภาพ
การหยุดนิ่ง ดังน้ันโซ่จึงเป็นอุปกรณ์ท่ีสาคัญมากในรถจักรยานยนต์ จึงต้องมีคุณภาพท่ีสูงท่ีจะ
ตอบสนองแรงของเคร่ืองยนต์ท่ีจะถูกถ่ายทอดออกมาอย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้นโซ่จึงต้องเป็น
อุปกรณ์ท่ีมีมาตรฐานที่สูง ต้องทามาจากเน้ือเหล็กที่มีคุณสมบัติพิเศษที่ดีและมีการผลิตท่ีผ่านการ
ปัม๊ ขึน้ รูปดว้ ยโรงงานท่ีทนั สมยั เพอื่ ให้ไดต้ ามมาตรฐานสากล

รูปที่ 2.4 ระบบสง่ กาลัง
2.5 เรซิ่น

เรซิ่น (Resins) เป็นสารที่ได้จากยางเหนียวของต้นไม้หรือจากการสังเคราะห์ต่างๆ กัน เช่น
เรซ่ินจากต้นสนและเรซิ่นจากธรรมชาติ เรซิ่นธรรมชาติละลายได้ในตัวทาละลายเกือบทุกชนิดและ
นามาใช้ประโยชน์ได้มากมาย เช่น ทาวาร์นิช สารเคลือบผิว กาว และใช้เป็นสารประกอบใน
อุตสาหกรรมยา น้าหอม สารให้กล่ิน (Flavors) และในอุตสาหกรรมอาหาร เป็นต้น ได้มีการใช้
ประโยชน์ของเรซิ่นมาตั้งแตส่ มยั โบราณ โดยนามาทาเป็นยาใชใ้ นพธิ ีทางศาสนาและในสงั คมประจาวัน
เช่น กายาน ยางไม้หอม ระงับความเจ็บปวด น้าหอม ไวน์ รวมท้ังใช้ดองหรือรักษาสภาพศพไม่ให้
เน่าเป่ือยในสมัยอียิปต์โบราณ ความเจริญก้าวหน้าทางด้านเภสัชกรรมทาให้มีการออกข้อกาหนดทาง
กฎหมาย เช่น พระราชบัญญัติควบคุมสารพิษ โดยครอบคลุมการใช้เรซิ่นธรรมชาติในทางยาไว้ด้วย
ซงึ่ จะศึกษาได้จากหนังสอื Merck Index และ Pharmacopoeias

รปู ที่ 2.5 เรซน่ิ

6

2.6 ใยแก้วไฟเบอรก์ ลา๊ ส
เป็นวัสดุท่ที ามาจากใยแกว้ ท่ีมีเส้นใยเล็กมาก เกดิ จากการหลอมละลายและแข็งตัวของซิลิก้า

ซึง่ เปน็ วตั ถดุ บิ จากแก้วทผ่ี ่านการเผาท่ีอุณหภูมิสงู เส้นใยแกว้ ใช้ในงานเสริมแรงโพลิเมอร์ได้หลายชนิด
ใช้ผสานกับเรซิ่น เรียกว่า การคอมโพสิท ทาหน้าที่เป็นตัวเสริมความแข็งแรงให้กับโพลีเอสเตอร์เรซิ่น
ไฟเบอรก์ ล๊าส เชน่ เดียวกบั เหล็กเส้นเสริมในงานคอนกรีต เปน็ วสั ดุซง่ึ ทามาจากแก้วท่ีมเี ส้นใยเล็กมาก
มรี ปู รา่ งตา่ งกนั ไปหลายชนดิ ตามลักษณะรปู แบบกายภาพ

รปู ที่ 2.6 ใยแกว้ ไฟเบอรก์ ลา๊ ส

2.7 สี
สีมีอิทธิพลในการดาเนินชีวิตประจาวัน สีอาจเปล่ียนอารมณ์และความรู้สึกของมนุษย์ได้

ทาใหค้ นเกิดความรู้สกึ ปราดเปร่อื ง ตืน้ ตนั กระตือรือรน้ หรอื เกดิ ความเฉื่อยชาได้ สยี ังทาให้ร้สู ึกวา่ วัตถุ
ที่มีขนาดใหญ่เม่ือมองดูแล้วกลับมีขนาดลดลงหรือในทานองตรงกันข้าม การตกแต่งรถยนต์ด้วยสีก็ดี
ส่ิงเหล่าน้ีทาให้เกิดอิทธิพลผู้พบเห็น ซ่ึงสามารถบ่งบอกถึงรสนิยมแต่ละบุคคลได้ด้วย ดังน้ันการ
เลือกใช้สีจึงมีความจาเป็นมาก การศึกษาอย่างลึกซึ้งและใช้เวลาพอสมควรตัวอย่างอิทธิพลของสีต่อ
การเลือกใช้งานมีดังน้ี สีอ่อนจะทาให้มองดูกว้างและใหญ่ข้ึน ขณะท่ีสีเข้มจะทาให้มองดูแคบและเล็ก
น้าเงินหรือสหี นักไปทางน้าเงิน เชน่ สีเขียวจะทาให้ร้สู ึกเยือกเย็น เปน็ ตน้ สีแดง สสี ้ม สเี หลือง และมีสี
มว่ งเปน็ สที ่เี รา้ อารมณ์ต่ืนเต้น สีแดงยงั ใชส่ าหรับอปุ กรณ์เกีย่ วกบั การป้องกนั อัคคภี ยั อุปกรณด์ บั เพลิง
และตาแหนง่ ทต่ี ้ังอกี ดว้ ย การใชส้ ที ีต่ ัดจะทาให้วัตถุดูเดน่ ชัดย่งิ ข้นึ เช่น สแี ดงกบั ขาวหรือสดี ากับสีขาว
เป็นต้น ประโยชน์ของสีโดยเฉพาะสีรถยนต์พอสรุปได้ดังนี้ ป้องกันสนิมตัวถังรถยนต์จากแผ่นเหล็ก
การพ่นสีจึงเป็นการป้องกันสนิมทางหน่ึง ทาให้รูปทรงของรถยนต์ดีข้ึน ตัวถังรถยนต์มีรูปทรง
หลากหลายท้ังผิวหน้าโค้งตรงและเส้นโค้ง การพ่นสีจึงทาให้ดูดีขึ้น นอกจากรูปทรงของรถแล้ว สีของ
รถยังเป็นส่วนประกอบการพ่นสจี ึงมีการกาหนดคุณภาพสีให้ดีขึน้ บ่งบอกถึงประเภทหรือลักษณะของ
รถยนต์ เชน่ รถพยาบาลจะใช้สขี าวเปน็ สพี ื้น เป็นตน้

7
รูปท่ี 2.7 สี

บทที่ 3

วธิ ีดำเนินโครงกำร

กำรดำเนินโครงกำรนไ้ี ด้มกี ำรสรำ้ งตำมขั้นตอนต่อไปนี้
- การศกึ ษาขอ้ มลู
- ข้นั ตอนการลงมอื ปฏบิ ัติงาน
- เครอ่ื งมอื ท่ีใชใ้ นการศกึ ษา
- เกบ็ รวบรวมขอ้ มลู กลุ่มประชากรตัวอยา่ ง
- สรุปผลการดาเนินโครงการ

3.1 กำรศกึ ษำข้อมูล
ผูด้ าเนนิ โครงการได้ศึกษาข้อมูลตา่ งๆ เพื่อการจัดทาโครงการดงั นี้
1. การศกึ ษาข้อมลู ทเ่ี กีย่ วขอ้ งกบั การดาเนินโครงการ
1.1 ศึกษาโครงสรา้ งรถจักรยานยนต์
1.2 ศกึ ษาเกยี่ วกบั งานตวั ถงั และสี
1.3 ศึกษาการทางานของลอ้ และยางรถจกั รยานยนต์
1.4 ศกึ ษาชนิ้ สว่ นและสว่ นประกอบของรถจักรยานยนต์
1.5 ศึกษาโครงสร้างและหลกั การทางานของเคร่ืองยนต์รถจักรยานยนต์
1.6 ศกึ ษาระบบเบรกของรถจกั รยานยนต์
1.7 ศึกษาหลกั การทางานของระบบบงั คับเลยี้ ว
1.8 ศึกษาระบบไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์
2. เขยี นแบบรา่ งหรอื โครงสร้างในการดาเนินโครงการ
3. เลอื กวัสดุอุปกรณใ์ นการดาเนนิ โครงการ
4. จัดซือ้ วัสดอุ ุปกรณ์ในการดาเนินโครงการ
5. วางแผนการปฏิบตั งิ านในการดาเนนิ โครงการ
6. ปฏิบัติงานตามแผนงาน
7. ทาการทดสอบ/ทดลองชนิ้ งาน
8. สรุปผลการดาเนินโครงการ

9

3.2 ข้ันตอนกำรลงมือปฏบิ ัติงำน
รปู ขน้ั ตอนการปฏบิ ตั ิงาน

รปู ที่ 3.1 การเตรียมวัสดุอปุ กรณต์ ่างๆ โครงการรถประหยัดนา้ มันเชอ้ื เพลิง

รูปท่ี 3.2 การออกแบบชิน้ งาน โครงการรถประหยัดนา้ มนั เช้ือเพลงิ

10
รปู ท่ี 3.3 การหล่อใยแก้วแบบรังผง้ึ โครงการรถประหยดั นา้ มันเช้ือเพลิง
รปู ที่ 3.4 การตดิ ตง้ั ระบบบงั คับเลยี้ ว โครงการรถประหยัดน้ามนั เชือ้ เพลิง

11
รูปท่ี 3.5 การติดต้งั ระบบสง่ กาลงั โครงการรถประหยดั น้ามันเชื้อเพลิง
รปู ท่ี 3.6 การตดิ ตัง้ ระบบเบรก โครงการรถประหยัดนา้ มนั เช้ือเพลิง

12
รูปท่ี 3.7 การตดิ ต้ังระบบแรงดันลม โครงการรถประหยัดน้ามันเชื้อเพลิง

รูปท่ี 3.8 การทดสอบชิ้นงาน โครงการรถประหยดั นา้ มนั เชื้อเพลิง

13
รปู ท่ี 3.9 การประเมนิ ผล โครงการรถประหยัดน้ามนั เชื้อเพลิง
3.10 รปู เสร็จสมบูรณ์ โครงการรถประหยัดนา้ มนั เช้อื เพลิง

14

3.3 เครือ่ งมือท่ีใชใ้ นกำรศกึ ษำ
3.3.1 แบบบันทึกการปฏิบัติงาน เอกสารท่ีเก็บรวบรวมข้อมูลขณะท่ีปฏิบัติงานจะบอกถึง

ข้อขัดข้องและช่วยให้การแก้ปัญหาเป็นไปได้อย่างถูกต้องตรงตามเป้าหมายและวัตถุประสงค์ของ
โครงการ

3.3.2 แบบสอบถามความพึงพอใจ แบบสอบถามท่ีจัดทาข้ึนเพื่อสอบถามความพึงพอใจใน
งานท่ีปฏบิ ัติปรับปรุงแก้ไขโดยมีการสุ่มกลุ่มตวั อย่างจานวนผู้ตอบแบบสอบถาม 30 คน และนาข้อมูล
ดงั กล่าวมาวิเคราะหห์ าคา่ เฉลย่ี เปน็ รูปแบบของงานวิจยั

3.4 เก็บรวบรวมข้อมลู กลมุ่ ประชำกรตัวอย่ำง
3.4.1 กาหนดกล่มุ ประชากรตวั อยา่ งและจดั ทาแบบสอบถามความพึงพอใจ
3.4.2 รวบรวมข้อมูลที่ได้จากการตอบแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรยี น นักศึกษา ครู

และประชาชนผูท้ ส่ี นใจ
3.4.3 นาขอ้ มลู ที่ไดจ้ ากการทดลองมาสรุปผลการปฏบิ ัตงิ าน

3.5 สรุปผลกำรดำเนินโครงกำร
3.5.1 ผลทไี่ ด้จากการนาขอ้ มูลทไี่ ด้จากแบบสอบถามมาวิเคราะห์ ดงั น้ี
การนาคะแนนท่ีได้จากแบบสอบถามความพึงพอใจของกลุ่มนักศึกษามาคานวณหา

ค่าเฉลี่ย ( x ) ของแบบสอบถาม และค่าส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D) แล้วแปรผลตามเกณฑ์ที่กาหนดไว้
ท้งั น้กี ารหาคา่ เฉล่ียของแบบสอบถามใช้สูตรดังนี้

1. ค่าเฉลย่ี ( x ) ∑x
x= N

เม่อื x = คะแนนเฉลี่ย
∑x = ผลรวมท้ังหมดของคะแนน
N = จานวนคะแนนหรือจานวนกลุ่มตวั อย่าง

2. ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน (S.D)
การหาคา่ สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) 5 ระดบั ของความคิดเห็น

S.D = ∑ (x – x ) 2
N
เมื่อ S.D =
X = สว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน
คะแนนหรือจุดกึ่งกลางของช้ันคะแนน
x =
= คะแนนเฉลยี่
N จานวนนกั ศึกษาในกลุม่ ตวั อย่าง

15

3. การกาหนดมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) ระดับของความพึงพอใจและเกณฑ์

การแปลความหมายดงั ตอ่ ไปน้ี

มคี วามเหมาะสมอยู่ในระดบั มากท่ีสุด เทา่ กับ 5 คะแนน

มคี วามเหมาะสมอยู่ในระดับมาก เท่ากับ 4 คะแนน

มคี วามเหมาะสมอยใู่ นระดบั ปานกลาง เทา่ กับ 3 คะแนน

มคี วามเหมาะสมอยใู่ นระดบั น้อย เท่ากบั 2 คะแนน

มคี วามเหมาะสมอยู่ในระดับน้อยทส่ี ุด เท่ากับ 1 คะแนน

ภายหลังการคานวณหาค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและได้กาหนดเกณฑ์การ
เปลยี่ นแปลงความหมายข้อมลู ท่ีเปน็ ค่าเฉล่ยี ดังน้ี

ค่าเฉล่ยี 4.50 - 5.00 หมายถงึ มากท่สี ุด
ค่าเฉลีย่ 3.50 - 4.49 หมายถึง มาก
คา่ เฉลย่ี 2.50 - 3.49 หมายถงึ ปานกลาง
คา่ เฉลย่ี 1.50 - 2.49 หมายถงึ นอ้ ย
คา่ เฉล่ยี น้อยกว่า หมายถึง น้อยทสี่ ุด
0 - 1.49

บทท่ี 4
ผลการดาเนินงาน

ในการจดั ทาโครงการรถประหยัดน้ามันเช้ือเพลิง ผ้จู ัดทาโครงการมีวัตถุประสงค์เพ่ือจดั สร้าง
รถประหยัดน้ามันเช้ือเพลิง เพ่ือเข้าร่วมการแข่งขันรถประหยัดน้ามันเชื้อเพลิง เพ่ือให้นักเรียน
นกั ศึกษาได้นาความรภู้ าคทฤษฎีและภาคปฏิบัติมาประยุกต์ใช้กับรถประหยัดนา้ มนั เช้ือเพลิง จากการ
ดาเนนิ การดังกล่าวฯ มีผลการดาเนินงานดังนี้

4.1 ผลการวจิ ยั แบบสอบถาม
ผลการวิจัยแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียน นักศึกษา ครู และประชาชนผู้ที่สนใจ

เกี่ยวกับโครงการรถประหยัดน้ามันเช้ือเพลิง
ตอนท่ี 1 ข้อมูลทั่วไป
ตารางท่ี 1 ข้อมูลทว่ั ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม

ขอ้ มูลทั่วไป จานวน N = 30 ร้อยละ

1. เพศ 28 93.33
ชาย 2 6.67
หญิง 30 100

รวม 26 86.66
2. กล่มุ 2 6.67
2 6.67
นักเรยี น/นกั ศึกษา
ครู 30 100

ประชาชนผทู้ ส่ี นใจ 26 86.66
2 6.67
รวม 2 6.67
3. อายุ 0 0.00

ต่ากว่า 20 ปี 30 100
21 – 30 ปี
31 – 40 ปี
41 ปีขน้ึ ไป

รวม

17

จากตารางท่ี 1 สรปุ ได้ว่า เพศชาย ร้อยละ 93.33
ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็น เพศหญิง รอ้ ยละ 6.67
ผู้ตอบแบบสอบถามสว่ นใหญ่เปน็
นักเรยี น/นกั ศกึ ษา รอ้ ยละ 86.66
ผตู้ อบแบบสอบถามสว่ นใหญ่อายุ ครู ร้อยละ 6.67
ประชาชนผู้ท่สี นใจ ร้อยละ 6.67

อย่รู ะหวา่ ง ตา่ กว่า 20 ปี ร้อยละ 86.66
อยรู่ ะหว่าง 21 – 30 ปี ร้อยละ 6.67
อยรู่ ะหว่าง 31 – 40 ปี รอ้ ยละ 6.67
อยรู่ ะหวา่ ง 41 ปีขน้ึ ไป ร้อยละ 0.00

ตอนท่ี 2 ความพึงพอใจเกย่ี วกบั โครงการรถประหยดั น้ามนั เชอ้ื เพลิง
ตารางท่ี 2 ผลการวิเคราะหข์ ้อคาถามของแบบสอบถาม

รายการ คา่ เฉลี่ย ส่วนเบ่ยี งเบน ระดบั
(X) มาตรฐาน (S.D) ความคิดเหน็
1. คณุ ภาพการใชง้ านได้จริง
2. สามารถใช้เปน็ สื่อการเรียนการสอนได้ 4.97 0.18 ดีมาก
3. สามารถประหยัดนา้ มันเช้ือเพลงิ ได้ 4.53 0.68 ดีมาก
4. การทางานเป็นทมี
5. การนาไปใชป้ ระโยชน์ได้จริง 4.60 0.56 ดมี าก

รวมคา่ เฉลี่ย 3.97 0.76 ดี
4.87 0.35 ดีมาก
4.59 0.31 ดมี าก

จากตารางท่ี 2 สรปุ ได้วา่ ผลการวเิ คราะห์ข้อคาถามของแบบสอบถามได้กาหนดกลมุ่ ตัวอย่าง
โดยการใช้วิธีแจกแบบสอบถามให้นักเรียน นักศึกษา ครู และประชาชนผู้ที่สนใจ จานวน 30 คน
ไดแ้ บง่ แบบสอบถามเป็น 5 หัวขอ้ ซง่ึ มีหัวขอ้ ทใี่ ช้ ไดแ้ ก่

1. คุณภาพการใช้งานไดจ้ ริง คา่ เฉลยี่ ( X ) เท่ากบั 4.97 อยู่ในระดับดมี าก
2. สามารถใช้เปน็ สือ่ การเรียนการสอนได้ ค่าเฉลี่ย ( X ) เท่ากับ 4.53 อยู่ในระดับดมี าก
3. สามารถประหยัดน้ามนั เช้อื เพลงิ ได้ คา่ เฉล่ยี ( X ) เทา่ กับ 4.60 อยู่ในระดับดีมาก
4. การทางานเป็นทีม คา่ เฉลย่ี ( X ) เท่ากบั 3.97 อยใู่ นระดบั ดี
5. การนาไปใช้ประโยชนไ์ ดจ้ ริง คา่ เฉลย่ี ( X ) เท่ากบั 4.87 อยใู่ นระดับดมี าก

บทที่ 5

สรปุ ผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ

ในการจัดทาโครงการรถประหยัดน้ามันเชื้อเพลิง ได้มีการสรุปผล อภิปรายผลและ
ขอ้ เสนอแนะการดาเนินโครงการดงั กล่าวฯ ดังนี้

5.1 สรุปผลการดาเนนิ โครงการ
ในการจัดทาโครงการรถประหยัดน้ามันเช้ือเพลิง ในครั้งน้ีเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของ

โครงการ เป็นไปตามขอบเขตของโครงการ และเป็นไปตามประโยชนท์ ีค่ าดว่าจะได้รบั ดังน้ี
5.1.1 วตั ถุประสงคข์ องโครงการ
1. เพอื่ จัดสร้างรถประหยัดนา้ มนั เชือ้ เพลงิ
2. เพอ่ื เขา้ ร่วมการแข่งขันรถประหยัดนา้ มันเชอ้ื เพลิง
3. เพื่อให้นักเรียนนักศึกษาได้นาความรู้ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติมาประยุกต์ใช้กับ

รถประหยัดนา้ มันเช้อื เพลิง
5.1.2 ขอบเขตของโครงการ
1. รถประหยดั นา้ มันเชอื้ เพลิง สามารถใช้งานได้
2. รถประหยดั น้ามนั เชอ้ื เพลิง สามารถเข้ารว่ มการแขง่ ขนั ได้
5.1.3 ประโยชนท์ ี่คาดว่าจะได้รบั
1. ไดร้ ถประหยดั น้ามนั เช้ือเพลิง
2. ไดค้ วามรู้ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบตั ิมาประยุกตใ์ ชก้ ับรถประหยัดน้ามนั เช้ือเพลงิ
3. ไดเ้ ข้าร่วมการแข่งขนั รถประหยัดนา้ มนั เชื้อเพลงิ ครงั้ ท่ี 23 ณ จังหวัดบรุ รี ัมย์

5.2 อภิปรายผล
ในการจัดทาโครงการรถประหยัดน้ามันเชื้อเพลิง ในครั้งนี้ได้กาหนดกลุ่มตัวอย่างโดยการ

ใช้วิธีแจกแบบสอบถามให้กับนักเรียน นักศึกษา ครู และประชาชนผู้ท่ีสนใจ จานวน 30 คน ตาม
อภิปรายผล ดงั นี้

5.2.1 อภปิ รายผลขอ้ มลู ทวั่ ไปของผูต้ อบแบบสอบถาม
ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญเ่ ปน็ เพศชาย ร้อยละ 93.33
เพศหญงิ รอ้ ยละ 6.67
ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญเ่ ปน็ นกั เรยี น/นกั ศึกษา ร้อยละ 86.66
ครู รอ้ ยละ 6.67
ประชาชนผู้ทส่ี นใจ ร้อยละ 6.67
ผู้ตอบแบบสอบถามสว่ นใหญ่อายุ อยรู่ ะหว่าง ต่ากว่า 20 ปี รอ้ ยละ 86.66
อยรู่ ะหวา่ ง 21 – 30 ปี รอ้ ยละ 6.67
อยู่ระหว่าง 31 – 40 ปี รอ้ ยละ 6.67
อยรู่ ะหวา่ ง 41 ปีขน้ึ ไป รอ้ ยละ 0.00

19

5.2.2 อภปิ รายผลผลการวเิ คราะหข์ ้อคาถามของแบบสอบถาม
ได้กาหนดกลุ่มตัวอย่างโดยการใช้วิธีแจกแบบสอบถามให้กับนักเรียน นักศึกษา ครู

และประชาชนผู้ที่สนใจ จานวน 30 คน ไดแ้ บง่ แบบสอบถามเป็น 5 หัวขอ้ ซงึ่ มหี ัวขอ้ ท่ใี ช้ ได้แก่
1. คณุ ภาพการใช้งานได้จรงิ คา่ เฉลีย่ ( X ) เท่ากบั 4.97 อยใู่ นระดบั ดีมาก
2. สามารถใชเ้ ป็นสือ่ การเรยี นการสอนได้ ค่าเฉล่ีย ( X ) เทา่ กับ 4.53 อยู่ในระดบั ดีมาก
3. สามารถประหยดั น้ามันเช้อื เพลิงได้ คา่ เฉล่ีย ( X ) เทา่ กับ 4.60 อยใู่ นระดบั ดมี าก
4. การทางานเป็นทมี ค่าเฉลยี่ ( X ) เท่ากบั 3.97 อยใู่ นระดบั ดี
5. การนาไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้จริง คา่ เฉลีย่ ( X ) เท่ากบั 4.87 อยใู่ นระดับดีมาก

ในการจัดทาโครงการรถประหยัดน้ามันเช้ือเพลิง พบว่าความพึงพอใจในการดาเนิน
โครงการดังกล่าวฯ โดยรวมอยู่ในระดับดีมาก ที่ค่าเฉล่ีย 4.59 เมื่อพิจารณาเป็นข้อโดยเรียงลาดับ
จากมากไปหาน้อย มดี งั น้ี

1. คุณภาพการใชง้ านไดจ้ รงิ ค่าเฉลย่ี ( X ) เท่ากับ 4.97 อย่ใู นระดับดมี าก
2. การนาไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้จรงิ คา่ เฉลย่ี ( X ) เท่ากบั 4.87 อย่ใู นระดับดมี าก
3. สามารถประหยัดน้ามันเช้อื เพลิงได้ ค่าเฉลีย่ ( X ) เทา่ กับ 4.60 อยใู่ นระดับดมี าก
4. สามารถใช้เปน็ สอ่ื การเรียนการสอนได้ ค่าเฉลย่ี ( X ) เท่ากับ 4.53 อยู่ในระดับดีมาก
5. การทางานเป็นทีม ค่าเฉลี่ย ( X ) เท่ากบั 3.97 อย่ใู นระดบั ดี

5.3 ปัญหาและอปุ สรรคในการดาเนนิ โครงการ
5.3.1 สมาชกิ ในกลุ่มขาดความสามัคคีกนั
5.3.2 งบประมาณในการดาเนินโครงการค่อนข้างสูง

5.4 ข้อเสนอแนะแนวทางในการพฒั นา
5.4.1 ควรจัดทาคู่มอื เกีย่ วกับการใช้งานรถประหยัดน้ามันเช้ือเพลิง
5.4.2 ควรปรับปรุงโครงสร้างตัวถังด้านหน้าให้มีขนาดเล็กลง เพื่อประสิทธิภาพในการ

มองเหน็ ชัดเจนมากขึน้ และปลอดภัยในการขับขี่
5.4.3 ควรตรวจเชค็ ระบบต่างๆ ของรถประหยัดน้ามันเชื้อเพลิงให้พร้อมก่อนใช้งานอยู่เสมอ

20

เอกสารอา้ งองิ

บญุ ธรรม ภัทราจารกุ ลุ (2556) งานไฟฟ้าและอิเลก็ ทรอนิกสเ์ บอื้ งตน้ กรงุ เทพมหานคร: ซเี อด็ ยเู คช่นั
จากัด มหาชน

บญุ ธรรม ภัทราจารุกลุ (2556) งานจักรยานยนต์ กรงุ เทพมหานคร: ซเี อด็ ยูเคชน่ั บมจ.
ประภาส พวงชื่น พิมพ์คร้ังที่ 1 กุมภาพันธ์ (2557) งานไฟฟ้ารถยนต์: จังหวัดนนทบุรี ศูนย์หนังสือ

เมืองไทย จากัด
ประสานพงษ์ หาเรอื นชีพ (2556) งานบรกิ ารเบรกรถจักรยานยนต์ กรุงเทพมหานคร: ซีเอ็ดยเู คชัน่ บจม.
พันธ์ศกั ด์ิ พฒุ มิ านติ พงศ์ (2557) เคร่อื งมอื วดั และวงจรไฟฟ้า กรงุ เทพมหานคร: ซีเอด็ ยูเคช่ันจากดั

21

ภาคผนวก

22

ภาคผนวก ก
แบบสอบถามความพึงพอใจ
โครงการรถประหยัดน้ามนั เชอ้ื เพลงิ

แบบสอบถามความพึงพอใจ
โครงการรถประหยัดน้ามันเช้ือเพลิง
แผนกวิชาช่างยนต์ วิทยาลัยการอาชีพบา้ นตาก

ตอนที่ 1 ข้อมลู ท่ัวไป
คำชแ้ี จง โปรดทำเครื่องหมำย  ทตี่ รงกบั สถำนภำพปจั จุบันของท่ำน

1. เพศ  ชำย  หญิง

2. กล่มุ  นกั เรยี น/นกั ศึกษำ  ครู  ประชำชนผทู้ สี่ นใจ

3. อำยุ  ต่ำกวำ่ 20 ปี  21 - 30 ปี
 31 - 40 ปี  41 ปีขนึ้ ไป

ตอนที่ 2 ความพึงพอใจตอ่ การดา้ เนนิ โครงการรถประหยัดน้ามันเช้อื เพลงิ
ควำมหมำยระดับควำมพึงพอใจ

5 หมำยถงึ มีควำมเหมำะสมมำกทีส่ ุด
4 หมำยถึง มีควำมเหมำะสมมำก
3 หมำยถงึ มีควำมเหมำะสมปำนกลำง
2 หมำยถึง มคี วำมเหมำะสมนอ้ ย
1 หมำยถงึ มคี วำมเหมำะสมน้อยทสี่ ดุ

รายการ ระดบั ความพึงพอใจ
54321
1. คณุ ภำพกำรใช้งำนได้จริง
2. สำมำรถใช้เปน็ สอื่ กำรเรยี นกำรสอนได้
3. สำมำรถประหยัดน้ำมนั เชื้อเพลิงได้
4. กำรทำงำนเปน็ ทีม
5. กำรนำไปใช้ประโยชน์ได้จริง

ตอนที่ 3 ขอ้ เสนอแนะเพิ่มเติม

…………………………………………………………………………………………………………………………………
.…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………………........

ขอขอบพระคณุ ที่กรุณาตอบแบบสอบถาม

23

ภาคผนวก ข
ผลการวิจยั แบบสอบถามความพึงพอใจ

โครงการรถประหยดั น้ามันเชอ้ื เพลิง

ผลการวิจัยแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียน นักศึกษา ครู และประชาชนผู้ท่ีสนใจ
เก่ยี วกับโครงการรถประหยดั น้ามันเชอื้ เพลงิ

ตอนที่ 1 ขอ้ มูลทั่วไป รอ้ ยละ
ตารางที่ 1 ข้อมลู ท่ัวไปของเพศผ้ตู อบแบบสอบถาม
93.33
เพศ จ้านวน 30 (คน) 6.67
ชาย 28
หญงิ 2

รวม 30 100

จากตารางที่ 1 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามเป็นเพศชาย ร้อยละ 93.33 และเพศหญิง
ร้อยละ 6.67 ตามลา้ ดับ

ตารางที่ 2 ข้อมลู ทวั่ ไปของกลุ่มผู้ตอบแบบสอบถาม

สถานะ จ้านวน 30 (คน) รอ้ ยละ

นกั เรียน/นักศึกษา 26 86.66
6.67
ครู 2 6.67

ประชาชนผทู้ สี่ นใจ 2

รวม 30 100

จากตารางท่ี 2 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามเป็นนักเรียน/นักศึกษา ร้อยละ 86.66
ครู ร้อยละ 6.67 และประชาชนผทู้ ่สี นใจ ร้อยละ 6.67 ตามล้าดบั

ตารางที่ 3 ข้อมลู ทวั่ ไปของอายุผู้ตอบแบบสอบถาม

อายุ จา้ นวน 30 (คน) รอ้ ยละ

ต่้ากวา่ 20 ปี 26 86.66
6.67
21 – 30 ปี 2 6.67
0.00
31 – 40 ปี 2

41 ปีขึ้นไป 0

รวม 30 100

จากตารางที่ 3 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามอายุต่้ากว่า 20 ปี ร้อยละ 86.66 อายุ 21 – 30 ปี
รอ้ ยละ 6.67 อายุ 31 – 40 ปี ร้อยละ 6.67 และอายุ 41 ปีข้ึนไป ร้อยละ 0.00 ตามลา้ ดับ

ตอนท่ี 2 ความพึงพอใจเกีย่ วกับโครงการรถประหยดั น้ามันเชือ้ เพลิง
ตารางท่ี 1 ผลการวเิ คราะห์ข้อคา้ ถามของแบบสอบถาม

ผลการวเิ คราะห์

กลมุ่ จ้านวนข้อทีต่ อบ คะแนนรวม ค่าเฉลยี่ สว่ นเบ่ียงเบน สัมประสิทธิ์
ตัวอยา่ ง (Sum.) (Mean:) X มาตรฐาน (S.D) การกระจาย (%)
คนท่ี
(C.V.)

15 21 4.20 0.80 19.92
25 23 4.60 0.98 19.44
35 25 5.00 0.00 0.00
45 23 4.60 0.55 11.91
55 24 4.80 0.45 9.32
65 25 5.00 0.00 0.00
75 23 4.60 0.55 11.91
85 22 4.40 0.89 20.33
95 24 4.80 0.45 9.32
10 5 22 4.40 0.89 20.33
11 5 20 4.00 0.71 17.68
12 5 22 4.40 0.89 20.33
13 5 24 4.80 0.45 9.32
14 5 24 4.80 0.45 9.32
15 5 24 4.80 0.45 9.32

ตารางที่ 1 ผลการวเิ คราะหข์ ้อคา้ ถามของแบบสอบถาม (ต่อ)

ผลการวเิ คราะห์

กลมุ่ จ้านวนข้อทตี่ อบ คะแนนรวม ค่าเฉลี่ย สว่ นเบ่ียงเบน สมั ประสทิ ธิ์
ตัวอยา่ ง (Sum.) (Mean:) X มาตรฐาน (S.D) การกระจาย (%)
คนท่ี
(C.V.)

16 5 24 4.80 0.45 9.32
17 5 24 4.80 0.45 9.32
18 5 24 4.80 4.45 9.32
19 5 19 3.80 1.30 34.31
20 5 25 5.00 0.00 0.00
21 5 24 4.80 0.45 9.32
22 5 24 4.80 0.45 9.32
23 5 20 4.00 1.00 25.00
24 5 22 4.40 0.55 12.45
25 5 22 4.40 0.55 12.45
26 5 21 4.20 0.84 19.92
27 5 22 4.40 0.55 12.45
28 5 24 4.80 0.45 9.32
29 5 24 4.80 0.45 9.32
30 5 23 4.80 0.45 11.91

24

ภาคผนวก ค
รูปขณะปฏบิ ตั งิ าน
โครงการรถประหยัดน้ามันเชอื้ เพลงิ

25

รปู ขณะปฏบิ ัตงิ านโครงการรถประหยัดน้ามันเชื้อเพลิง

รูปการเตรียมวสั ดุอุปกรณ์ต่างๆ โครงการรถประหยัดน้ามันเชือ้ เพลิง

รูปการออกแบบชนิ้ งาน โครงการรถประหยัดนา้ มนั เชือ้ เพลิง

26
รปู การหล่อใยแก้วแบบรงั ผึง้ โครงการรถประหยัดน้ามันเช้ือเพลิง
รูปการตดิ ตงั้ ระบบบงั คับเลย้ี ว โครงการรถประหยัดน้ามนั เชื้อเพลิง

27
รปู การติดต้งั ระบบสง่ กา้ ลัง โครงการรถประหยัดน้ามนั เชื้อเพลิง
รูปการติดต้ังระบบเบรก โครงการรถประหยัดนา้ มันเช้อื เพลิง

28
รปู การติดตง้ั ระบบแรงดนั ลม โครงการรถประหยดั น้ามนั เชื้อเพลิง
รูปการทดสอบช้นิ งาน โครงการรถประหยดั ประหยัดน้ามันเชอ้ื เพลิง

29
รูปการประเมนิ โครงการรถประหยัดน้ามันเชอื้ เพลิง
รปู เสร็จสมบรู ณ์ โครงการรถประหยดั น้ามนั เชื้อเพลิง

25

ภาคผนวก ง
แบบสอบถามความพึงพอใจทเ่ี ก็บจากกลุม่ ตัวอย่าง

โครงการรถประหยดั นา้ มนั เช้อื เพลงิ


Click to View FlipBook Version