SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์
ของพืชดอกตัวอย่าง จานวน 3 ชนิด ได้แก่ พุดพิชญา กุหลาบ เฟื่องฟ้า
นาเสนอครูผู้สอน
นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์
ตาแหน่ง ครู คศ.1 สาขาชีววิทยา
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
คณะผู้จัดทา กลุ่มที่ 10
1. นางสาวปารมี อุ่นพิกุล เลขที่ 19
2. นางสาววริศรา แป้นแก้ว เลขที่ 28
3. นางสาวศศิภา ชายา เลขที่ 31
4. นายพณฉัตร เจริญผล เลขที่ 41
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ห้อง 931
แผนการเรียน วิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์-คุณภาพชีวิต
ชิ้นงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาชีววิทยา 4 (ว 30244)
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561
คานา
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา
ชีววิทยา4 (ว 30244) มีจุดประสงค์เพื่อการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้าง
อวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกตัวอย่าง 3 ชนิด ได้แก่ พุดพิชญา กุหลาบ
เฟื่องฟ้า ทั้งนี้มีเนื้อหาซึ่งประกอบด้วยลักษณะทั่วไปทางพฤกษศาสตร์
องค์ประกอบสาคัญของดอก และตัวอย่างแห้งแสดงองค์ประกอบ
โครงสร้างสาคัญของดอกแต่ละชนิด เพื่อให้ผู้อ่านได้เข้าใจมากยิ่งขึ้น หวัง
ว่าหนังสือเล่มเล็กเล่มนี้จะให้ความรู้และเป็นประโยชน์แก่ผู้อ่านทุกๆท่าน
หากมีข้อเสนอแนะประการใด ผู้จัดทาขอรับไว้ด้วยความขอบพระคุณยิ่ง
คณะผู้จัดทา
วันที่ 19 พฤศจิกายน 2561
สารบัญ
เรื่อง หน้า
1. การศึกษาโครงสร้างดอกชนิดที่ 1 คือ พุดพิชญา 3
1.1 ลักษณะทั่วไปทางพฤกษศาสตร์ 3
1.2 องค์ประกอบโครงสร้างสาคัญของดอก 4
1.3 ตัวอย่างแห้งแสดงองค์ประกอบโครงสร้าง 5
สาคัญของดอก
2. การศึกษาโครงสร้างดอกชนิดที่ 2 คือ กุหลาบ 6
2.1 ลักษณะทั่วไปทางพฤกษศาสตร์ 6
2.2 องค์ประกอบโครงสร้างสาคัญของดอก 8
2.3 ตัวอย่างแห้งแสดงองค์ประกอบโครงสร้าง 8
สาคัญของดอก
3. การศึกษาโครงสร้างดอกชนิดที่ 3 คือ เฟื่องฟ้า 9
3.1 ลักษณะทั่วไปทางพฤกษศาสตร์ 9
3.2 องค์ประกอบโครงสร้างสาคัญของดอก 10
3.3 ตัวอย่างแห้งแสดงองค์ประกอบโครงสร้าง 11
สาคัญของดอก
4. Clip VDO ประกอบการศึกษา 12
5. ภาคผนวก 13
การจัดกลุ่มโครงสร้างของดอก
ดอกที่ทาการจัดจาแนก คือ พุดพิชญา กุหลาบ เฟื่องฟ้า
1.จานวนดอกที่ติดบนก้านดอก (ดอกเดี่ยว/ดอกช่อ)
ดอกเดี่ยว ได้แก่ กุหลาบ
ดอกช่อ ได้แก่ พุดพิชญา เฟื่องฟ้า
2.ส่วนประกอบต่างๆบนฐานรองดอก (ดอกครบส่วน/ดอกไม่ครบส่วน)
ดอกครบส่วน ได้แก่ พุดพิชญา กุหลาบ
ดอกไม่ครบส่วน ได้แก่ เฟื่องฟ้า
3.เพศ (ดอกสมบูรณ์เพศ/ดอกไม่สมบูรณ์เพศ)
ดอกสมบูรณ์เพศ ได้แก่ พุดพิชญา กุหลาบ เฟื่องฟ้า
4.รูปแบบของรังไข่ (Inferior ovary/Superior ovary)
Superior ovary ได้แก่ พุดพิชญา กุหลาบ เฟื่องฟ้า
5.ความสมมาตรของดอก (สมมาตรแนวด้านข้าง/สมมาตรแนวรัศมี)
สมมาตรแนวด้านข้าง ได้แก่ เฟื่องฟ้า
สมมาตรแนวรัศมี ได้แก่ พุดพิชญา กุหลาบ
การศึกษาโครงสร้างดอกชนิดที่ 1 คือ พุดพิชญา
1.1 ลักษณะทั่วไปทางพฤกษศาสตร์
ชื่อวิทยาศาสตร์ Wrightia antidysenterica R.Br.
ชื่อสามัญ Arctic snow, Sweet Indrajao
ตระกูล APOCYNACEAE
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : พุดพิชญาเป็นพรรณไม้ยืนต้นขนาด
เล็ก ลักษณะเป็นพุ่มเตี้ย ลาต้นสูง 1-3 เมตร
ลาต้น มีผิวสีขาวเทา แตกกิ่งก้านออกใบรอบต้น
ใบ เป็นใบเดี่ยว แตกออกเป็นคู่ตรงกันข้าม ตามข้อของกิ่ง
ลักษณะของใบเป็นรูปมนรี ปลายใบแหลม ผิวใบเรียบสีเขียว
ขนาดใบกว้าง 3-5 ซม. ยาว 8-12 ซม.
ดอก เป็นดอกเดี่ยว ออกตามปลาย
ยอดหรือปลายกิ่ง ช่อหนึ่งมี5-6 ดอก
แล้วแต่ชนิดพันธุ์ ดอกมีกลิ่นหอมสี
ขาว กลีบดอกซ้อนเป็นชั้น ๆ หรือ
เรียงเป็นชั้นเดียวแล้วแต่ชนิดพันธุ์ ดอกบานมีความโต 2-5 ซม.
ผล เป็นฝักรูปกระบอกแหลมโค้งภายใน
มีเมล็ด 3-5 เมล็ด
1.2 องค์ประกอบโครงสร้างสาคัญของดอก 1.3 ตัวอย่างแห้งแสดงองค์ประกอบโครงสร้าง
สาคัญของดอก
การศึกษาโครงสร้างดอกชนิดที่ 2 คือ กุหลาบ
2.1 ลักษณะทั่วไปทางพฤกษศาสตร์
ชื่อวิทยาศาสตร์ Rosa hybrida
ชื่อสามัญ Rose
วงศ์ ROSACEAE
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
ต้น ไม้พุ่มขนาดเล็ก แต่บางชนิดมีขนาดใหญ่หรือเป็นไม้
เลื้อย เป็นไม้ผลัดใบ ลาต้นและกิ่งมีหนาม เปลือกสีเขียว
ใบ เป็นใบประกอบแบบขนนก มีใบย่อย 5-9 ใบ ออก
สลับกัน ใบรูปไข่ ปลายใบแหลม โคนใบมน ขอบใบจักฟันเลื่อย
แผ่นใบสีเขียวเข้มเป็นมันและมีรอยย่นเล็กน้อย
ดอก เป็นดอกเดี่ยว หรือ
ดอกช่อ กลีบดอกแบ่งเป็น 3
ชนิด คือ กลีบ ดอกชั้นเดียว จะ
มี 5 กลีบ ส่วนกลีบดอกกึ่ง
กลีบ กลีบดอกซ้อนมีตั้งแต่ 20 กลีบขึ้นไป กลีบเลี้ยงมีสีเขียวหรือ
สีเขียวอมแดงเรื่อ เกสรเพศผู้มีจานวนมาก ล้อมรอบเกสรเพศเมีย
อับเรณูสีเหลืองล้อมรอบเกสรเพศเมียซึ่งรวมเป็นกระจุกอยู่กลาง
ดอก และจะอยู่ใน ระดับต่ากว่าเกสรเพศผู้
ฝัก/ผล เป็นผลกลุ่ม ผลแก่แห้ง เมื่อเริ่มติดผลส่วนที่เป็นรังไข่
จะขยายพองโตขึ้นโดยมีฐานรองดอกหุ้มไว้ภายในประกอบด้วย
ผลย่อยจานวนสองถึงหลายสิบผล ผลมีรูปร่างต่างๆ กัน ตามชนิด
เช่น กลม กลมแป้น ยาวรี มีเนื้อนุ่ม และมีหลายสี เช่น สีส้ม สีแดง
สีเหลือง หรือสีน้าตาล
เมล็ด เมล็ดล่อน (achene) ค่อนข้าง
กลม รูปไข่ เมล็ดอ่อนสีขาวอมเขียว ที่
ปลายมีสีแดง เมล็ดแก่สีน้าตาล จานวน
2-18 เมล็ด
2.2 องค์ประกอบโครงสร้างสาคัญของดอก
2.3 ตัวอย่างแห้งแสดงองค์ประกอบโครงสร้าง
สาคัญของดอก
การศึกษาโครงสร้างดอกชนิดที่ 3 คือ เฟื่องฟ้า
3.1 ลักษณะทั่วไปทางพฤกษศาสตร์
ชื่อวิทยาศาสตร์ Bougainvillea hybrid
ชื่อสามัญ Bougainvillea, Paper Flower
วงศ์ NYCTAGINACEAE
ชื่ออื่น ดอกโคม (ภาคเหนือ), ดอกต่างใบ (กรุงเทพฯ),
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์:ไม้พุ่มรอเลื้อย เนื้อแข็ง ผิวสีเทาหรือ
น้าตาล ลาต้นและกิ่งมีหนามแหลมคม
ใบ ใบเรียงสลับ ใบเดี่ยว รูปไข่
หรือรูปรี กว้าง 3-5 ซม. ยาว 4-8
ซม. โคนใบมน ปลายใบแหลม
ขอบใบเรียบ ผิวใบเรียบมีทั้งสีเขียว
และสีด่าง
ดอก ดอกช่อ มีใบประดับสี
ต่างๆ จานวน 3 กลีบ ส่วนของดอก
เป็นหลอด มีขนาดเล็กสีขาว มีก้าน
ดอกเล็กๆ และติดอยู่กลางแผ่นของ
ใบประดับ หลอดดอกสีเขียว
ที่ปลายหลอดดอกคล้ายกลีบมีชั้นเดียว สีชมพู เหลืองหรือขาว
เกสรเพศผู้10 อัน มีขนาดไม่เท่ากัน และอยู่ในหลอดดอก
ผล ผลขนาดเล็ก มี 5 สัน มีเปลือกแข็งและมีเมล็ดติดกับ
เปลือก
3.2 องค์ประกอบโครงสร้างสาคัญของดอก
3.3 ตัวอย่างแห้งแสดงองค์ประกอบโครงสร้าง
สาคัญของดอก
Clip VDO ประกอบการศึกษา
link youtube :
https://www.youtube.com/watch?v=4
ewWo7vv9FQ&feature=youtu.be
บรรณานุกรม
พุดพิชญา. (2558). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จากhttp://book.baanlaesuan.com/
plant-library/indrajao_winter. (วันที่สืบค้นข้อมูล 12 พฤศจิกายน 2560).
กุหลาบ. (2559). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก http://natres.psu.ac.th/
Department/PlantScience/510-111web/510-482web/510-482web-1-10-
46/Rose.htm. (วันที่สืบค้นข้อมูล 15 พฤศจิกายน 2560).
เฟื่องฟ้า. (2558). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก https://il.mahidol.ac.th/e-
media/plants/webcontent3/interactive_key/key/describ/phaengfa.htm
(วันที่สืบค้นข้อมูล 15 พฤศจิกายน 2560).
ภาคผนวก ภาคผนวก
ภาคผนวก ภาคผนวก
ครูผู้สอน : นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์
ตาแหน่ง ครู ค.ศ.1 สาขาชีววิทยา
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
นางสาวปารมี อุ่นพิกุล เลขที่ 19 นางสาววริศรา แป้นแก้ว เลขที่ 28
นางสาวศศิภา ชายา เลขที่ 31 นายพณฉัตร เจริญผล เลขที่ 41

More Related Content

What's hot

รูปเล่มคอม
รูปเล่มคอมรูปเล่มคอม
รูปเล่มคอมN O Net Pitchanon
 
เรื่อง ขจัดรอยเปื้อนหมึกบนเสื้อ
เรื่อง ขจัดรอยเปื้อนหมึกบนเสื้อเรื่อง ขจัดรอยเปื้อนหมึกบนเสื้อ
เรื่อง ขจัดรอยเปื้อนหมึกบนเสื้อCherry Lay
 
Minibook932Group10
Minibook932Group10Minibook932Group10
Minibook932Group10Don Tanadon
 
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมการตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมAnana Anana
 
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่Benjapron Seesukong
 
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากโครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากThanyamon Chat.
 
ระบบฟิวดัล
ระบบฟิวดัลระบบฟิวดัล
ระบบฟิวดัลchanapa Ubonsaen
 
คำนำไอเอสใหม่
คำนำไอเอสใหม่คำนำไอเอสใหม่
คำนำไอเอสใหม่Thunrada Sukkaseam
 
วิทยาศาสตร์ วงจรไฟฟ้า
วิทยาศาสตร์ วงจรไฟฟ้าวิทยาศาสตร์ วงจรไฟฟ้า
วิทยาศาสตร์ วงจรไฟฟ้าChanida Manonom
 
โครงงานลายผ้าไหมไทย
โครงงานลายผ้าไหมไทยโครงงานลายผ้าไหมไทย
โครงงานลายผ้าไหมไทยPapatchaya Jakchaisin
 
รายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุด
รายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุดรายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุด
รายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุดSircom Smarnbua
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนพัน พัน
 
โครงงานวาฟเฟิลสมุนไพร
โครงงานวาฟเฟิลสมุนไพรโครงงานวาฟเฟิลสมุนไพร
โครงงานวาฟเฟิลสมุนไพรnokyoong47
 
โครงงานสำรวจ
โครงงานสำรวจโครงงานสำรวจ
โครงงานสำรวจkessara61977
 
การศึกษาโครงสร้างดอกกุหลาบ เข็ม เฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 8 ม.5 ห้อง 931
การศึกษาโครงสร้างดอกกุหลาบ เข็ม เฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 8 ม.5 ห้อง 931การศึกษาโครงสร้างดอกกุหลาบ เข็ม เฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 8 ม.5 ห้อง 931
การศึกษาโครงสร้างดอกกุหลาบ เข็ม เฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 8 ม.5 ห้อง 931KantnateeHarnkijroon
 

What's hot (20)

รูปเล่มคอม
รูปเล่มคอมรูปเล่มคอม
รูปเล่มคอม
 
เรื่อง ขจัดรอยเปื้อนหมึกบนเสื้อ
เรื่อง ขจัดรอยเปื้อนหมึกบนเสื้อเรื่อง ขจัดรอยเปื้อนหมึกบนเสื้อ
เรื่อง ขจัดรอยเปื้อนหมึกบนเสื้อ
 
Minibook932Group10
Minibook932Group10Minibook932Group10
Minibook932Group10
 
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมการตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม
 
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
 
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากโครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
 
ระบบฟิวดัล
ระบบฟิวดัลระบบฟิวดัล
ระบบฟิวดัล
 
คำนำไอเอสใหม่
คำนำไอเอสใหม่คำนำไอเอสใหม่
คำนำไอเอสใหม่
 
วิทยาศาสตร์ วงจรไฟฟ้า
วิทยาศาสตร์ วงจรไฟฟ้าวิทยาศาสตร์ วงจรไฟฟ้า
วิทยาศาสตร์ วงจรไฟฟ้า
 
โครงงานลายผ้าไหมไทย
โครงงานลายผ้าไหมไทยโครงงานลายผ้าไหมไทย
โครงงานลายผ้าไหมไทย
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
ราก (Root)
ราก (Root)ราก (Root)
ราก (Root)
 
โครงสร้างหน่วยการเรียนรู้ที่ 2
โครงสร้างหน่วยการเรียนรู้ที่  2โครงสร้างหน่วยการเรียนรู้ที่  2
โครงสร้างหน่วยการเรียนรู้ที่ 2
 
รายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุด
รายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุดรายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุด
รายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุด
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
 
Minibookbio 5 932
Minibookbio 5 932Minibookbio 5 932
Minibookbio 5 932
 
เฉลยสอวนBio60
เฉลยสอวนBio60เฉลยสอวนBio60
เฉลยสอวนBio60
 
โครงงานวาฟเฟิลสมุนไพร
โครงงานวาฟเฟิลสมุนไพรโครงงานวาฟเฟิลสมุนไพร
โครงงานวาฟเฟิลสมุนไพร
 
โครงงานสำรวจ
โครงงานสำรวจโครงงานสำรวจ
โครงงานสำรวจ
 
การศึกษาโครงสร้างดอกกุหลาบ เข็ม เฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 8 ม.5 ห้อง 931
การศึกษาโครงสร้างดอกกุหลาบ เข็ม เฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 8 ม.5 ห้อง 931การศึกษาโครงสร้างดอกกุหลาบ เข็ม เฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 8 ม.5 ห้อง 931
การศึกษาโครงสร้างดอกกุหลาบ เข็ม เฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 8 ม.5 ห้อง 931
 

Similar to การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931

ดอกลีลาวดี ดอกอัญชัน และดอกประทัดจีน กลุ่มที่3 ม.5 ห้อง652
ดอกลีลาวดี ดอกอัญชัน และดอกประทัดจีน กลุ่มที่3 ม.5 ห้อง652ดอกลีลาวดี ดอกอัญชัน และดอกประทัดจีน กลุ่มที่3 ม.5 ห้อง652
ดอกลีลาวดี ดอกอัญชัน และดอกประทัดจีน กลุ่มที่3 ม.5 ห้อง652ssuser9ded021
 
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกได้...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกได้...หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกได้...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกได้...HatsayaAnantepa
 
A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)
A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)
A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)MetawadeeNongsana
 
การศึกษาโครงสร้างดอกเข็ม มะลิ ชวนชม
การศึกษาโครงสร้างดอกเข็ม มะลิ ชวนชมการศึกษาโครงสร้างดอกเข็ม มะลิ ชวนชม
การศึกษาโครงสร้างดอกเข็ม มะลิ ชวนชมNarubordinPremsri
 
ดอกลีลาวดี ดอกกุหลาบ และดอกชบา กลุ่ม1 ม.5 ห้อง 652
ดอกลีลาวดี ดอกกุหลาบ และดอกชบา กลุ่ม1 ม.5 ห้อง 652ดอกลีลาวดี ดอกกุหลาบ และดอกชบา กลุ่ม1 ม.5 ห้อง 652
ดอกลีลาวดี ดอกกุหลาบ และดอกชบา กลุ่ม1 ม.5 ห้อง 652HatsayaAnantepa
 
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...JittapatS
 
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...JittapatS
 
การศึกษาโครงสร้างดอกลิลลี่ ดอกประทัดจีน และดอกปีบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม....
การศึกษาโครงสร้างดอกลิลลี่ ดอกประทัดจีน และดอกปีบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม....การศึกษาโครงสร้างดอกลิลลี่ ดอกประทัดจีน และดอกปีบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม....
การศึกษาโครงสร้างดอกลิลลี่ ดอกประทัดจีน และดอกปีบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม....PimlapusBoonsuphap
 
การศึกษาโครงสร้างดอกอัญชัน บานเย็น เทียนหยด ม.5 ห้อง 656 กลุ่มที่ 8 โรงเรียนเ...
การศึกษาโครงสร้างดอกอัญชัน บานเย็น เทียนหยด ม.5 ห้อง 656 กลุ่มที่ 8 โรงเรียนเ...การศึกษาโครงสร้างดอกอัญชัน บานเย็น เทียนหยด ม.5 ห้อง 656 กลุ่มที่ 8 โรงเรียนเ...
การศึกษาโครงสร้างดอกอัญชัน บานเย็น เทียนหยด ม.5 ห้อง 656 กลุ่มที่ 8 โรงเรียนเ...dijchanokbunyaratave
 
การศึกษาโครงสร้างดอกอัญชัน บานเย็น เทียนหยด ม.5 ห้อง 656 กลุ่มที่ 8 โรงเรียนเ...
การศึกษาโครงสร้างดอกอัญชัน บานเย็น เทียนหยด ม.5 ห้อง 656 กลุ่มที่ 8 โรงเรียนเ...การศึกษาโครงสร้างดอกอัญชัน บานเย็น เทียนหยด ม.5 ห้อง 656 กลุ่มที่ 8 โรงเรียนเ...
การศึกษาโครงสร้างดอกอัญชัน บานเย็น เทียนหยด ม.5 ห้อง 656 กลุ่มที่ 8 โรงเรียนเ...dijchanokbunyaratave
 
การศึกษาโครงสร้างของดอกบัวหลวง กล้วยไม้ และกุหลาบพวง กลุ่มที่5 ห้อง652
การศึกษาโครงสร้างของดอกบัวหลวง กล้วยไม้ และกุหลาบพวง กลุ่มที่5 ห้อง652การศึกษาโครงสร้างของดอกบัวหลวง กล้วยไม้ และกุหลาบพวง กลุ่มที่5 ห้อง652
การศึกษาโครงสร้างของดอกบัวหลวง กล้วยไม้ และกุหลาบพวง กลุ่มที่5 ห้อง652manidabhonsawanwong
 
Flower structure by M5/834 Group3
Flower structure by M5/834 Group3Flower structure by M5/834 Group3
Flower structure by M5/834 Group3JiradaAke
 
Minibook โครงสร้างพืชดอก กลุ่ม10 ห้อง652
Minibook โครงสร้างพืชดอก กลุ่ม10 ห้อง652Minibook โครงสร้างพืชดอก กลุ่ม10 ห้อง652
Minibook โครงสร้างพืชดอก กลุ่ม10 ห้อง652PattriyaTowanasutr
 
Minibook Bio
Minibook BioMinibook Bio
Minibook BioTitiratHu
 

Similar to การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931 (20)

Minibook group 8 m.5/834
Minibook group 8 m.5/834Minibook group 8 m.5/834
Minibook group 8 m.5/834
 
ดอกลีลาวดี ดอกอัญชัน และดอกประทัดจีน กลุ่มที่3 ม.5 ห้อง652
ดอกลีลาวดี ดอกอัญชัน และดอกประทัดจีน กลุ่มที่3 ม.5 ห้อง652ดอกลีลาวดี ดอกอัญชัน และดอกประทัดจีน กลุ่มที่3 ม.5 ห้อง652
ดอกลีลาวดี ดอกอัญชัน และดอกประทัดจีน กลุ่มที่3 ม.5 ห้อง652
 
Minibook 931 2
Minibook 931 2Minibook 931 2
Minibook 931 2
 
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกได้...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกได้...หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกได้...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกได้...
 
Bio 656 group4
Bio 656 group4Bio 656 group4
Bio 656 group4
 
A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)
A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)
A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)
 
การศึกษาโครงสร้างดอกเข็ม มะลิ ชวนชม
การศึกษาโครงสร้างดอกเข็ม มะลิ ชวนชมการศึกษาโครงสร้างดอกเข็ม มะลิ ชวนชม
การศึกษาโครงสร้างดอกเข็ม มะลิ ชวนชม
 
ดอกลีลาวดี ดอกกุหลาบ และดอกชบา กลุ่ม1 ม.5 ห้อง 652
ดอกลีลาวดี ดอกกุหลาบ และดอกชบา กลุ่ม1 ม.5 ห้อง 652ดอกลีลาวดี ดอกกุหลาบ และดอกชบา กลุ่ม1 ม.5 ห้อง 652
ดอกลีลาวดี ดอกกุหลาบ และดอกชบา กลุ่ม1 ม.5 ห้อง 652
 
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
 
Minibook 2.931
Minibook 2.931Minibook 2.931
Minibook 2.931
 
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
 
การศึกษาโครงสร้างดอกลิลลี่ ดอกประทัดจีน และดอกปีบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม....
การศึกษาโครงสร้างดอกลิลลี่ ดอกประทัดจีน และดอกปีบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม....การศึกษาโครงสร้างดอกลิลลี่ ดอกประทัดจีน และดอกปีบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม....
การศึกษาโครงสร้างดอกลิลลี่ ดอกประทัดจีน และดอกปีบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม....
 
การศึกษาโครงสร้างดอกอัญชัน บานเย็น เทียนหยด ม.5 ห้อง 656 กลุ่มที่ 8 โรงเรียนเ...
การศึกษาโครงสร้างดอกอัญชัน บานเย็น เทียนหยด ม.5 ห้อง 656 กลุ่มที่ 8 โรงเรียนเ...การศึกษาโครงสร้างดอกอัญชัน บานเย็น เทียนหยด ม.5 ห้อง 656 กลุ่มที่ 8 โรงเรียนเ...
การศึกษาโครงสร้างดอกอัญชัน บานเย็น เทียนหยด ม.5 ห้อง 656 กลุ่มที่ 8 โรงเรียนเ...
 
การศึกษาโครงสร้างดอกอัญชัน บานเย็น เทียนหยด ม.5 ห้อง 656 กลุ่มที่ 8 โรงเรียนเ...
การศึกษาโครงสร้างดอกอัญชัน บานเย็น เทียนหยด ม.5 ห้อง 656 กลุ่มที่ 8 โรงเรียนเ...การศึกษาโครงสร้างดอกอัญชัน บานเย็น เทียนหยด ม.5 ห้อง 656 กลุ่มที่ 8 โรงเรียนเ...
การศึกษาโครงสร้างดอกอัญชัน บานเย็น เทียนหยด ม.5 ห้อง 656 กลุ่มที่ 8 โรงเรียนเ...
 
การศึกษาโครงสร้างของดอกบัวหลวง กล้วยไม้ และกุหลาบพวง กลุ่มที่5 ห้อง652
การศึกษาโครงสร้างของดอกบัวหลวง กล้วยไม้ และกุหลาบพวง กลุ่มที่5 ห้อง652การศึกษาโครงสร้างของดอกบัวหลวง กล้วยไม้ และกุหลาบพวง กลุ่มที่5 ห้อง652
การศึกษาโครงสร้างของดอกบัวหลวง กล้วยไม้ และกุหลาบพวง กลุ่มที่5 ห้อง652
 
Flower structure by M5/834 Group3
Flower structure by M5/834 Group3Flower structure by M5/834 Group3
Flower structure by M5/834 Group3
 
Minibook โครงสร้างพืชดอก กลุ่ม10 ห้อง652
Minibook โครงสร้างพืชดอก กลุ่ม10 ห้อง652Minibook โครงสร้างพืชดอก กลุ่ม10 ห้อง652
Minibook โครงสร้างพืชดอก กลุ่ม10 ห้อง652
 
Minibook Bio
Minibook BioMinibook Bio
Minibook Bio
 
Minibook bio 834 group 5
Minibook bio 834 group 5Minibook bio 834 group 5
Minibook bio 834 group 5
 
932 tu80 group 4
932 tu80 group 4932 tu80 group 4
932 tu80 group 4
 

การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931

  • 1. หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ ของพืชดอกตัวอย่าง จานวน 3 ชนิด ได้แก่ พุดพิชญา กุหลาบ เฟื่องฟ้า นาเสนอครูผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ตาแหน่ง ครู คศ.1 สาขาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณะผู้จัดทา กลุ่มที่ 10 1. นางสาวปารมี อุ่นพิกุล เลขที่ 19 2. นางสาววริศรา แป้นแก้ว เลขที่ 28 3. นางสาวศศิภา ชายา เลขที่ 31 4. นายพณฉัตร เจริญผล เลขที่ 41 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ห้อง 931 แผนการเรียน วิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์-คุณภาพชีวิต ชิ้นงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาชีววิทยา 4 (ว 30244) ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561 คานา หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา ชีววิทยา4 (ว 30244) มีจุดประสงค์เพื่อการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้าง อวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกตัวอย่าง 3 ชนิด ได้แก่ พุดพิชญา กุหลาบ เฟื่องฟ้า ทั้งนี้มีเนื้อหาซึ่งประกอบด้วยลักษณะทั่วไปทางพฤกษศาสตร์ องค์ประกอบสาคัญของดอก และตัวอย่างแห้งแสดงองค์ประกอบ โครงสร้างสาคัญของดอกแต่ละชนิด เพื่อให้ผู้อ่านได้เข้าใจมากยิ่งขึ้น หวัง ว่าหนังสือเล่มเล็กเล่มนี้จะให้ความรู้และเป็นประโยชน์แก่ผู้อ่านทุกๆท่าน หากมีข้อเสนอแนะประการใด ผู้จัดทาขอรับไว้ด้วยความขอบพระคุณยิ่ง คณะผู้จัดทา วันที่ 19 พฤศจิกายน 2561
  • 2. สารบัญ เรื่อง หน้า 1. การศึกษาโครงสร้างดอกชนิดที่ 1 คือ พุดพิชญา 3 1.1 ลักษณะทั่วไปทางพฤกษศาสตร์ 3 1.2 องค์ประกอบโครงสร้างสาคัญของดอก 4 1.3 ตัวอย่างแห้งแสดงองค์ประกอบโครงสร้าง 5 สาคัญของดอก 2. การศึกษาโครงสร้างดอกชนิดที่ 2 คือ กุหลาบ 6 2.1 ลักษณะทั่วไปทางพฤกษศาสตร์ 6 2.2 องค์ประกอบโครงสร้างสาคัญของดอก 8 2.3 ตัวอย่างแห้งแสดงองค์ประกอบโครงสร้าง 8 สาคัญของดอก 3. การศึกษาโครงสร้างดอกชนิดที่ 3 คือ เฟื่องฟ้า 9 3.1 ลักษณะทั่วไปทางพฤกษศาสตร์ 9 3.2 องค์ประกอบโครงสร้างสาคัญของดอก 10 3.3 ตัวอย่างแห้งแสดงองค์ประกอบโครงสร้าง 11 สาคัญของดอก 4. Clip VDO ประกอบการศึกษา 12 5. ภาคผนวก 13 การจัดกลุ่มโครงสร้างของดอก ดอกที่ทาการจัดจาแนก คือ พุดพิชญา กุหลาบ เฟื่องฟ้า 1.จานวนดอกที่ติดบนก้านดอก (ดอกเดี่ยว/ดอกช่อ) ดอกเดี่ยว ได้แก่ กุหลาบ ดอกช่อ ได้แก่ พุดพิชญา เฟื่องฟ้า 2.ส่วนประกอบต่างๆบนฐานรองดอก (ดอกครบส่วน/ดอกไม่ครบส่วน) ดอกครบส่วน ได้แก่ พุดพิชญา กุหลาบ ดอกไม่ครบส่วน ได้แก่ เฟื่องฟ้า 3.เพศ (ดอกสมบูรณ์เพศ/ดอกไม่สมบูรณ์เพศ) ดอกสมบูรณ์เพศ ได้แก่ พุดพิชญา กุหลาบ เฟื่องฟ้า 4.รูปแบบของรังไข่ (Inferior ovary/Superior ovary) Superior ovary ได้แก่ พุดพิชญา กุหลาบ เฟื่องฟ้า 5.ความสมมาตรของดอก (สมมาตรแนวด้านข้าง/สมมาตรแนวรัศมี) สมมาตรแนวด้านข้าง ได้แก่ เฟื่องฟ้า สมมาตรแนวรัศมี ได้แก่ พุดพิชญา กุหลาบ
  • 3. การศึกษาโครงสร้างดอกชนิดที่ 1 คือ พุดพิชญา 1.1 ลักษณะทั่วไปทางพฤกษศาสตร์ ชื่อวิทยาศาสตร์ Wrightia antidysenterica R.Br. ชื่อสามัญ Arctic snow, Sweet Indrajao ตระกูล APOCYNACEAE ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : พุดพิชญาเป็นพรรณไม้ยืนต้นขนาด เล็ก ลักษณะเป็นพุ่มเตี้ย ลาต้นสูง 1-3 เมตร ลาต้น มีผิวสีขาวเทา แตกกิ่งก้านออกใบรอบต้น ใบ เป็นใบเดี่ยว แตกออกเป็นคู่ตรงกันข้าม ตามข้อของกิ่ง ลักษณะของใบเป็นรูปมนรี ปลายใบแหลม ผิวใบเรียบสีเขียว ขนาดใบกว้าง 3-5 ซม. ยาว 8-12 ซม. ดอก เป็นดอกเดี่ยว ออกตามปลาย ยอดหรือปลายกิ่ง ช่อหนึ่งมี5-6 ดอก แล้วแต่ชนิดพันธุ์ ดอกมีกลิ่นหอมสี ขาว กลีบดอกซ้อนเป็นชั้น ๆ หรือ เรียงเป็นชั้นเดียวแล้วแต่ชนิดพันธุ์ ดอกบานมีความโต 2-5 ซม. ผล เป็นฝักรูปกระบอกแหลมโค้งภายใน มีเมล็ด 3-5 เมล็ด
  • 4. 1.2 องค์ประกอบโครงสร้างสาคัญของดอก 1.3 ตัวอย่างแห้งแสดงองค์ประกอบโครงสร้าง สาคัญของดอก
  • 5. การศึกษาโครงสร้างดอกชนิดที่ 2 คือ กุหลาบ 2.1 ลักษณะทั่วไปทางพฤกษศาสตร์ ชื่อวิทยาศาสตร์ Rosa hybrida ชื่อสามัญ Rose วงศ์ ROSACEAE ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ต้น ไม้พุ่มขนาดเล็ก แต่บางชนิดมีขนาดใหญ่หรือเป็นไม้ เลื้อย เป็นไม้ผลัดใบ ลาต้นและกิ่งมีหนาม เปลือกสีเขียว ใบ เป็นใบประกอบแบบขนนก มีใบย่อย 5-9 ใบ ออก สลับกัน ใบรูปไข่ ปลายใบแหลม โคนใบมน ขอบใบจักฟันเลื่อย แผ่นใบสีเขียวเข้มเป็นมันและมีรอยย่นเล็กน้อย ดอก เป็นดอกเดี่ยว หรือ ดอกช่อ กลีบดอกแบ่งเป็น 3 ชนิด คือ กลีบ ดอกชั้นเดียว จะ มี 5 กลีบ ส่วนกลีบดอกกึ่ง กลีบ กลีบดอกซ้อนมีตั้งแต่ 20 กลีบขึ้นไป กลีบเลี้ยงมีสีเขียวหรือ สีเขียวอมแดงเรื่อ เกสรเพศผู้มีจานวนมาก ล้อมรอบเกสรเพศเมีย อับเรณูสีเหลืองล้อมรอบเกสรเพศเมียซึ่งรวมเป็นกระจุกอยู่กลาง ดอก และจะอยู่ใน ระดับต่ากว่าเกสรเพศผู้ ฝัก/ผล เป็นผลกลุ่ม ผลแก่แห้ง เมื่อเริ่มติดผลส่วนที่เป็นรังไข่ จะขยายพองโตขึ้นโดยมีฐานรองดอกหุ้มไว้ภายในประกอบด้วย ผลย่อยจานวนสองถึงหลายสิบผล ผลมีรูปร่างต่างๆ กัน ตามชนิด เช่น กลม กลมแป้น ยาวรี มีเนื้อนุ่ม และมีหลายสี เช่น สีส้ม สีแดง สีเหลือง หรือสีน้าตาล เมล็ด เมล็ดล่อน (achene) ค่อนข้าง กลม รูปไข่ เมล็ดอ่อนสีขาวอมเขียว ที่ ปลายมีสีแดง เมล็ดแก่สีน้าตาล จานวน 2-18 เมล็ด
  • 6. 2.2 องค์ประกอบโครงสร้างสาคัญของดอก 2.3 ตัวอย่างแห้งแสดงองค์ประกอบโครงสร้าง สาคัญของดอก การศึกษาโครงสร้างดอกชนิดที่ 3 คือ เฟื่องฟ้า 3.1 ลักษณะทั่วไปทางพฤกษศาสตร์ ชื่อวิทยาศาสตร์ Bougainvillea hybrid ชื่อสามัญ Bougainvillea, Paper Flower วงศ์ NYCTAGINACEAE ชื่ออื่น ดอกโคม (ภาคเหนือ), ดอกต่างใบ (กรุงเทพฯ), ลักษณะทางพฤกษศาสตร์:ไม้พุ่มรอเลื้อย เนื้อแข็ง ผิวสีเทาหรือ น้าตาล ลาต้นและกิ่งมีหนามแหลมคม ใบ ใบเรียงสลับ ใบเดี่ยว รูปไข่ หรือรูปรี กว้าง 3-5 ซม. ยาว 4-8 ซม. โคนใบมน ปลายใบแหลม ขอบใบเรียบ ผิวใบเรียบมีทั้งสีเขียว และสีด่าง ดอก ดอกช่อ มีใบประดับสี ต่างๆ จานวน 3 กลีบ ส่วนของดอก เป็นหลอด มีขนาดเล็กสีขาว มีก้าน ดอกเล็กๆ และติดอยู่กลางแผ่นของ ใบประดับ หลอดดอกสีเขียว
  • 7. ที่ปลายหลอดดอกคล้ายกลีบมีชั้นเดียว สีชมพู เหลืองหรือขาว เกสรเพศผู้10 อัน มีขนาดไม่เท่ากัน และอยู่ในหลอดดอก ผล ผลขนาดเล็ก มี 5 สัน มีเปลือกแข็งและมีเมล็ดติดกับ เปลือก 3.2 องค์ประกอบโครงสร้างสาคัญของดอก 3.3 ตัวอย่างแห้งแสดงองค์ประกอบโครงสร้าง สาคัญของดอก
  • 8. Clip VDO ประกอบการศึกษา link youtube : https://www.youtube.com/watch?v=4 ewWo7vv9FQ&feature=youtu.be บรรณานุกรม พุดพิชญา. (2558). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จากhttp://book.baanlaesuan.com/ plant-library/indrajao_winter. (วันที่สืบค้นข้อมูล 12 พฤศจิกายน 2560). กุหลาบ. (2559). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก http://natres.psu.ac.th/ Department/PlantScience/510-111web/510-482web/510-482web-1-10- 46/Rose.htm. (วันที่สืบค้นข้อมูล 15 พฤศจิกายน 2560). เฟื่องฟ้า. (2558). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก https://il.mahidol.ac.th/e- media/plants/webcontent3/interactive_key/key/describ/phaengfa.htm (วันที่สืบค้นข้อมูล 15 พฤศจิกายน 2560).
  • 10. ภาคผนวก ภาคผนวก ครูผู้สอน : นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ตาแหน่ง ครู ค.ศ.1 สาขาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา นางสาวปารมี อุ่นพิกุล เลขที่ 19 นางสาววริศรา แป้นแก้ว เลขที่ 28 นางสาวศศิภา ชายา เลขที่ 31 นายพณฉัตร เจริญผล เลขที่ 41