การสังเคราะห์องค์ความรู้จากวิทยานิพนธ์ด้านนาฏศิลป์ไทยpiyawadee m

Page 189

บทที่ 8 ผลการสังเคราะห์องค์ความรู้เกี่ยวกับการละเล่น วิทยานิพนธ์ท่ที าการศึกษาเกี่ยวกับการละเล่นแบ่งออกเป็ นการละเล่นของหลวงและการละเล่นพื้นบ้าน มี จานวน 3 ฉบับ คือ ผกามาศ จิรจารุภทั ร การละเล่นของหลวง อนุกลู โรจนสุขสมบูรณ์ การเชิดหนังใหญ่วดั สว่างอารมณ์ จังหวัดสิงห์บุรี วรกมล เหมศรีชาติ การแสดงหุ่นกระบอกคณะชูเชิดชานาญศิลป์ จังหวัดสมุทรสงคราม และมีการศึกษานาฏศิลป์ในภาพจิตรกรรมสมัยรัตนโกสินทร์ โดยมีขอ้ มูลเกีย่ วกับการละเล่น ซึง่ ผูว้ จิ ยั จะกล่าว เฉพาะส่วนทีเ่ กีย่ วข้องกับการละเล่นเท่านัน้ 8.1

การละเล่นของหลวง ทัง้ นี้ ใ นการศึก ษานาฏยศิล ป์ ในงานสมโภชพระราชพิธีต่ า งๆที่ป รากฎบนภาพจิต รกรรมฝาผนั ง สมัย รัตนโกสินทร์ พบการละเล่นแทงวิไสย ไต่ ลวดราแพน ไม้สูง หกคะเมน กระอัว้ แทงควาย การละเล่นพื้นเมืองของ ชาวกาแพงเพชร การเชิดหนังใหญ่ หุ่นหลวงและหุ่นจีน โดยผกามาศ จิรจรุภทั รมีการศึกษาการละเล่นของหลวง แบ่งเป็ นหัวข้อต่างๆ ดังนี้

การละเล่ นของหลวง คือ การแสดงหรือ มหรสพสมโภชที่จ ัด แสดงในงานพระราชพิธีข องหลวงที่สาคัญ ๆ ประกอบไปด้วยการแสดง 5 ชุด ได้แก่ โมงครุ่ม ระเบง กุลาตีไม้ แทงวิไสย และกระอัว้ แทงควาย โดยทีห่ น่ วยงานของ หลวงหรือราชสานักเป็ นผู้จดั แสดงขึน้ และใช้ผู้ชายเป็ นผู้แสดง จุดมุ่งหมายหลักและความสาคัญของการแสดงก็เพื่อ ความเป็ นสิรมิ งคลในงานพระราชพิธี และเพื่อเป็ นการรอฤกษ์พธิ ใี นการประกอบพระราชพิธขี องพระมหากษัตริย์ ซึง่ การ แสดงทัง้ 5 ชุดมุ่งเน้นทีค่ วามสนุกสนาน ความบันเทิง การละเล่นของหลวงนี้สนั นิษฐานว่าเริม่ มีมาตัง้ แต่สมัยสุโขทัยเป็ นราชธานี แต่มปี รากฎหลักฐานทีช่ ดั เจนใน สมัยกรุงศรีอยุธยา ซึง่ จะพบว่ามีการแสดงการละเล่นของหลวงประกอบอยู่ในงานพระราชพิธขี องหลวงโดยเฉพาะในงาน พระราชพิธสี บิ สองเดือน โดยการละเล่นของหลวงทัง้ 5 ชุด เป็ นการแสดงที่ประเทศไทยรับเอามาจากต่างชาติหรือ บรรดาประเทศราชแล้วเรานามาพัฒนาปรับปรุงให้เป็ นไปตามแบบแผนของไทยและแสดงอยู่ในพระราชพิธสี าคัญๆ ปจั จุบนั กรมศิลปากรเป็ นหน่ วยงานของรัฐ ทีท่ าหน้าทีอ่ นุ รกั ษ์และสืบทอดศิลปวัฒนธรรมของไทยทุกแขนงให้ คงอยู่ ทาให้การละเล่นของหลวงนัน้ ยังคงสืบทอดต่อมา ซึง่ การละเล่นของหลวงทีจ่ ดั แสดงโดยกรมศิลปากรประกอบไป ด้วยกลุ่มผูแ้ สดง 2 กลุ่ม ได้แก่ 1. กลุ่มนักเรียน นักศึกษา และข้าราชการครูของสถาบันนาฏดุรยิ างคศิลป์ กรมศิลปากร ซึง่ ผูแ้ สดงกลุ่มนี้จะ เป็ นกลุ่มทีแ่ สดงเพื่อฝึกหัดสิง่ ทีไ่ ด้เรียนมา ทัง้ นี้เนื่องจากได้มกี ารบรรจุการละเล่นของหลวงชุด โมงครุ่ม ระเบง กุลาตีไม้ ลงในหลักสูตรนักเรียนโขนในระดับชัน้ กลางปี ท่ี 2 (เทียบเท่ามัธยมศึกษาปี ท่ี 5 ) การคัดเลือกผู้แสดงในกลุ่มนี้กจ็ ะ คัดเลือกจากนักเรียนโขนในระดับชัน้ กลางปี ท่ี 2 ขึน้ ไปเป็ นผูแ้ สดง เนื่องจากเป็ นเด็กทีโ่ ตพอจะรับผิดชอบในการแสดง รวมทัง้ ยังได้เคยศึกษาการละเล่นของหลวงมาบ้างแล้ว จึงไม่ยากต่อการฝึ กซ้อมเพียงแต่นามาทบทวนความจา และ ฝึกหัดความพร้อมเพรียงเท่านัน้ 2. กลุ่มนาฏยศิลปิ น แผนกนาฏดุรยิ างค์ สถาบันนาฏดุรยิ างคศิลป์ กรมศิลปากร ผู้แสดงกลุ่มนี้เป็ นผู้ท่มี ี หน้ าที่แสดงนาฏยศิลป์ใ นงานของทางราชการ และเป็ นศิลปิ นอยู่แล้ว ดังนัน้ ในการแสดงการละเล่นของหลวงของ ผูแ้ สดงกลุ่มนี้กจ็ ะใช้ศลิ ปิ นโขนผูช้ าย


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.