การสังเคราะห์องค์ความรู้จากวิทยานิพนธ์ด้านนาฏศิลป์ไทยpiyawadee m

Page 190

นาฏศิลป์ไทย : การสังเคราะห์องค์ความรูจ้ ากวิทยานิพนธ์ดา้ นนาฏศิลป์ไทย

ลักษณะหรือวิธกี ารแสดงของกลุ่มผูแ้ สดงทัง้ 2 กลุ่มก็เหมือนกันเนื่องจากได้รบั การถ่ายทอดมาจากทีเ่ ดียวกัน จะแตกต่างก็แต่ความพร้อมเพรียงหรือความสวยงามของท่าทาง ซึ่งกลุ่มนาฏยศิลปิ นอาจจะทาให้สวยงามกว่ากลุ่ม นักเรียน แต่ขนั ้ ตอนในการแสดงหรือรูปแบบการแสดงเหมือนกัน ลักษณะและองค์ประกอบการแสดง โมงครุม่ สันนิษฐานว่าเป็ นการแสดงทีไ่ ทยเราได้รบั มาจากอินเดียตอนใต้และน่ าจะเป็ นการละเล่นของหลวงทีม่ กี าเนิด มาก่อนเป็ นอันดับแรก เนื่องจากลักษณะของการแสดงนัน้ ไม่ซบั ซ้อนและหลักฐานทางประวัติศาสตร์ตงั ้ แต่สมัยกรุง ศรีอยุธยาก็จะมีปรากฎชื่อการแสดงโม่งครุ่ม(ม่งครุ่ม) ก่อนการแสดงชุดอื่นๆ คาว่า โม่งครุ่มนี้ อาจมาจากเสียงของเครื่อง ดนตรีทใ่ี ช้ประกอบในการแสดง ได้แก่ ฆ้องโหม่ง และกลองโหม่งครุ่ม “โมง” คือ เสียงของฆ้องโหม่ง ส่วน “ครุ่ม” คือ เสียงของกลองโมงครุ่ม บางครัง้ เรียกการแสดงประเภทนี้ว่า “อิรดั ถัดทา” ซึง่ เป็ นการเรียกตามเสียงร้องของนักแสดง เครื่องแต่งกายผู้แสดงจะสวมชุดเข้มขาบ ซึ่งประกอบด้วยเสือ้ เข้มขาบ สนับเพลา ผ้าสารดคาดเอว และสวม เทริด ในมือผูแ้ สดงจะถือไม้กาพต(ลักษณะเหมือนอย่างไม้กระบองของโขนยักษ์แต่ไม่ขวัน้ เกลียว) ไว้สาหรับตีกลอง วิธกี ารแสดงโมงครุ่ม แบ่งผู้แสดงออกเป็ นกลุ่มๆ ละ 4 คน จะมีก่กี ลุ่มก็ได้ โดยที่ในแต่ละกลุ่มจะมีกลอง โมงครุ่มวางอยู่กลางวงๆ ละ 1 ลูก ผูแ้ สดงทัง้ 4 คน ก็จะยืนอยู่รอบกลองแล้วปฏิบตั ทิ ่าราต่างๆสลับไปกับการตีกลอง กลองโมงครุ่มทีใ่ ช้สาหรับการแสดงโมงครุ่มนี้จะมีลกั ษณะคล้ายกับกลองทัด แต่มขี นาดใหญ่กว่าเล็กน้อย เป็ นกลองทีข่ งึ หนังสองหน้าไม่ตดิ ข้าวสุกถ่วงหน้า กลองแต่ละใบเขียนลวดลายและระบายสีอย่างสวยงาม ลักษณะการปฏิบตั ทิ ่ารา ในการแสดงก็จะปฏิบตั เิ ป็ นลักษณะของกลุ่มท่ารา ซึง่ ทุกท่าราจะปฏิบตั ติ ามขัน้ ตอนเหมือนกัน คือ ลาดับที่ 1 ผูแ้ สดง ยืนตรง ลาดับที่ 2 ปฏิบตั ทิ ่าราทีละท่า ทีส่ นั นิษฐานว่าในอดีตคงจะมีหลายท่ารา แต่ในปจั จุบนั เหลือเพียง 5 ท่าราเท่านัน้ คือ ท่าเทพพนม ท่าบัวตูม ท่าบัวบาน ท่าลมพัดและท่ามังกรฟาดหาง ลาดับที่ 3 ยักตัวในจังหวะ “ถัดท่าถัด” ลาดับท่าที่ 4 ผูแ้ สดงยืนตรง ลาดับที่ 5 ผูแ้ สดงเอีย้ วตัวตีกลอง และลาดับสุดท้ายจบลงด้วยผูแ้ สดงยืนตรง โมงครุ่มใช้พน้ื ฐานท่ารา ของตัวโขนยักษ์มากกว่าตัวละครอื่น ซึ่งจะเห็นได้จากลักษณะการใช้เท้า คือการยกเท้าและย่อเต็มเหลี่ยม ซึ่งเป็ น ลักษณะการใช้เท้าหลักของการแสดงโมงครุ่ม การแสดงโมงครุ่มนี้เน้ นที่ความสนุ กสนานของการปฏิบตั ิท่าราของ ผูแ้ สดงประกอบการร้องประกอบจังหวะว่า “ถัดท่าถัด ถัดท่าถัด ถัดท่าถัด ถัดท่าถัด” ผูแ้ สดงจะยักตัวไปตามจังหวะ อย่างสนุกสนาน เมื่อผูช้ มได้ชมก็จะเกิดความสนุกสนานร่วมด้วย ระเบงหรือระเบ็ง สันนิษฐานว่าเป็ นการแสดงทีไ่ ทยเรารับเอาอิทธิพลความเชื่อในเรื่องของเทพเจ้ามาจากอินเดีย ต่อมาไทยเราก็ พัฒนาปรับปรุงให้เป็ นการละเล่นของไทยเอง บางครัง้ เรียกการแสดงนี้ว่า “โอละพ่อ” ซึง่ เป็ นการเรียกตามบทร้องที่ ขึน้ ต้นแต่ละวรรค ลักษณะการแสดงคล้ายกับการแสดงละคร คือมีการดาเนินเรื่องราวโดยตัวละคร 2 ฝ่าย ได้แก่ฝ่ายกษัตริย์ ร้อยเอ็ดเจ็ดพระนคร ซึ่งประกอบไปด้วยผูแ้ สดง 8-10 คน และฝ่ายพระขันธกุมารหรือพระกาล มีผแู้ สดง 1 คน เป็ น เรื่อ งราวเกี่ย วกับ การเดิ นทางไปร่ วมงานโสกันต์ท่เี ขาไกรลาสของบรรดากษัตริย์ร้อ ยเอ็ดเจ็ดพระนคร โดยได้พ บ พระขันธกุมารหรือพระกาลระหว่างการเดินทางซึง่ ห้ามมิให้เดินทางระหว่างจนเกิดการประทะกัน ฝ่ายกษัตริยร์ อ้ ยเอ็ด เจ็ดพระนครจึงจะแผลงศรฆ่าพระขันธกุมารหรือพระกาลเสีย แต่ถูกสาปให้สลบเสียก่ อน ภายหลังพระขันธกุมารหรือ พระกาลเกิดความสงสารจึงชุบชีวติ ให้ฟ้ืนแล้วปล่อยให้กลับบ้านเมืองของตนไป เครื่องแต่งกายของกษัตริย์รอ้ ยเอ็ดเจ็ดพระนครแต่งชุดเข้มขาบ ในมือจะถือคันศรและลูกศรเป็ นอาวุธประจา กาย ในการปฏิบตั ทิ ่าราจะมีการตีลกู ศรลงบนคันศรไปด้วย เครื่องแต่งกายพระขันธกุมารหรือพระกาลนัน้ แต่งได้ 2 แบบ

184


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.