ระบำลพบุรี

Page 1

ประวัติที่มา ระบําลพบุรี เปนระบําชุดที่ ๓ ในระบําโบราณคดีที่เกิดขึ้นจากแนวความคิดของนายธนิต อยูโพธิ์ (อดีตอธิบดีกรมศิลปากร) เชนเดียวกับระบําทวารวดี อยูในระหวางพุทธศตวรรษที่ ๑๖ – ๑๙ ประดิษฐขึ้น โดย อาศัยหลักฐานจากโบราณวัตถุ และภาพจําหลักตามโบราณสถาน ซึ่งสรางขึ้นตามแบบศิลปะของขอม ที่อยูใน ประเทศกัมพูชา และประเทศไทย อาทิ พระปรางคสามยอดในจังหวัดลพบุรี ทับหลังประตูระเบียงตะวันตก ของปราสาทหินพิมายในจังหวัดนครราชสีมา ปราสาทหินพนมรุงในจังหวัดบุรีรัมย เปนตน การแตงทํานอง เพลง กระบวนทารํา และเครื่องแตงกาย จึงมัลักษณะคลายเขมรเปนสวนใหญ ระบําลพบุรีแสดงครั้งแรกเพื่อ ถวายพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ทอดพระเนตรในงานเสด็จพระราชดําเนินทางเปดการแสดงศิลปะโบราณวัตถุในอาคารสรางใหมใน พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ พระนคร เมื่อวันที่ ๒๕ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๑๐ และภายหลังไดนําออกแสดงในโรง ละครแหงชาติและที่อื่น ๆ เพื่อใหประชาชนชม นายมนตรี ตราโมท ผูเชี่ยวชาญดุริยางคไทย กรมศิลปากร ศิลปนแหงชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ดนตรีไทย) ปพุทธศักราช ๒๕๒๘ เปนผูแตงทํานองเพลง โดยมีสําเนียงออกไปทางเขมร นางลมุล ยมะคุปต ผูเชี่ยวชาญการสอนนาฏศิลปไทย วิทยาลัยนาฏศิลป กรมศิลปากร และนางเฉลย ศุขะวณิช ผูเชี่ยวชาญการสอนนาฏศิลปไทย วิทยาลัยนาฏศิลป กรมศิลปากร ศิลปนแหงชาติ สาขา ศิลปะการแสดง (นาฏศิลป) ปพุทธศักราช ๒๕๓๐ เปนผูประดิษฐทารํา นายสนิท ดิษฐพันธ ออกแบบเครื่องแตงกาย นางชนานันท ชางเรียน สรางเครื่องแตงกาย นายชิต แกวดวงใหญ สรางศิราภรณ และเครื่องประดับ รูปแบบ และลักษณะการแสดง ระบําลพบุรี เปนการรําหมูประกอบดวยผูแสดง ๕ คน แบงเปนตัวเอก ๑ คน และตัวหมูระบํา ๔ คน ทารําประดิษฐขึ้นโดยเลียนแบบจากศิลปะของที่เปนโบราณวัตถุและภาพจําหลักในสถานที่ตาง ๆ ลักษณะ การรําจะมีกระบวนทารําของตัวเอก และทารําของหมูระบําที่มีความสอดคลอง กลมกลืนกัน รวมทั้งการใชมือ เทา และศีรษะ มีลักษณะพิเศษตามยุคสมัย ตลอดจนการแปรแถวในการรําดวยลักษณะตาง ๆ การรําแบงเปนขั้นตอนตาง ๆ ไดดังนี้ ขั้นตอนที่ ๑ ผูแสดงหมูระบํารําออกมาตามทํานองเพลง ขั้นตอนที่ ๒ ผูแ สดงตัวเอกรําออก และมารํารวมกันจนจบกระบวนทา


ขั้นตอนที่ ๓ ผูแสดงหมูในระบํารําเขาเวที ขั้นตอนที่ ๔ ผูแ สดงตัวเอกทําทาจบดวยการไหวในชวงทายของเพลง แลวรําเขาเวที ดนตรี และเพลงที่ใชประกอบการแสดง ใชวงดนตรีที่มีลักษณะเฉพาะ เครื่องดนตรีประกอบดวย ซอสามสาย พิณน้ําเตา กระจับป ปใน โทน ๒ ลูก ฉิ่ง ฉาบ และกรับคู เพลงที่ใชประกอบการแสดง ไดแก เพลงลพบุรี (เที่ยวชา และเที่ยวเร็ว) เครื่องแตงกาย เครื่องแตงกายของระบําลพบุรี ประกอบดวย ๑. เสื้อสีเนื้อ คอกลม แขนสั้นเหนือศอก ติดแถบทองรอบคอตลอดระหวางอกและรอบเอว เสื้อตัว เอกปกดิ้นเปนลายดอกประจํายามหนึ่งดอกตรงระหวางอก ๒. กระโปรงเย็บสําเร็จแบบทบซอนหนา ชายลางโคงมน ยาวคลุมเขา ประดิ้นลายประจํายาม ประปราย มีผาตาดสีทอง ติดทาบชายกระโปรง ตัวเอกประโปรงสม หมูระยําประโปรงสีฟา ๓. ผารัดสะเอวมีสายผูกคาดไปขางหลัง ปกดิ้น มีลวดลายเฉพาะดานหนา ๔. ผาคลุมสะโพกสีมวงออน ชายแหลมมนแยกเปน ๒ ชิ้น ตัวเอกผาคลุกจะทาบริมดวยผาตาด สี เงิน ตัวรองผาคลุมจะทาบดวยผาตาดสีทอง ๕. เครื่องประดับ ประกอบดวย เข็มขัด สรอยคอ ตางหู ตนแขน กําไล ขอมือ กําไลเทา ๖. ศีรษะใสครอบแบบประกอบสําเร็จรูป ประดับดวยเกี้ยว พูไหมสีเงิน


(ที่มาของภาพ : http://www.finearts.go.th/web/sites/default/files/u9/lopburi1.png)

(ที่มาของภาพ : http://www.finearts.go.th/web/sites/default/files/u9/lopburi2.png) โอกาสที่ใชแสดง ถวายทอดพระเนตรในงานเสด็จพระราชดําเนินทางเปดการแสดงศิลปะโบราณวัตถุในอาคารสรางใหม ณ พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ พระนคร และเผยแพรใหประชาชนชม


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.