29.08.2015 Views

ตลาดกลางสินค้าเกษตร คืออะไร - องค์การตลาดเพื่อเกษตรกร

ตลาดกลางสินค้าเกษตร คืออะไร - องค์การตลาดเพื่อเกษตรกร

ตลาดกลางสินค้าเกษตร คืออะไร - องค์การตลาดเพื่อเกษตรกร

SHOW MORE
SHOW LESS
  • No tags were found...

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

<strong>ตลาดกลางสินค้าเกษตร</strong> <strong>คืออะไร</strong><br />

คือสถานที่นัดพบเพื่อการซื้อขายสินค้าเกษตรที่มีผู้ซื้อและผู้ขายจ านวนมาก เข้ามาท าการซื้อขายโดยตรง ด้วย<br />

วิธีการตกลงราคาหรือประมูลราคากันอย่างเปิดเผย ภายใต้ราคาที่เป็นธรรมด้วยการบริการและสิ่งอ านวยความ<br />

สะดวก อาทิ คลังเก็บรักษาสินค้า อุปกรณ์ชั่ง ตวง วัดและคัดเกรดสินค้าที่ได้มาตรฐาน รวมถึงบริการด้านข้อมูล<br />

ข่าวสารทางการตลาดเพื่อประกอบการซื้อขาย<br />

“<strong>ตลาดกลางสินค้าเกษตร</strong>” มิติใหม่ในการส่งเสริมเกษตรไทยให้มีช่องทางในการซื้อขายสินค้าเกษตรอย่าง<br />

เป็นระบบ และลดปัญหาสินค้าราคาตกต่ าในอนาคต<br />

บทบาทหน้าที่ของเจ้าของตลาดกลาง<br />

จัดอุปกรณ์มาตรฐาน และเจ้าหน้าที่อ านวยความสะดวกเพื่อให้บริการ โดยจัดเก็บค่าบริการ ตามอัตราที่<br />

กรมการค้าภายในก าหนด<br />

<strong>ตลาดกลางสินค้าเกษตร</strong> พร้อมสรรพส าหรับ ผู้ซื้อ เพราะที่นี่จะท าให้คุณ….<br />

- สะดวกซื้อ ด้วยปริมาณสินค้าเกษตรที่หลากหลาย<br />

- สามารถเปรียบเทียบราคาและคุณภาพได้<br />

- ได้รับข้อมูลข่าวสารทางการตลาดที่ตรงกับสภาวะเศรษฐกิจในปัจจุบัน<br />

- ได้รับบริการรับฝากสินค้าเพื่อปรับปรุงคุณภาพให้ดีขึ้น เช่นการลดความชื้นหรือขอใช้บริการลานตาก<br />

ของ<strong>ตลาดกลางสินค้าเกษตร</strong><br />

<strong>ตลาดกลางสินค้าเกษตร</strong>ช่วย ภาครัฐ เกื้อหนุนเกษตรกรและผู้ซื้อได้อย่างไร<br />

1. ช่วยให้มีสถานที่รองรับผลิตผลทางการเกษตรที่ได้มาตรฐาน ทั้งทางด้านคุณภาพและราคาสินค้า<br />

2. ภาครัฐสามารถเก็บข้อมูลข่าวสารการตลาดมาวิเคราะห์เพื่อหาแนวทางให้เกษตรกรน าไปปฏิบัติ<br />

3. เพื่อป้องกันปัญหาสินค้าเกษตรล้นตลาด จนท าให้ราคาตกต่ า เป็นกลไกทางการตลาดอย่างหนึ่งที่สะท้อน<br />

ให้เห็นถึงสินค้าเกษตรไทยว่าอนาคตจะไปในทิศทางใด<br />

<strong>ตลาดกลางสินค้าเกษตร</strong> สิทธิประโยชน์ที่เกษตรกรหรือผู้ขาย มีแต่ได้ไม่มีเสียเพราะ……<br />

1. เป็นศูนย์กลางการซื้อขายสินค้าเกษตรที่แน่นอน สะดวกต่อการก าหนดระยะเวลาในการขนส่งสินค้า<br />

เพื่อลดปัญหาความเสียหายของสินค้าระหว่างการเดินทาง<br />

2. เกษตรกรหรือผู้ขายสามารถจ าหน่ายสินค้าเกษตรได้ในราคาที่เป็นธรรม ไม่ถูกกดราราคาจากผู้ซื้อ และ<br />

ได้รับเงินจากการขายทันทีเมื่อมีการตกลงซื้อสินค้า<br />

3. ภายใน<strong>ตลาดกลางสินค้าเกษตร</strong> เกษตรกรหรือผู้ขายสามารถฝากผลผลิตไว้ที่ตลาดกลางได้เพื่อรอราคาขาย<br />

ที่ดีกว่า<br />

4. ตลาดกลาง มีบริการเครื่องชั่ง ตวง วัด ที่ได้มาตรฐานเพื่อป้องกันผลประโยชน์ทั้งของผู้ซื้อและผู้ขาย<br />

5. เพื่อให้เกษตรกรหรือผู้ขายมีข้อได้เปรียบในการขายสินค้าเกษตรทางตลาดกลาง จึงอ านวยความสะดวก<br />

ด้วยแหล่งข้อมูลข่าวสารราคาสินค้าเกษตรทั่วประเทศ ไว้ให้บริการอย่างครบครัน<br />

บทบาทของกรมการค้าภายในต่อการพัฒนา<strong>ตลาดกลางสินค้าเกษตร</strong>


กรมการค้าภายในได้ส่งเสริมให้เอกชนจัดตั้ง<strong>ตลาดกลางสินค้าเกษตร</strong> ตามนโยบายของรัฐบาลและตาม<br />

แผนพัฒนาการพาณิชย์ของกระทรวงพาณิชย์ ที่เน้นให้ความส าคัญในการพัฒนาภาคการเกษตร ตลอดจนการ<br />

ปฏิบัติตามรัฐธรรมนูญ ฉบับปัจจุบันที่บัญญัติไว้ในมาตรา 84 ว่า “รัฐต้องรักษาผลประโยชน์ของเกษตรกรในการ<br />

ผลิตและการตลาดสินค้าเกษตรให้ได้รับผลตอบแทนสูงสุดรวมทั้งส่งเสริมการรวมตัวของเกษตรกรเพื่อวางแผน<br />

การเกษตรและรักษาผลประโยชน์ร่วมกันของเกษตรกร”<br />

<strong>ตลาดกลางสินค้าเกษตร</strong>ในการส่งเสริมของกรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ เป็นสถานที่ที่ผู้ซื้อผู้ขายมา<br />

ซื้อขายสินค้าเกษตร ซึ่งเป็นผลิตผลทางเกษตรกรรมและผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการแปรสภาพผลิตผลทางเกษตรกรรม<br />

ในลักษณะขายส่ง ด้วยวิธีประมูลหรือต่อรองราคา แบ่งได้ 4 ประเภท<br />

1. ตลาดข้าวและพืชไร่<br />

2. ตลาดผักและผลไม้<br />

3. ตลาดปศุสัตว์<br />

4. ตลาดสัตว์น้ า และผลิตภัณฑ์ที่แปรสภาพมาจากสัตว์น้ า<br />

คุณสมบัติผู้ประสงค์จะขอเป็น<strong>ตลาดกลางสินค้าเกษตร</strong> ดังนี้<br />

1. เป็นนิติบุคคล<br />

2. มีกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองในที่ดินอันเป็นสถานที่ตั้งตลาด<br />

3. ที่ดินซึ่งเป็นสถานที่ตั้งตลาดต้องมีแนวเขตที่ดินติดต่อเป็นผืนเดียวกัน และที่ดินต้องมีจ านวน ดังนี้<br />

(1) ตลาดข้าวและพืชไร่ไม่น้อยกว่า 20ไร่<br />

(2) ตลาดผักและผลไม้ไม่น้อยกว่า 10ไร่<br />

(3) ตลาดปศุสัตว์ไม่น้อยกว่า 10ไร่<br />

(4) ตลาดสัตว์น้ าและผลิตภัณฑ์ที่แปรสภาพมาจากสัตว์น้ าไม่น้อยกว่า 10ไร่<br />

(5) ตลาดประเภทอื่นที่อธิบดีกรมการค้าภายในก าหนดไม่น้อยกว่า10ไร่<br />

เงื่อนไขในการส่งเสริม<br />

1. สถานที่ตั้งตลาดข้าวและพืชไร่ที่ขอรับการส่งเสริม ต้องมีระยะทางอยู่ห่างจากสถานที่ตั้งตลาดประเภท<br />

เดียวกันที่ได้รับการส่งเสริมไปก่อนแล้วไม่น้อยกว่า 30 กิโลเมตร<br />

2. ตลาดผักและผลไม้ที่จะได้รับการส่งเสริมต้องมีระยะทางอยู่ห่างจากตลาดประเภทเดียวกันที่ได้รับการ<br />

ส่งเสริมไปก่อนแล้วไม่น้อยกว่า 50 กิโลเมตร<br />

3. ตลาดข้าวและพืชไร่ต้องมีสถานที่เก็บข้าวและพืชไร่ขนาดความจุไม่น้อยกว่า1,000 เมตริกตัน ตลาด<br />

ประเภทอื่นให้มีสถานที่เก็บตามสภาพของสินค้าเกษตร และมีขนาดเหมาะสมกับปริมาณสินค้าเกษตรที่เข้าสู่<br />

ตลาด<br />

4. ต้องมีสิ่งอ านวยความสะดวกในการซื้อขาย<br />

5. ต้องมีสถานที่ส าหรับซื้อขายเป็นสัดส่วนและจัดไว้ในที่เปิดเผยเพื่อสะดวกในเวลาซื้อขาย<br />

6. ต้องมีบริการสาธารณูปโภค<br />

การยื่นค าขอรับการส่งเสริม


ผู้ขอรับการส่งเสริมยื่นค าขอรับการส่งเสริม ณ ส านักงานการค้าภายในจังหวัดแห่งท้องที่ที่ตลาดตั้งอยู่<br />

1. โดยยื่นเอกสารหลักฐานดังต่อไปนี้<br />

(1) หนังสือรับรองของส านักงานทะเบียนหุ้นส่วนบริษัทแสดงการจดทะเบียนเป็นห้างหุ้นส่วนสามัญ<br />

ห้างหุ้นส่วนจ ากัด หรือบริษัทจ ากัด<br />

(2) ส าเนาใบส าคัญแสดงการจดทะเบียนสหกรณ์หรือส าเนาใบทะเบียนจัดตั้งกลุ่มเกษตรกร<br />

(3) หนังสือมอบอ านาจกรณีที่นิติบุคคลมอบอ านาจให้ผู้อื่นมายื่นค าขอ<br />

(4) ภาพถ่ายบัตรประจ าตัวประชาชน พร้อมส าเนาทะเบียนบ้านของผู้ยื่นค าขอ<br />

(5) ส าเนาโฉนดที่ดิน ส าเนาโฉนดแผนที่ ส าเนาโฉนดตราจอง ส าเนาตราจองว่า “ได้ท าประโยชน์<br />

แล้ว” ส าเนาหนังสือรับรองการท าประโยชน์ (น.ส.3 น.ส.3ก. หรือ น.ส.3ข.) หรือส าเนาสัญญาเช่าที่ดินอันเป็น<br />

สถานที่ตั้งตลาด<br />

(6) แผนที่โดยสังเขปแสดงแนวเขตที่ดินทุกแปลงที่ใช้เป็นสถานที่ตั้งตลาด รวมทั้งแนวเขตข้างเคียง<br />

ตลาด<br />

(7) แผนที่โดยสังเขปแสดงสถานที่ตั้งของตลาด รวมทั้งแผนผังอาคารตลาด และรายละเอียด<br />

สิ่งก่อสร้างบนที่ดินให้ครบถ้วน<br />

(8) เอกสารแสดงรายละเอียดโครงการหรือแผนการบริหารงานตลาด<br />

เจ้าหน้าที่ตรวจสอบเอกสารหลักฐาน คุณสมบัติของตลาดที่ขอรับการส่งเสริม รวมทั้งตรวจสอบสภาพและ<br />

สถานที่ตั้งตลาดให้เป็นไปตามเงื่อนไข น าเสนออธิบดีกรมการค้าภายในหรือผู้ว่าราชการจังหวัด แล้วแต่กรณี<br />

กรณีเอกสารหลักฐานไม่ครบถ้วน เจ้าหน้าที่ กรมการค้าภายใน แจ้งให้ผู้ยื่นค าขอรับการส่งเสริมแก้ไขและ<br />

ยื่นใหม่ให้ถูกต้องครบถ้วน ภายใน 10 วันท าการนับแต่วันที่ได้รับแจ้ง หากผู้ยื่นค าขอรับการ ส่งเสริมไม่<br />

ด าเนินการภายในเวลาที่ก าหนด ให้จ าหน่ายค าขอดังกล่าว<br />

การพิจารณาให้การส่งเสริม<br />

1. ผู้ว่าราชการจังหวัดจะพิจารณาค าขอรับการส่งเสริม แล้วให้ความเห็นเบื้องต้นก่อนส่งค าขอดังกล่าวให้<br />

อธิบดีกรมการค้าภายใน<br />

2. อธิบดีกรมการค้าภายในพิจารณาให้การส่งเสริมและออกหนังสือรับรองการเป็น<strong>ตลาดกลางสินค้าเกษตร</strong><br />

ให้<br />

3. การพิจารณาค าขอรับการส่งเสริมให้ด าเนินการแล้วเสร็จ และแจ้งให้ผู้ยื่นค าขอรับการส่งเสริมทราบ<br />

ภายในสี่สิบห้าวัน นับแต่วันที่ได้รับค าขอรับการส่งเสริม พร้อมเอกสารหลักฐานถูกต้องครบถ้วน<br />

4. หนังสือรับรองการเป็น<strong>ตลาดกลางสินค้าเกษตร</strong> ให้ใช้ได้ห้าปีนับแต่วันที่ออกหนังสือรับรอง<br />

การต่ออายุหนังสือรับรองการเป็น<strong>ตลาดกลางสินค้าเกษตร</strong> จะต้องยื่นค าขอตามแบบที่ก าหนดก่อนหนังสือ<br />

รับรองสิ้นอายุพร้อมเอกสารหลักฐาน เช่นเดียวกับการยื่นค าขอรับการส่งเสริม

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!