The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เครื่องเอกซเรย์ และการถ่ายภาพรังสีนอกช่องปาก

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by dentxraycenter, 2021-08-06 04:21:03

การถ่ายภาพรังสีนอกช่องปาก

เครื่องเอกซเรย์ และการถ่ายภาพรังสีนอกช่องปาก

Keywords: เครื่องเอกซเรย์ ระนาบในการจัดท่า การจัดตำแหน่งผู้ป่วย

การถา่ ยภาพรงั สีนอกช่องปาก
(EXTRA-ORAL RADIOGRAPHY)

รติกร กิจธาดา (นกั รังสีการแพทย์)
ศูนยเ์ อกซเรยท์ างทันตกรรมและ
คลนิ กิ รังสีวทิ ยาชอ่ งปากและแมก็ ซิลโลเฟเชยี ล
รพ.ทันตกรรม คณะทนั ตแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่

การถ่ายภาพรงั สที างทนั ตกรรม

ถา่ ยภาพรงั สีในชอ่ งปาก
Periapical

Bite Wing Occlusal

ถ่ายภาพรงั สนี อกช่องปาก
Panoramic radiograph
Cephalometric radiograph

ถา่ ยภาพรงั สีโคนบีมซีที
CBCT

ขอบเขตของเน้อื หา

เคร่ืองเอกซเรยท์ ใ่ี ชใ้ นการถา่ ยภาพรังสี
ระนาบอา้ งอิงในการถ่ายภาพรงั สี
การเตรยี มเครือ่ งถา่ ยภาพรงั สีและผู้ป่วย
การถา่ ยภาพรงั สแี ละข้อบง่ ช้ี

วตั ถปุ ระสงค…์ .การถา่ ยภาพรงั สนี อกชอ่ งปาก

 ตรวจสภาพรอยโรคขนาดใหญ่
 ตรวจสอบสภาวะการบาดเจ็บ แตกหักของ

กระดกู ขากรรไกรและใบหนา้
 ประเมินความสัมพนั ธ์ของกระดูกขากรรไกร

บน-ลา่ งในงานตา่ งๆ
 ประเมนิ การเจริญของกระดูกขากรรไกรและ

ใบหนา้

1.เครื่องถา่ ยภาพรงั สีนอกชอ่ งปาก 2D

เครือ่ งถา่ ยภาพรังสีพานอรามิกและ
ภาพรังสีกระโหลกศีรษะดา้ นข้าง

1. เคร่ืองถ่ายภาพรังสีนอกชอ่ งปาก

1. หวั หลอดเอกซเรย์ (Tube Head)
2. อปุ กรณร์ บั ภาพรังสี (Detector/Sensor)
3. อปุ กรณ์ยึดศรี ษะผู้ป่วย(Head positioner)

4. แป้นควบคมุ เคร่อื ง(Exposure control)

5. ชดุ อปุ กรณ์ถา่ ยภาพรังสีกะโหลกศีรษะ

ด้านข้าง (Cephalometric radiograph)

1.เครอ่ื งถ่ายภาพรังสนี อกชอ่ งปาก
1.หวั หลอดเอกซเรย์

2.อุปกรณ์รบั ภาพรงั สี

3. อุปกรณช์ ่วยยึดศีรษะผูป้ ว่ ย

4.แปน้ ควบคุมเคร่อื ง: kVp mA Timer, adult/child, Jaw shape

2. ระนาบอา้ งองิ ในการถ่ายภาพรงั สี

1. Frankfurt plane 2 **

ระนาบท่ลี ากจากขอบลา่ งของ 1

กระบอกตาถึงขอบบนของรูหู 3

2. Midsagittal plane

เสน้ แบ่งกึง่ กลางใบหนา้

3*. Canine line

เสน้ ผ่านก่ึงกลางฟันเข้ยี วบน **

Image Form ** : https://www.youtube.com/watch?v=Q9875nHEAJA

3. การเตรียมเครอ่ื งถ่ายภาพรงั สี และ ผูป้ ่วย

 ผ้ปู ว่ ย

 ถอดเครื่องประดับสว่ นคอ
และศีรษะ เชน่ ต่างหู
สร้อย ฟันปลอม

 เครอ่ื งถ่ายภาพรงั สี  สวมเส้อื ตะกวั่ กันรงั สี

 เชด็ ทาความสะอาด/คลมุ ทบั บริเวณ

พน้ื ผิวด้วยพลาสตกิ

 เตรยี มเคร่อื งให้อยู่ในโหมดทจี่ ะถ่ายภาพ

 ตงั้ ค่าเทคนิคตา่ งๆ ใหเ้ หมาะสม : kV mA Time adult child

4. การถ่ายภาพรงั สแี ละข้อบง่ ช้ี

4.1ภาพรงั สีพานอรามกิ (PANORAMIC RADIOGRAPH)

 เปน็ ภาพรงั สีท่ใี ชใ้ นงานทางทันตกรรมบ่อย
 การจดั ตาแหนง่ ผ้ปู ว่ ยไม่ยุ่งยาก
 เวลาในการถา่ ยภาพส้นั ปริมาณรงั สนี อ้ ย*
 ผ้ปู ว่ ยอ้าปากไมไ่ ด้
 ข้ันตอนการควบคมุ การติดเชอื้ นอ้ ย*

4.1.1 ข้อบ่งช้ีของภาพรงั สีพานอรามิก (INDICATION)

 แสดงภาพขากรรไกรบน-ล่าง+อวยั วะ
ใกล้เคียง

 ตรวจสภาพช่องปาก รอยโรค สภาวะของ
ขากรรไกร+อวัยวะใกล้เคยี ง

 ประเมนิ การบาดเจบ็ และแตกหักของ
กระดกู ขากรรไกร

 ดูรปู แบบ การเจริญ พัฒนาการของฟัน
 ประเมนิ การขึ้นของฟันคุด
 ประเมินเพ่ือการวางแผนในงานต่างๆ เช่น

จดั ฟนั ปรทิ นั ต

4.1.2 การถา่ ยภาพรงั สีพานอรามกิ (1) *

*

 การบันทกึ ภาพ เรม่ิ จากหลอด *
เอกซเรย์จะหมนุ ผ่านจากดา้ นขวา
ของผ้ปู ว่ ยเพ่ือบนั ทกึ ภาพขากรรไกร
ด้านซ้าย แลว้ เคลอ่ื นผ่านด้านหลงั
ผู้ป่วยพร้อมบนั ทึกภาพขากรรไกร
ไปจนถงึ ขากรรไกรด้านขวา

Image Form *: https://www.muhadharaty.com/lecture/19559/Dr-Rand/Panoramic-Radiography-pptx

4.1.2 การถ่ายภาพรงั สีพานอรามิก (2)

*

* * Focal trough หรือ
Image layer
(ช้ันของจุดโฟกสั )

Image Form *: https://www.muhadharaty.com/lecture/19559/Dr-Rand/Panoramic-Radiography-pptx

4.1.3 การจัดตาแหนง่ ผู้ป่วย

** **

Chin rest

 ผปู้ ว่ ยยนื ตัว หลงั ตรง เพื่อให้กระดูกส่วนคอยดื ตรง **

 ผปู้ ว่ ยย่ืนคางใหฟ้ นั หนา้ บน-ลา่ งกดั ลงในรอ่ ง (Bite groove)

ของทก่ี ัด(Bite rod)แบบปลายฟันชนตรงกนั

(Edge to edge) Bite rod
 คางวางบนที่วางคาง(Chin rest) (Bite groove)

 จดั ให้กึ่งกลางหน้า(Midsagittal plane) ตง้ั ฉากกบั พน้ื

 จดั หน้าด้านขา้ งให้ Frankfurt plane ขนานกับพ้นื

4.1.4 คาแนะนาแกผ่ ูป้ ่วยในการถ่ายภาพรังสี

**  ก่อนการถ่ายภาพให้ผู้ป่วยยกล้นิ แนบเพดานปากเพอ่ื ปดิ
ช่องวา่ งระหวา่ งเพดานปากกับล้ิน

 ปิดรมิ ฝปี ากบน-ล่าง

 หลับตาเพื่อป้องกนั ขยับหนา้ ตามขณะเครือ่ งทางานและ
แสงเลเซอร์โดนตา

 อย่ายกไหลเ่ พื่อกันการชนกับเครอื่ งขณะเครือ่ งทางาน

Image Form ** : https://www.youtube.com/watch?v=Q9875nHEAJA

4.1.5 ขอ้ ผิดพลาดการถ่ายภาพรังสี

 ผ้ปู ว่ ย

 ขยับ
 ใสเ่ ครื่องประดบั
 ก้ม-เงยหนา้ (FP)
 ไม่มีฟันหน้า

4.2 ภาพรงั สีกะโหลกศรี ษะด้านขา้ ง

(LATERAL CEPHALOMETRIC RADIOGRAPH)

4.2.1 ขอ้ บง่ ชี้ของภาพรงั สี (INDICATION)

 ใชป้ ระเมนิ ความผิดปกตบิ ริเวณกะโหลกศรี ษะ
ดา้ นข้างและใบหน้า เชน่ รอยโรค การแตกหกั

 ใชป้ ระเมินการเจรญิ เตบิ โตและพฒนาการของ
กระดูกขากรรไกรและใบหนา้

 ใช้แสดงความสัมพันธ์ของเนอ้ื เยื่อออ่ นของใบหนา้
(Soft tissue profile)

 ประเมนิ เพือ่ การวางแผนในงานตา่ งๆ เชน่ จดั ฟนั

4.2.2 การถา่ ยภาพรงั สีกะโหลกศีรษะด้านขา้ ง (1)

Cephalostat  การบนั ทกึ ภาพ โดยผปู้ ว่ ยหันดา้ นขา้ งเข้าหา

แผ่นรับภาพ (Sensor)
 ศีรษะผู้ป่วยจะยดึ ดว้ ยอปุ กรณ์ยดึ ศีรษะผปู้ ่วย

(Head positioner: Cephalostat)
 ลารังสีจากหลอดเอกซเรยผ์ า่ นรหู เู ขา้ ทแ่ี ผ่นรบั

ภาพ
 ระยะจุดโฟกสั ถงึ กึ่งกลางหน้าผปู้ ว่ ย  60 นิ้ว

อปุ กรณย์ ดึ ศีรษะผู้ป่วย
 ที่ยึดหู (Ear rod)
 ทย่ี ดึ จมกู (Nasial positioner)
 Metal Scale

4.2.3 การจัดตาแหน่งผู้ปว่ ย

 ผ้ปู ่วย

 หันด้านขา้ งเข้าหาแผ่นรบั ภาพ (Sensor)
 ผปู้ ว่ ยยืนตวั หลังตรง เพื่อให้กระดกู สว่ นคอยดื ตรง
 จดั หนา้ ด้านข้างให้ Frankfurt plane ขนานกับพ้นื
 จดั ใหก้ งึ่ กลางหนา้ (Midsagittal plane) ตั้งฉากกับ

พืน้
 กดั สบฟันหลังแบบ Centric occlusion
 ปดิ ริมฝปี าก ไม่เมม้ หรอื เกรง็

เครื่องถา่ ยภาพรงั สีนอกชอ่ งปาก

เคร่อื งถ่ายภาพรงั สพี านอรามิกและภาพรงั สกี ระโหลกศีรษะด้านขา้ ง

Good Luck


Click to View FlipBook Version