SlideShare a Scribd company logo
1 of 93
HDC งานแม่และเด็ก
(MCH)
นายสาครินทร ์หาบุศย์
นักวิชาการคอมพิวเตอร ์
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ทาความเข้าใจ 43 แฟ้ มและ
HDC
43แฟ้ ม
HIS สถานบริการ
JHCIS,HOSXP,Other
HIS สถานบริการ
บันทึกและส่งออก
ตามเงื่อนไข
ของ HIS
- รับข้อมูล 43 แฟ้ มจาก
หน่วยบริการ
มาประมวลผล ออกเป็ น
รายงานต่างๆ
- การประมวลผล
ประมวลผลทุกวัน
ตามข้อมูลที่มีส่งมา
- ประมวลผลเสร็จส่งไปเป็ น
ภาพรวม
ในระดับกระทรวงที่ HDC
Service
เพื่อการ Monitor
เปรียบเทียบผลงาน
ระหว่างเขต ระหว่าง
HDC เป็ นเพียง
เครื่องมือสะท้อน
คุณภาพการบันทึก
ข้อมูลของหน่วย
บริการ และช่วยในการ
ควบคุมกากับเท่านั้น
ผลงานต่างๆ
ย่อมเกิดคุณภาพ
ข้อมูล 43 แฟ้ ม
ปัจจุบันท่านยังมอง
เป้ าหมายผลงานจาก
HIS หน่วยงานหรือ
ท่านมองเป้ าหมาย
ผลงานจาก 43 แฟ้ มที่
ท่านส่งเข้าสู่ HDC
แผนผังการทางานของ Health Data Center
(HDC) แบบเต็มระบบ
BiG DaTa
43
Files
++
เพื่อ
o
o
INTRODUCT
ION
เนื่องจาก
o HIS แตกต่างกัน
5
ผล
o เกิดการใช้ประโยชน์
ของข้อมูล
QR Code
http://hdcservice.moph.go.th
HDC PROVINCE กับตัวอย่างการ
เรียกใช้งาน
http://203.157.102.1xx โดย
xx หมายถึงรหัสจังหวัด 2 ตัวท้าย
เช่น จังหวัดชัยนาท =18 ฉะนั้นการ
เรียกใช้งานให้ใช้
http://203.157.102.118
HEALTH DATA
CENTER(HDC)
http://bps.moph.go.th/new_bps/healthdata
 เลขบัตรประชาชน(CID)ทุกแฟ้ มข้อมูลบริการที่เกี่ยวกับบุคคล
เพื่อสะดวกในการเชื่อมโยงประวัติบุคคลเมื่อใช้ในฐานข้อมูล ระดับ
จังหวัด เขต และประเทศ
 ย้ า ย เ บ อ ร ์โ ท ร ศั พ ท์ แ ล ะ เ บ อ ร ์โ ท ร ศั พ ท์ มื อ ถื อ
(TELEPHONE,MOBILE) จากแฟ้ ม ADDRESS มาไว้แฟ้ ม
PERSON เพื่อรองรับการติดต่อบุคคล/Register/OTP ยืนยันตัว
บุคคล เดิม ADDRESS เก็บได้เฉพาะคนนอกเขต
 ปรับนิยามข้อมูลแฟ้ ม NCDSCREEN ให้ชัดเจนมากขึ้น
สอดคล้องกับแนวทางปฏิบัติงาน
 เพิ่มรายละเอียดและขยายขนาดข้อมูล PROVIDERTYPE ของ
แฟ้ ม PROVIDER เป็ น 3 หลักและเพิ่มรายละเอียด เช่น บุคลากร
แพทย์แผนไทย,แผนจีน
 เพิ่ม รหัสสถานบริการรอง (HSUB) ในแฟ้ ม SERVICE เพื่อ
สามารถวิเคราะห์การให้บริการข้ามเครือข่ายได้สะดวกยิ่งขึ้น
มีอะไรใหม่? ในโครงสร้างมาตรฐานข้อมูล
สุขภาพ (43แฟ้ ม) Version 2.3
 อฺธิบาย DRUGPRICE,DRUGCOST ในแฟ้ ม
DRUG_OPD,DRUG_IPD ให้ชัดเจนขึ้น เรื่องยังไม่ได้คูณจานวน
ที่จ่าย เนื่องจากมีความเข้าใจผิดในหลาย vender
 ปรับนิยามแฟ้ ม LABFU ให้สามารถบันทึกแบบความครอบคลุมได้
และเพิ่มสถานที่ตรวจ(LABPLACE) เพื่อความครอบคุลมในการ
บันทึก LAB ที่ตรวจเอกชน/สถานบริการอื่นๆ
 ปรับนิยามแฟ้ ม CHRONICFU ให้สามารถบันทึกแบบความ
ครอบคลุมได้ และเพิ่มสถานที่ตรวจ(CHRONICPLACE)
 ปรับนิยามแฟ้ ม EPI ให้สามารถบันทึกการให้บริการวัคซีนกลุ่ม
อื่นๆเพิ่มเติมได้ เช่น dT ผู้ใหญ่
มีอะไรใหม่? ในโครงสร้างมาตรฐานข้อมูล
สุขภาพ (43แฟ้ ม) Version 2.3
 ปรับนิยามแฟ้ ม NUTRITION ให้สามารถบันทึกการให้บริการกลุ่ม
อื่นๆ เพิ่มได้ นอกเหนือจากเด็ก 0-5 ปี และเด็กนักเรียน
 ปรับแฟ้ ม DATA_CORRECT ให้การส่งข้อมูลใน JSON เป็ น
Primary key ของ table ข้อมูลที่จะส่งมาลบ/ลบเพื่อการแก้ไข
ข้อมูล
 เพิ่มรหัส SPECIALPP คัดกรองโรคมะเร็งลาไส้ , คัดกรอง
แอลกอฮอล์ การให้คาป รึกษาสาหรับงานโรคติดต่อทาง
เพศสัมพันธ ์
 ปรับชื่อหน่วยงานจากสานักนโยบายและยุทธศาสตร ์ เป็ น กอง
ยุทธศาสตร ์และแผนงาน
มีอะไรใหม่? ในโครงสร้างมาตรฐานข้อมูล
สุขภาพ (43แฟ้ ม) Version 2.3
 ระบบ ONE PAGE ตามระดับของหน่วยงาน เช่น ระดับ
จังหวัด,อาเภอ,สสอ.และระดับหน่วยงาน ในทุกเมนูกลุ่ม
รายงาน ทาให้สะดวกในการควบคุมกากับงาน/เฝ้ าระวัง
ตัวชี้วัด โดยไม่ต้อง Drill Down เมนูหลายคลิก ซึ่ง
ขึ้นอยู่กับ user login ว่าสังกัดหน่วยงานระดับใดและสิทธิ
การใช้งาน
 ระบบ ONE PAGE นี้แสดง จานวนเป้ าหมาย ผลงาน
และอัตราส่วน ซึ่งแสดงผลแบบ เขียว แดง คือ เขียว=>
ผ่านการประเมิน แดง=> ไม่ผ่านการประเมิน ตาม
แนวทางนพ.สสจ.
HDC 4.0 ช่วยควบคุมกากับงาน
 เมื่อไม่ login จะแสดงข้อมูลในระดับจังหวัด ดังภาพ
ภาพตัวอย่างเมื่อไม่มีการ LOGIN
เข้าใช้งาน
 เมื่อ login ระดับจังหวัด(สสจ.) โดยมีสิทธิ PM สสจ.จะ
แสดงข้อมูลในระดับจังหวัด
ภาพตัวอย่างเมื่อ LOGIN เป็ น
ระดับสสจ.
 เมื่อ login ระดับสสอ. จะแสดงข้อมูลในระดับ PCU ที่มี
ที่ตั้งของหน่วยงานในอาเภอเดียวกันกับ สสอ.นั้นๆ ไม่
รวมโรงพยาบาล ดังภาพ
ภาพตัวอย่างเมื่อ LOGIN เป็ น
ระดับสสอ.
 เมื่อ login ระดับสิทธิ PM อาเภอ จะแสดงข้อมูลทั้ง
อาเภอ(CUP) รวมโรงพยาบาลด้วย
ภาพตัวอย่างเมื่อ LOGIN เป็ น
ระดับอาเภอ
 เมื่อ login ระดับสิทธิเป็ นผู้ใช้งานระดับหน่วยงาน
ภาพตัวอย่างเมื่อ LOGIN เป็ น
ระดับหน่วยงาน
 เมื่อ login ระดับสิทธิเป็ นผู้ใช้งานระดับหน่วยงาน
ภาพตัวอย่างเมื่อ LOGIN เป็ น
ระดับหน่วยงาน
 ระบบ Data-Exchange แบบใหม่ซึ่งอานวยความสะดวก
ให้ผู้ใช้งานในการ Views ข้อมูลผ่านหน้าเว็บได้โดยไม่
ต้อง export ไฟล์ และยังเอื้อประโยชน์ในการควบคุม
กากับข้อมูลแบบรายบุคคล แก่ผู้ใช้งานในแต่ละระดับ
เช่นกัน คือ
ผู้ใช้งาน PM จังหวัด สามารถ Views
individual ได้ทั้งจังหวัด
ผู้ใช้งาน PM อาเภอ สามารถ Views
individual ได้ทั้งอาเภอ รวมโรงพยาบาล
ผู้ใช้งานระดับสสอ. สามารถ Views
individual ได้ทุก PCU ที่มีที่ตั้งอยู่ในอาเภอ
เดียวกัน ไม่รวมโรงพยาบาล
ผู้ใช้งานระดับหน่วยงาน สามารถ Views
การคืนข้อมูลผ่านทุกเมนู
รายงาน
 ระบบ Data-Exchange แบบใหม่ซึ่งอานวยความสะดวก
ให้ผู้ใช้งานในเมนูรายงาน
การคืนข้อมูลผ่านทุกเมนู
รายงาน
 ระบบ Data-Exchange แบบใหม่ซึ่งอานวยความสะดวก
ให้ผู้ใช้งานในเมนูรายงาน
ภาพตัวอย่างการ VIEWS INDIV
PMจังหวัด
รู้วิธีประเมิน
WHAT?
รู้เป้าหมาย
WHO?
วิธีคิด 43 แฟ้ ม HDC
ลงมือทา
WHEN?
รู้วิธีแก้ไข
WHERE?
Data Exchange
รู้วิธีแก้ข้อมูลใน HIS
ความร่วมมือ
ของหน่วยงาน
แนวคิดความสาเร็จการจัดการ
ข้อมูล HDC
ประเภทของรายงาน
•แบบบริการ/กิจกรรม
บริการ
(work load, service base,
hospital base)
•แบบความครอบคลุม
(coverage, community base,
pop base)
แบบบริการ/กิจกรรม (work load, service base, hospital
base) คือ รายงานที่ประเมินจากการที่ ผู้ป่ วยหรือผู้รับบริการ
ได้รับบริการจากหน่วยงานที่เป็ นผู้เก็บรวบรวมรายงานเท่านั้น
(ที่หน่วยนั้นทาเอง)
แบบความครอบคลุม (coverage, community base, pop
base ) คือ รายงานที่ระบุว่า เป็ นความครอบคลุมของเป้ าหมาย
ไม่ว่าเป้ าหมายจะได้รับบริการจากหน่วยงานใดๆ ซึ่งจะต้อง
พิจารณาเป้ าหมายคือใคร เช่น ความครอบคลุมการได้รับ
วัคซีน ของ เด็กอายุครบ 1 ปี ในเขตรับผิดชอบ ดังนั้น จะต้อง
ประเมินจากเด็กครบ 1 ปี ในเขตรับผิดชอบ ณ ช่วงเวลาที่
ต้องการ ว่ามีเด็กกี่คนและได้รับวัคซีนครบทุกคนหรือไม่ โดย
ไม่สนใจว่าจะได้รับบริการจากหน่วยงานใดก็ตาม ประเมินจาก
ตัวเด็กเป็ นสาคัญ
คาสาคัญของรายงานความครอบคลุม คือ “ของ” อะไร ซึ่งเป็ น
ความต่าง รายงาน แบบความครอบคลุม
กับ แบบบริการ
Single Database หมายถึง กลุ่มของข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กัน นามา
เก็บรวบรวมเข้าไว้ด้วยกันอย่างมีระบบและข้อมูลที่ประกอบกันเป็นฐานข้อมูลนั้น ต้อง
ตรงตามวัตถุประสงค์การใช้งานขององค์กร ซึ่งมิได้เชื่อมโยงกับฐานอื่นๆ เป็น
ฐานข้อมูลขององค์กรใดองค์กรหนึ่งๆ ตัวอย่างเช่น ฐานข้อมูลของโรงพยาบาล ที่ตั้งอยู่
ที่หน่วยบริการ
Datacenter หมายถึง ศูนย์รวมของข้อมูลจานวนมากจากหลายๆแหล่งข้อมูล
เข้ามาไว้ด้วยกัน ตัวอย่างเช่น ฐานข้อมูล Health Data Center ของ
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด ซึ่งรวมฐานข้อมูลจากโรงพยาบาลและหน่วยงานในสังกัด
ความต่างระหว่าง Datacenter กับ Single
Database
ต้องมีระบบจัดการความซ้าซ้อนของข้อมูล
ต้องมีระบบประมวลผลหาความเชื่อโยงของข้อมูล เพื่อลดภาระการบันทึก
ข้อมูล
ต้องมีระบบ Cleansing ข้อมูลไม่ให้เกิดขยะในระบบซึ่งจะส่งผลต่อ
การเนื้อที่การจัดเก็บข้อมูล ซึ่งมีผลต่องบประมาณ
ต้องสามารถให้บริการข้อมูลได้อย่างต่อเนื่อง ถูกต้อง ทันเวลา และน่าเชื่อถือ
หลักการของ Database และ Datacenter
ขนาดใหญ่
การตัดความซ้าซ้อนของข้อมูล
ประชากร
กับรายงานความครอบคลุม ที่ต้องคิด
เป้ าหมายและผลงาน
ทาไมต้องตัดความซ้าซ้อนของประชากร
เนื่องจากรายงานส่วนใหญ่ในระบบ HDC เป็นรายงานแบบความครอบคลุมของ
ประชากรในเขตพื้นที่ ซึ่งหากระบุการเป็นประชากรในเขตพื้นที่ไม่ได้ เมื่อเกิดความ
ซ้าซ้อนจะทาให้ระบบรายงานนับผิดพลาด ตัวอย่างเช่น หญิงตั้งครรภ์หนึ่งคนถูก
register เป็นคนในเขต 3 หน่วยบริการ หากไม่ตัดความซ้าซ้อน หญิง
ตั้งครรภ์รายนี้จะเป็นเป้าหมาย 3 หน่วยบริการเช่นกัน และที่สาคัญเมื่อนามาเป็น
ภาพรวมของรายงานระดับจังหวัด จะทาให้มีหญิงตั้งครรภ์ในจังหวัด 3 คน แทนที่จะ
เป็นเพียงคนๆเดียว เมื่อตัดความซ้าซ้อนแล้ว
การตัดความซ้าซ้อนของข้อมูล
ประชากร
กับรายงานความครอบคลุม ที่ต้องคิด
เป้ าหมายและผลงาน
จากข้อเสนอในที่ประชุมที่โรงแรมเอเชียแอร์พอร์ต จังหวัดปทุมธานี เมื่อปี 2557 ซึ่งมี นักวิชาการ
ด้านข้อมูล เจ้าหน้าที่ไอที แต่ละจังหวัด รวมถึงกรม กอง วิชาการ ระดับกระทรวงเข้าร่วมประชุม มี
ข้อเสนอการใช้ข้อมูลจากแหล่งต่างๆ 3 ฐาน เพื่อลดความซ้าซ้อนของประชากร คือ
ใช้ฐานข้อมูลประชากรทะเบียนราษฎร์ ของกระทรวงมหาดไทย
ใช้ฐานข้อมูลประชากรสิทธิ์ประกันสุขภาพ สปสช.(DBPOP)
ใช้ฐานข้อมูลประชากรจากการสารวจของหน่วยบริการ (PERSON 43 แฟ้ ม)
ซึ่ง มติในที่ประชุม(เสียงส่วนใหญ่) เลือกใช้ PERSON 43 แฟ้ ม แบบมีเงื่อนไข
สาเหตุที่มีมติเลือก ประชากรจากการสารวจ (PERSON 43 แฟ้ ม)
ประชากรทะเบียนราษฎร์ มีการเคลื่อนย้าย แบบไม่ย้ายทะเบียนบ้านออก ทาให้เกิดการทางาน
แล้วไม่ผ่านเกณฑ์ เพราะเป้าหมายไม่อยู่ในพื้นที่
ประชากรสิทธิ์ประกันสุขภาพ ก็เช่นเดียวกัน มีการคงไว้ของสิทธิ แต่ตัวไม่อยู่ทาให้พื้นที่ทางาน
ไม่ได้เช่นกัน
ประชากรจากการสารวจ (PERSON 43 แฟ้ ม) เป็น ประชากรที่หน่วยบริการเป็นผู้รายงาน
เอง และสามารถลงไปไปปฏิบัติงานกับเป้าหมายได้จริง ทาให้เกิดความยุติธรรมต่อหน่วยบริการ
การตัดความซ้าซ้อนของข้อมูล
ประชากร
กับรายงานความครอบคลุม ที่ต้องคิด
เป้ าหมายและผลงาน
การตัดความซ้าซ้อนของข้อมูล
ประชากร
กับรายงานความครอบคลุม ที่ต้องคิด
เป้ าหมายและผลงาน
เงื่อนไขการคัดความซ้าซ้อนของประชากรสารวจ(PERSON 43 แฟ้ ม)
 จากนิยามสถานะบุคคล(TYPEAREA) ของแฟ้ ม PERSON ของ สนย. สามาถระบุได้ว่าประชากร
ในเขตรับผิดชอบของหน่วยบริการ คือ ประชากรที่ TYPEAREA 1และ 3 เท่านั้น
เงื่อนไขการคัดความซ้าซ้อนของประชากรสารวจ(PERSON 43 แฟ้ ม)(ต่อ)
 จากข้อมูลจะพบว่า มีหน่วยบริการที่สารวจประชากรอย่างสม่าเสมอ และ ไม่สารวจเลย หรือ สารวจบางบางส่วน ทา
ให้เกิดข้อมูลจากแฟ้ ม PERSON ซ้าซ้อนได้เช่นกัน ซึ่ง การตัดความซ้าซ้อนให้ถือว่า ข้อมูลที่ปรากฏในระบบ
ฐานข้อมูลล่าสุด เป็นข้อมูลที่น่าเชื่อว่า เป็นการสารวจล่าสุด ดังนั้น การระบุความล่าสุดของข้อมูลประชากร คือ
Fields D_UPDATE ซึ่งจะถูกเปลี่ยนแปลงมีมีการปรับปรุงข้อมูลที่เกี่ยวกับตัวประชากร เช่น ชื่อ
นามสกุล สถานะบุคคล และจะไม่มีเปลี่ยนแปลงหากมารับบริการในครั้งต่อๆไป ที่ไม่ได้ปรับปรุงข้อมูลส่วนบุคคลที่
เกี่ยวข้องกับแฟ้ ม PERSON
ข้อสรุปของเงื่อนไข
PERSON TYPEAREA 1,3+D_UPDATE ล่าสุด อยู่ที่หน่วยบริการใด
ถือว่าเป็นคนในเขตของหน่วยบริการนั้นๆ
การตัดความซ้าซ้อนของข้อมูล
ประชากร
กับรายงานความครอบคลุม ที่ต้องคิด
เป้ าหมายและผลงาน
Person CID 3140600489098 ควรเป็ นของ
หน่วยบริการไหน?
Single Database Hospital Code 10773
Single Database Hospital Code 10774
Data Center HDC
สาเหตุที่ทาให้รายงาน HDC กับหน่วย
บริการไม่เท่ากันปัญหาการนาเข้าไม่ได้เนื่องจากข้อมูลไม่ตรงโครงสร้าง
ข้อมูลที่นาเข้าได้ แต่มีความซ้าซ้อนกับหน่วยบริการอื่น
กฎเกณฑ์ของเงื่อนไขการประมวลผล จากเจ้าของรายงาน
การประมวลผลแบบหน่วยงานเดียว กับ แบบหลายหน่วยบริการ
องค์ประกอบในการประมวลผลต่างกัน
การ Mapping รหัสต่างๆ จาก HIS เช่น Lab ในโปรแกรมของหน่วยบริการ หาก
ไม่ถูกต้องจะทาให้ไม่มีข้อมูล Lab นั้นๆส่งออก รหัสการวินิจฉัย เป็นต้น
การบันทึกเลขบัตรประชาชน ต้องบันทึกให้ถูกต้องตรงความเป็นจริงมากที่สุด ซึ่งเลขบัตร
ประชาชนใช้ในการเชื่อมโยงข้อมูล
ความผิดพลาดของ Code SQL
Login เข้าสู่ระบบ ด้วยรหัสที่หน่วยบริการได้รับ
จาก Admin จังหวัด
xxxxxx
เมนู ตรวจสอบสถานะการนาเข้าข้อมูล ดูได้ทันทีหลัง
upload 43 zip
เมนูที่ใช้ตรวจสอบการนาเข้าข้อมูล
ของหน่วยบริการ
คลิกเข้าไปดูรายละเอียดที่
นาเข้าไม่ได้
จานวนที่ไม่เข้าจานวนที่เข้าแฟ้มที่ส่งZip ที่ส่งเขาสู่ระบบ
ผลการนาเข้า ซึ่งแสดงรายละเอียดไฟล์ จานวนที่นาเข้า
สาเร็จ และไม่สาเร็จ
ตัวอย่าง Error ที่
แจ้ง
แฟ้มที่ Error
Error ฟิวค์อะไร
Error เรคคอร์ดไหน
ตัวอย่างรายละเอียดข้อมูลที่นาเข้าไม่
สาเร็จ
การเชื่อมโยงจากแม่สู่ลูก
การเชื่อมโยงจากแม่สู่ลูก
Time Line การฝากครรภ์และ
การคลอด
ตั้งครรภ์
ฝากครรภ์ตามเกณฑ์คุณภาพ
คลอด
เยี่ยมหลังคลอด
และ
วางแผนครอบครัว
<12wks 16-20wks 24-28wks 30-34wks 36-40wks
42days
ปัญหาในปัจจุบัน
1. หน่วยงานที่บันทึกคนในเขต กับ หน่วยที่รับฝากครรภ์ บันทึกเล
2. การฝากครรภ์ปัจจุบันส่วนใหญ่ฝากคลินิกที่ไม่ได้ส่ง 43 แฟ้ ม ก
ในเขตรับผิดชอบเก็บความครอบคลุมมาบันทึกหรือไม่?
3. หากบันทึกแล้วข้อมูลถูกส่งออกมาใน 43 แฟ้ ม เข้าสู่ระบบ HDC
มาบันทึกเมื่อคลอดแล้ว ย้อนประวัติไปตั้งแต่ฝากครรภ์ครั้งแรก
ข้อมูลในระบบ 43 แฟ้ ม และ HDC ก็จะไม่มีด้วย
4. ส่วนใหญ่ผู้ปฏิบัติงานจะมองแต่ผลงานใน HIS ตัวเองไม่มองเป้ าห
กลุ่มรายงานมาตรฐาน “อนามัยแม่และ
เด็ก”
แฟ้ มหลักของอนามัยมารดา
ขณะตั้งครรภ์
แฟ้ ม ANC เก็บประวัติทุกครั้งที่มาฝากครรภ์
และสามารถเก็บที่ฝากครรภ์ที่อื่นมาลงแบบความ
ครอบคลุมได้
แฟ้ ม PRENATAL เก็บประวัติทั่วไปของหญิง
ตั้งครรภ์หนึ่งคน หนึ่งท้อง จะมีเพียงหนึ่งรายการ
(1 Record Per Gravida )
การคลอด/สิ้นสุดการตั้งครรภ์
แฟ้ ม LABOR ###เป็ นแฟ้ มหลักในการเชื่อมโยง
ประวัติ###
หลังคลอด
แฟ้ ม POSTNATAL เก็บประวัติการดูแลมารดา
หลังคลอด หนึ่งคน หนึ่งท้อง จะมีเพียงหนึ่ง
รายการ(1 Record Per Gravida ) เก็บแบบความ
ข้อมูลสาคัญในแต่ละแฟ้ มข้อมูล
อนามัยมารดาแฟ้ ม ANC
 DATE_SERV วันที่รับบริการฝากครรภ์
 GRAVIDA ครรภ์ที่ (ท้อง 1,2,3)
 GA อายุครรภ์ณ วันที่รับบริการฝากครรภ์
 ANCPLACE รหัสสถานพยาบาลที่รับบริการฝากครรภ์
แฟ้ ม PRENATAL
 GRAVIDA ครรภ์ที่ (ท้อง 1,2,3)
 DATE_HCT วันที่ตรวจ HCT
 HCT_RESULT ผล HCT
แฟ้ ม LABOR
 GRAVIDA ครรภ์ที่ (ท้อง 1,2,3)
 BDATE วันคลอด / วันสิ้นสุดการตั้งครรภ์
 BRESULT ผลสิ้นสุดการตั้งครรภ์ ICD -10 TM
 BHOSP รหัสสถานพยาบาลที่คลอด
 BTYPE วิธีการคลอด/สิ้นสุดการตั้งครรภ์
1 = NORMAL, 2 = CESAREAN, 3 = VACUUM, 4 = FORCEPS,5
= ท่าก้น, 6 = ABORTION
 LBORN จานวนเด็กเกิดมีชีพ
 SBORN จานวนเด็กเกิดไร้ชีพ
ข้อมูลสาคัญในแต่ละแฟ้ มข้อมูล
อนามัยมารดา
แฟ้ ม POSNATAL
 GRAVIDA ครรภ์ที่ (ท้อง 1,2,3)
 BDATE วันคลอด / วันสิ้นสุดการตั้งครรภ์
 PPCARE วันที่ดูแลมารดาหลังคลอด
 PPPLACE รหัสสถานพยาบาลที่ดูแลมารดา
แฟ้ ม FP
 DATE_SERV วันที่รับบริการ
 FPTYPE รหัสวิธีการคุมกาเนิด
1 = ยาเม็ด , 2 = ยาฉีด , 3 = ห่วงอนามัย , 4 = ยาฝัง,
5 = ถุงยางอนามัย,6 = หมันชาย, 7 = หมันหญิง
ข้อมูลสาคัญในแต่ละแฟ้ มข้อมูล
อนามัยมารดา
ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรก
ก่อนหรือเท่ากับ 12 สัปดาห์
 B หมายถึง จานวนหญิงไทยในเขตรับผิดชอบที่สิ้นสุด
การตั้งครรภ์ทั้งหมด (ฐานข้อมูล 43 แฟ้ ม) LABOR ทั้งที่
คลอดและแท้งบุตร
 A หมายถึง จานวนหญิงตาม B ที่ฝากครรภ์ครั้งแรกเมื่อ
อายุครรภ์<= 12 สัปดาห์(ข้อมูลจากสมุดสีชมพูบันทึก
ลงใน 43 แฟ้ ม) ANC
การประมวลผล
 เนื่องจาก LABOR สามารถเก็บมาบันทึกแบบความ
ครอบคลุมได้ ความน่าเชื่อถือของข้อมูลการคลอด
นิยามให้เชื่อถือข้อมูลที่โรงพยาบาลเป็ นหน่วยรายงาน
ก่อนเสมอ
 B: นับตาม CID ของหญิงไทยทุกคนในเขตรับผิดชอบที่
อยู่ในแฟ้ ม LABOR ที่ BDATE อยู่ในช่วงปี งบประมาณ
ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับการดูแลก่อน
คลอด 5 ครั้ง ตามเกณฑ์
 B หมายถึง จานวนหญิงไทยในเขตรับผิดชอบ สิ้นสุดการ
ตั้งครรภ์ด้วยการคลอดทั้งหมด (ฐานข้อมูล 43 แฟ้ ม)
LABOR (BTYPE ไม่เท่ากับ 6)
 A หมายถึง จานวนหญิงตาม B ที่ฝากครรภ์คุณภาพ
ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์(ฐานข้อมูล 43 แฟ้ ม) ANC
การประมวลผล
เชื่อมโยงระหว่างแฟ้ ม LABOR และ ANC ด้วย CID +
Gravida ตรวจสอบการฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามช่วง GA
ที่กาหนด
ครั้งที่ 1 เมื่ออายุครรภ์ ≤ 12 สัปดาห์
ครั้งที่ 2 เมื่ออายุครรภ์ 18 สัปดาห์ + 2 สัปดาห์
ครั้งที่ 3 เมื่ออายุครรภ์ 26 สัปดาห์ + 2 สัปดาห์
ครั้งที่ 4 เมื่ออายุครรภ์ 32 สัปดาห์ + 2 สัปดาห์
ครั้งที่ 5 เมื่ออายุครรภ์ 38 สัปดาห์ + 2 สัปดาห์
การนัดหมายรับบริการ ANC 5 ครั้งที่
ควรนัดตั้งแต่วันนี้
เนื่องจากการคานวณผลงานนั้น คานวณเป้ าหมายจาก
มารดาที่คลอดแล้วในปี งบประมาณ แล้วมองประวัติการ
ฝากครรภ์ย้อนหลังไป 9-10 เดือน เพื่อหา ANC1,
ANC2,ANC3,ANC4,ANC5 ตามเกณฑ์กาหนด(เกณฑ์
คุณภาพและเกณฑ์สิทธิประโยชน์) ดังนั้นหากไม่เริ่มปรับ
ระบบการนัดหมายตั้งแต่วันนี้ เมื่อเริ่มปี งบประมาณ 2563
เมื่อกรมอนามัยสั่งปรับเกณฑ์ใหม่ จะทาให้ผลงาน
ย้อนหลังไม่ผ่านอยู่ดี แล้วคนที่ยังไม่คลอดตอนนี้ จะนัด
อย่างไร จึงขอให้หน่วยบริการประบการนัดหมายตาม
ข้างล่างนี้ เพื่อให้ปัจจุบันก็นัดแล้วผ่านเกณฑ์ และในปี
2563 ก็ผ่านเกณฑ์ด้วยเช่นกัน
****ย้านะครับทาไปข้างหน้า นัดหมายไปข้างหน้า ไม่ต้อง
ไปแก้ข้อมูลย้อนหลัง
****การนัดหมายตามภาพข้างล่างนี้ จะใช้จนสิ้นปี งบ
2562 เท่านั้น หลังจากนั้นก็นัดหมายตามประกาศของกรม
สรุป ANC ที่ควรปรับ
ร้อยละของหญิงหลังคลอดได้รับการดูแลครบ
3 ครั้งตามเกณฑ์
 B หมายถึง จานวนหญิงไทยในเขตรับผิดชอบ สิ้นสุดการ
ตั้งครรภ์ด้วยการคลอดครบ 42 วันทั้งหมดใน
ปี งบประมาณ (ฐานข้อมูล 43 แฟ้ ม) LABOR (BTYPE ไม่
เท่ากับ 6)
 A หมายถึง จานวนหญิงตาม B ที่ได้รับการดูแลครบ 3
ครั้งตามเกณฑ์
การประมวลผล
 B: นับตาม CID ของหญิงไทยทุกคนในเขตรับผิดชอบที่
อยู่ในแฟ้ ม LABOR ที่ BDATE+42 อยู่ในช่วง
ปี งบประมาณ (DISTINCT CID+BDATE) ยึดข้อมูล
โรงพยาบาลเป็ นหลัก
 A : ผ่าน 3 ครั้งตามเกณฑ์ประเมินจากแฟ้ ม
POSTNATAL ตามระยะเวลาตามด้านล่างนี้
ครั้งที่ 1 คือเยี่ยมหลังคลอดอายุบุตรไม่เกิน 7 วันนับถัด
ร้อยละการคุมกาเนิดของหญิงไทยตั้งครรภ์
อายุน้อยกว่า 20 ปี
 B หมายถึง จานวนหญิงไทยอายุน้อยกว่า 20 ปี คลอด
จากฐานข้อมูล 43 แฟ้ ม LABOR ตัดความซ้าซ้อน ด้วย
cid+bdate
 A หมายถึง จานวนหญิงตาม B ได้รับบริการคุมกาเนิด
ภายใน 42 วัน
การประมวลผล
 B: นับตาม CID ของหญิงไทยอายุน้อยกว่า 20 ปี ที่อยู่ใน
แฟ้ ม LABOR ที่ BDATE อยู่ในช่วงปี งบประมาณ
(DISTINCT CID+BDATE) นับเฉพาะที่โรงพยาบาล
รายงาน
 เชื่อมโยงแฟ้ ม FP ด้วย CID ตรวจสอบว่ามีการรับบริการ
คุมกาเนิดใน 42 วันหรือไม่จาก FP.DATE_SERV –
LABOR.BDATE (การคุมกาเนิดทุกวิธี)
ร้อยละของหญิงไทยอายุน้อยกว่า 20 ปี หลังคลอด
หรือหลังแท้งที่คุมกาเนิดได้รับการคุมกาเนิดด้วย
วิธีกึ่งถาวร (ยาฝังคุมกาเนิด/ห่วงอนามัย)
 B หมายถึง จานวนหญิงไทยอายุน้อยกว่า 20 ปี คลอด
จากฐานข้อมูล 43 แฟ้ ม LABOR ตัดความซ้าซ้อน ด้วย
cid+bdate ที่ได้รับการคุมกาเนิดด้วยวิธีสมัยใหม่
ภายใน 42 วัน
 A หมายถึง จานวนหญิงตาม B ได้รับบริการคุมกาเนิด
ด้วยวิธีกึ่งถาวร(ยาฝังคุมกาเนิด/ห่วงอนามัย)
การประมวลผล
 B: นับตาม CID ของหญิงไทยอายุน้อยกว่า 20 ปี ที่อยู่ใน
แฟ้ ม LABOR ที่ BDATE อยู่ในช่วงปี งบประมาณ
(DISTINCT CID+BDATE) นับเฉพาะที่โรงพยาบาล
รายงานเชื่อมโยงแฟ้ ม FP ด้วย CID ตรวจสอบว่ามีการ
รับบริการคุมกาเนิดใน 42 วันหรือไม่จาก FP.DATE_SERV
– LABOR.BDATE (การคุมกาเนิดทุกวิธี)
การเฝ้ าระวังอัตราการคลอดมีชีพใน
หญิงอายุ 15-19 ปี
 B หมายถึง จานวนหญิงอายุ 15 - 19 ปี ทั้งหมด ในเขต
รับผิดชอบ(ประชากรจากการสารวจ TypeArea=1,3)
 A หมายถึง จานวนการคลอดมีชีพโดยหญิงอายุ 15 - 19
ปี (จากแฟ้ ม Labor) ดูข้อมูลจากจานวนเด็กเกิดมีชีพ
(LBORN)
การประมวลผล
 นับรวมจานวน LBORN จากแฟ้ ม LABOR เมื่อ CID เป็ น
หญิงในเขตรับผิดชอบ อายุ 15-19 ปี นับอายุเต็มไม่สนใจ
เศษ
การเฝ้ าระวังอัตราการคลอดมีชีพใน
หญิงอายุ 10-14 ปี
 B หมายถึง จานวนหญิงอายุ 10 – 14 ปี ทั้งหมด ในเขต
รับผิดชอบ(ประชากรจากการสารวจ TypeArea=1,3)
 A หมายถึง จานวนการคลอดมีชีพโดยหญิงอายุ 10 - 14
ปี (จากแฟ้ ม Labor) ดูข้อมูลจากจานวนเด็กเกิดมีชีพ
(LBORN)
การประมวลผล
 นับรวมจานวน LBORN จากแฟ้ ม LABOR เมื่อ CID เป็ น
หญิงในเขตรับผิดชอบ อายุ 10-14 ปี นับอายุเต็มไม่สนใจ
เศษ
ร้อยละการตั้งครรภ์ซ้าในหญิงอายุน้อย
กว่า 20 ปี (PA)
 B หมายถึง จานวนหญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี ที่มารับ
บริการด้วยการคลอด/แท้งบุตร จากแฟ้ ม LABOR
 A หมายถึง จานวนหญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี ที่มารับ
บริการด้วยการคลอด/แท้งบุตรเป็ นการตั้งครรภ์ครั้งที่ 2
ขึ้นไป จากแฟ้ ม LABOR
การประมวลผล
 การตั้งครรภ์ครั้งที่ 2 ขึ้นไป ประมวลผลจากหญิงตั้งครรภ์
จากแฟ้ ม LABOR ที่มี Gravida > 1
ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ได้รับยา
เม็ดเสริมไอโอดีน
 B หมายถึง จานวนหญิงตั้งครรภ์ที่มารับบริการ
 A หมายถึง จานวนหญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับยาเม็ดเสริม
ไอโอดีน
การประมวลผล
 B: หญิงตั้งครรภ์สัญชาติไทยทุกรายที่มารับบริการฝาก
ครรภ์ในปี งบประมาณ
 A: หญิงตั้งครรภ์สัญชาติไทยทุกรายที่ได้รับยาเม็ดเสริม
ไอโอดีน รหัสยา 24 หลักตามสานักโภชนาการ กรม
อนามัย กาหนดดังนี้
201120320037726221781506,
201110100019999920381199,
101110000003082121781506,
201110100019999920381341,
ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ได้รับยา
เม็ดเสริมไอโอดีน
ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ได้รับยาเม็ดเสริมไอโอดีน ธาตุ
เหล็ก และกรดโฟลิก
 รายงานแบบเดิม
รายงานนี้เป็นแบบ Workload กล่าวคือ เป้าหมายจึงเป็นหญิงมีครรภ์ที่มา
ฝากครรภ์ในหน่วยบริการจริงๆ ไม่นับรวมการเอาข้อมูลการฝากครรภ์จากที่อื่น
มาบันทึกแบบความครอบคลุม(ถ้าไม่ได้ให้บริการเอง จะไม่ถูกนับเป้าหมายใน
รายงานข้อนี้) โดย ข้อรวม B,A ไม่สามารถเอาผลจาก
ไตรมาสต่างๆมารวมกันได้เนื่องจาก1คนอาจจะรับ
้
DATA EXCHANGE ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ได้รับยาเม็ด
เสริมไอโอดีน ธาตุเหล็ก และกรดโฟลิก
ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ได้รับยาเม็ดเสริม
ไอโอดีน
คิดทั้ง 2 แนวทาง
ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ได้รับยาเม็ดเสริม
ไอโอดีน
คิดทั้ง 2 แนวทาง
ไม่ได้นับทุกครั้งที่มานับคนที่มาในปี ได้รับ 1 ครั้งก็ผ่าน แต่ถ้ากรมมองไตรมาส ก็เป็นคน
ต่อไตรมาส ใน 1 ไตรมาสหากมาและได้รับ 1 ครั้งก็ผ่าน สิ่งสาคัญคือ มารับ
บริการควรจ่ายให้ได้อย่างน้อย 1 ครั้งต่อไตรมาส แต่ก็มีบางรพ.
บอกว่ามาครั้งเดียวและไม่จ่าย และไม่มาอีกเลยก็เลยมีเป้าหมายไม่มีผลงาน 100%
ยาก ก็เลยเกิดข้อใหม่ขึ้นมาอีกหนึ่งข้อคือ coverage การได้รับ ดูคนคลอดแล้ว
ย้อนกลับไปดูว่าได้รับขณะตั้งครรภ์ได้รับสักครั้งไหม
DATA EXCHANGE ความครอบคลุมการได้รับยาเม็ดเสริมไอโอดีน
ธาตุเหล็ก และกรดโฟลิก ของหญิงตั้งครรภ์ที่คลอดบุตรแล้วในเขตรับผิดชอบ
แฟ้ มหลักของอนามัยเด็ก/ทารก
แฟ้ ม NEWBORN เก็บข้อมูลประวัติการ
คลอดของทารกจากหญิง ในเขต
รับผิดชอบ หรือทารกที่คลอดที่หน่วย
บริการ
แฟ้ ม NEWBORNCARE เก็บข้อมูลการ
ดูแลทารกหลังคลอดของหญิงตั้งครรภ์ใน
เขตรับผิดชอบ
แฟ้ ม NUTRITION เก็บข้อมูลการวัดระดับ
โภชนาการและพัฒนาการเด็กอายุ 0-5 ปี
และนักเรียนในเขตรับผิดชอบ
แฟ้ ม SPECIALPP ข้อมูลการให้บริการ
ข้อมูลสาคัญในแต่ละแฟ้ มข้อมูล
อนามัยเด็ก/ทารก
แฟ้ ม NEWBORN
BDATE วันที่คลอด
BHOSP รหัสสถานพยาบาลที่คลอด
BTYPE วิธีการคลอด
BWEIGHT น้าหนักแรกคลอด(กรัม)
ASPHYXIA สภาวการณ์ขาดออกซิเจน
TSH ได้รับการตรวจ TSH หรือไม่
TSHRESULT ผลการตรวจ TSH
แฟ้ ม NEWBORNCARE
BDATE วันเดือนปี ที่คลอด
BCARE วันที่ดูแลลูก
BCPLACE รหัสสถานพยาบาลที่ดูแลลูก
FOOD อาหารที่รับประทาน
ข้อมูลสาคัญในแต่ละแฟ้ มข้อมูล
อนามัยเด็ก/ทารก
ข้อมูลสาคัญในแต่ละแฟ้ มข้อมูล
อนามัยเด็ก/ทารก
แฟ้ ม NUTRITION
DATE_SERV วันที่ให้บริการ
NUTRITIONPLACE สถานที่รับบริการ
WEIGHT น้าหนัก(กก.)
HEIGHT ส่วนสูง (ซม.)
FOOD อาหารที่รับประทานปัจจุบัน
แฟ้ ม SPECIALPP
DATE_SERV วันที่ให้บริการ
PPSPECIAL รหัสบริการส่งเสริมป้ องกัน
เฉพาะ
PPSPLACE สถานที่รับบริการ
ข้อมูลสาคัญในแต่ละแฟ้ มข้อมูล
อนามัยเด็ก/ทารก
ร้อยละของทารกแรกเกิดน้าหนัก
น้อยกว่า 2,500 กรัม
B หมายถึง จานวนเด็กที่คลอดใน
ปี งบประมาณ
A หมายถึง จานวนเด็กแรกเกิดน้าหนัก
น้อยกว่า 2500 กรัม
การประมวลผล
จานวนเด็กที่คลอดจากแฟ้ ม NEWBORN
Typearea 1,3 DISCHARGE 9
น้าหนักแรกคลอดจากแฟ้ ม NEWBORN
ร้อยละของเด็กแรกเกิด - ต่ากว่า 6 เดือน
กินนมแม่อย่างเดียว
B หมายถึง เด็กแรกเกิด - ต่ากว่า 6 เดือนที่แม่
หรือผู้เลี้ยงดูได้ถูกสอบถามทั้งหมด
A หมายถึง เด็กแรกเกิด - ต่ากว่า 6 เดือน กิน
นมแม่อย่างเดียว
การประมวลผล
B: เด็กที่มารับบริการจากแฟ้ ม NUTRITION ใน
ปี งบประมาณที่ FOOD เป็ น 0,1,2,3,4
A: เด็กที่กินนมแม่อย่างเดียว นับจาก FOOD
เป็ น 1
ผลการดาเนินการการคัดกรองพัฒนาการ
เด็กตามกลุ่มอายุ
 เป้ าหมายคัดกรอง เด็กที่อายุ 9,18,30,42 เดือน หากครบ
วันแรกในเดือนไหน นับเป็ นเป้ าหมายในเดือนนั้น และ
ต้องคัดกรองภายใน 30 วันหากเลยกาหนดจะไม่นับเป็ น
ผลงาน แต่นับเป็ นเป้ าหมาย
 ผลงานคัดกรอง เด็กที่อายุครบ 9,18,30,42 เดือนตาม
เป้ าหมาย เมื่อได้รับการคัดกรองภายในไม่เกิน 30 วันหลัง
อายุครบ ผลงานจะปรากฏในเดือนที่เป็ นเป้ าหมาย
 ผลการคัดกรอง ครั้งแรก
สมวัย ครั้งแรก รหัส 1B260
สงสัยล่าช้าต้องกระตุ้นภายใน 30 วัน รหัส 1B261
สงสัยล่าช้าต้องส่งต่อทันที รหัส 1B262
 ผลการคัดกรองหลังติดตามกระตุ้นภายใน 30 วัน หลังได้
รหัส 1B261
สมวัย หลังติดตาม รหัส 1B260
ร้อยละของเด็กอายุ 0 – 5 ปี มี
พัฒนาการสมวัย
B หมายถึง จานวนเด็กไทยอายุ 9, 18, 30, และ
42 เดือน ได้รับการประเมินพัฒนาการตาม
เกณฑ์ ได้รับการตรวจพัฒนาการใน
ปี งบประมาณ
A หมายถึง จานวนเด็กไทยอายุ 9, 18, 30, และ
42 เดือน ได้รับการประเมินพัฒนาการตาม
เกณฑ์และมีพัฒนาการสมวัย รวมกับสมวัย
หลังการติดตาม 30 วัน
การประมวลผล
เด็กจากแฟ้ ม PERSON คานวณอายุจากวัน
เดือนปี เกิด
ปัญหางานอนามัยแม่และเด็กใน
ระบบ43แฟ้ ม คาถามยอดฮิตทาไมคีย์แล้วผลงานไม่ขึ้น?
 1.ข้อมูลส่งออกแล้วไม่มีเป้ าหมายและผลงานใน HDC ?
 2.ผลการคลอดและครรถ์ที่คลอดไม่ถูกต้อง ?
 3.อะไรที่ต้องใช้ DATA_CORRECT ลบ และทาไมต้องลบ ?
 4.และคาถามอีกมากมาย ต่างๆนาๆ
 เป็ นเรื่องที่หน่วยบริการและคนที่รับผิดชอบงานอนามัยแม่และเด็ก
ควรจะเข้าใจ เช่น รพสต กับ รพ ลงวันที่ ANC ไม่ตรงกัน GA ที่เป็ น
อายุครรภ์ไม่ตรงกัน ผิดจนยาวไปถึงวันที่คลอด BDATE และครรภ์ที่
คลอดไม่ตรงกัน GRAVIDA ทาให้เกิดความซ้าซ้อนในระบบ HDC จะ
ไม่นาผลเหล่านี้มาคิดรบกวนทุกท่านไปตรวจเช็คและตกลงกันให้
เรียบร้อยนะครับเป้ าหมายและผลงานท่านถึงขึ้นในระบบตัวชี้วัด
 สุดท้ายนี้งานจะเกิดขึ้นได้ท่านต้องประสานงานกันระหว่างหน่วย
บริการทุกระดับ เช่น สมุดสีชมพู การพูดคุยผ่าน PM หรือ
คณะกรรมการ MCH Borad รวมถึงการใช้เทคโนโลยีแฟ้ ม
DATA_CORRECT มาช่วยให้ผลข้อผิดพลาดนั้นหายไป ซึ่งทั้งหมด
ทั้งมวลจะเกิดได้ต้องอาศัยทุกท่านนะครับ
วิธีดู ERROR ANC และ LABOR
ดู ERROR ANC และ LABOR
(ต่อ)
ดู ERROR ANC และ LABOR
(ต่อ)
ดู ERROR ANC และ LABOR
(ต่อ)
ความเกียวกับความสัมพันธ ์ของ 2
แฟ้ มที่ว่า เกี่ยวกับงาน "อนามัยแม่และ
เด็ก" MCH ได้แก่ Labor และ
Newborn
#LABOR VERSION 2.3 (ตุลาคม 2560)
นิยามข้อมูล:ข้อมูลประวัติการคลอด หรือการสิ้นสุดการตั้งครรภ์ ของหญิงคลอดในเขต รับผิดชอบ
และ/หรือหญิงคลอดผู้มารับบริการ
#NEWBORN VERSION 2.3 (ตุลาคม 2560)
นิยามข้อมูล:ข้อมูลประวัติการคลอดของทารกจากหญิง ในเขตรับผิดชอบ หรือทารกที่คลอ ดที่หน่วย
บริการ
#มีสาเหตุอะไรบ้างที่ข้อมูล 2 ส่วนนี้ ไม่เท่ากัน หรือน้อยกว่าความเป็ นจริง
#มีแม่ไม่มีลูก คีย์แม่ไม่คีย์ลูก คีย์แม่ที่หนึ่ง คีย์ลูกอีกที่หนึ่ง (นี่ยังไม่รวมเอาเลข CID GEN ให้ลูก
แล้วไม่ได้แก้ไขจะทาอย่างไร จากตัวอย่าง #เขตนี้ (ขออนุญาต ยกตัวอย่างเขตฯ 3) ลูกหายไป 2,000
กว่าคน แล้วหน่วยงานท่านล่ะ
เมนูสรุปจานวน 43 แฟ้ ม เพื่อหา
จานวนแม่และลูกในระบบ HDC
ตัวอย่างข้อมูลสรุปจานวนแม่+
ลูกในสถานบริการ
ตัวอย่างข้อมูลสรุปจานวนแม่
ตัวอย่างข้อมูลสรุปลูก
เทียบแม่และลูก
เมนูค้นหาประวัติบุคคลตามเลขที่บัตรประจาตัวประชาชน
#เพียงภายในจังหวัดด้วยเลขบัตรประชาชน
#ต่อไปนี้เราจะแลกเปลี่ยนข้ามจังหวัดกันแล้วครับ
เลือกตามหัวข้อเรื่อง เช่น ข้อมูลการรับ
บริการฝากครรภ์ANC
ผลที่ได้
เรื่องอื่นๆที่มีเพิ่มมา
ข้อควรพึ่งระวัง ต้องมี Provider ใน
ระบบ HDC เท่านั้นจึงจะดูเมนูนี้ได้
เหมือนทา DATA_CORRECT

More Related Content

What's hot

มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน  มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน Dbeat Dong
 
แบบรายงานการอบรมออนไลน์รองโอ๋
แบบรายงานการอบรมออนไลน์รองโอ๋แบบรายงานการอบรมออนไลน์รองโอ๋
แบบรายงานการอบรมออนไลน์รองโอ๋Nontaporn Pilawut
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 1
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 1ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 1
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 1Green Greenz
 
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่แผนคอมฯ ม.3 ใหม่
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่Surapong Jakang
 
9 การให้สุขศึกษา
9 การให้สุขศึกษา9 การให้สุขศึกษา
9 การให้สุขศึกษาWatcharin Chongkonsatit
 
ใบงานที่ 7 การคำนวณในตารางทำงาน
ใบงานที่ 7  การคำนวณในตารางทำงานใบงานที่ 7  การคำนวณในตารางทำงาน
ใบงานที่ 7 การคำนวณในตารางทำงานMeaw Sukee
 
ใบงานที่ 4 เรื่อง การสืบค้นข้อมูล(search engine)
ใบงานที่ 4   เรื่อง การสืบค้นข้อมูล(search engine)ใบงานที่ 4   เรื่อง การสืบค้นข้อมูล(search engine)
ใบงานที่ 4 เรื่อง การสืบค้นข้อมูล(search engine)Pongpan Pairojana
 
คู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตคู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตsivapong klongpanich
 
ประเภทห้องสมุด
ประเภทห้องสมุดประเภทห้องสมุด
ประเภทห้องสมุดSupaporn Khiewwan
 
การบันทึกข้อมูลการให้บริการงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค Hdc epi 2019
การบันทึกข้อมูลการให้บริการงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค Hdc epi 2019การบันทึกข้อมูลการให้บริการงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค Hdc epi 2019
การบันทึกข้อมูลการให้บริการงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค Hdc epi 2019Sakarin Habusaya
 
งานธุรการโรงเรียน
งานธุรการโรงเรียนงานธุรการโรงเรียน
งานธุรการโรงเรียนSukanya Polratanamonkol
 
ข้อสอบโปรแกรมสำเร็จรูป
ข้อสอบโปรแกรมสำเร็จรูปข้อสอบโปรแกรมสำเร็จรูป
ข้อสอบโปรแกรมสำเร็จรูปpeter dontoom
 
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์siwaporn_jo
 
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.Pongsa Pongsathorn
 
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน" การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน" Utai Sukviwatsirikul
 
โครงสร้างของดอกไม้
โครงสร้างของดอกไม้โครงสร้างของดอกไม้
โครงสร้างของดอกไม้dnavaroj
 
รายงาน Power point
รายงาน Power pointรายงาน Power point
รายงาน Power pointThank Chiro
 
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชนคู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชนUtai Sukviwatsirikul
 
โครงงานเทคโนโลยีการศึกษา
โครงงานเทคโนโลยีการศึกษาโครงงานเทคโนโลยีการศึกษา
โครงงานเทคโนโลยีการศึกษาSornram Wicheislang
 

What's hot (20)

มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน  มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
 
แบบรายงานการอบรมออนไลน์รองโอ๋
แบบรายงานการอบรมออนไลน์รองโอ๋แบบรายงานการอบรมออนไลน์รองโอ๋
แบบรายงานการอบรมออนไลน์รองโอ๋
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 1
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 1ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 1
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 1
 
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่แผนคอมฯ ม.3 ใหม่
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่
 
9 การให้สุขศึกษา
9 การให้สุขศึกษา9 การให้สุขศึกษา
9 การให้สุขศึกษา
 
ใบงานที่ 7 การคำนวณในตารางทำงาน
ใบงานที่ 7  การคำนวณในตารางทำงานใบงานที่ 7  การคำนวณในตารางทำงาน
ใบงานที่ 7 การคำนวณในตารางทำงาน
 
ใบงานที่ 4 เรื่อง การสืบค้นข้อมูล(search engine)
ใบงานที่ 4   เรื่อง การสืบค้นข้อมูล(search engine)ใบงานที่ 4   เรื่อง การสืบค้นข้อมูล(search engine)
ใบงานที่ 4 เรื่อง การสืบค้นข้อมูล(search engine)
 
คู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตคู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสต
 
ประเภทห้องสมุด
ประเภทห้องสมุดประเภทห้องสมุด
ประเภทห้องสมุด
 
การบันทึกข้อมูลการให้บริการงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค Hdc epi 2019
การบันทึกข้อมูลการให้บริการงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค Hdc epi 2019การบันทึกข้อมูลการให้บริการงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค Hdc epi 2019
การบันทึกข้อมูลการให้บริการงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค Hdc epi 2019
 
งานธุรการโรงเรียน
งานธุรการโรงเรียนงานธุรการโรงเรียน
งานธุรการโรงเรียน
 
ข้อสอบโปรแกรมสำเร็จรูป
ข้อสอบโปรแกรมสำเร็จรูปข้อสอบโปรแกรมสำเร็จรูป
ข้อสอบโปรแกรมสำเร็จรูป
 
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.
 
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน" การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
 
ใบ000
ใบ000ใบ000
ใบ000
 
โครงสร้างของดอกไม้
โครงสร้างของดอกไม้โครงสร้างของดอกไม้
โครงสร้างของดอกไม้
 
รายงาน Power point
รายงาน Power pointรายงาน Power point
รายงาน Power point
 
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชนคู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
 
โครงงานเทคโนโลยีการศึกษา
โครงงานเทคโนโลยีการศึกษาโครงงานเทคโนโลยีการศึกษา
โครงงานเทคโนโลยีการศึกษา
 

Similar to Hdc mch sakarin_62

บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรบทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรSanyawadee
 
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรบทที่5 ระบบข้อมูลข่าสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรSanyawadee
 
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรบทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรSanyawadee
 
38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศTippathai Infinity
 
38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศTippathai Infinity
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศTheerapat Nilchot
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศTheerapat Nilchot
 
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรบทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรSanyawadee
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ053681478
 
Thai Informatics Year in Review 2017 (Boonchai Kijsanayotin)
Thai Informatics Year in Review 2017  (Boonchai Kijsanayotin)Thai Informatics Year in Review 2017  (Boonchai Kijsanayotin)
Thai Informatics Year in Review 2017 (Boonchai Kijsanayotin)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาลระบบสารสนเทศโรงพยาบาล
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาลNawanan Theera-Ampornpunt
 
ระบบสุขภาพอำเภอ Ln นำเสนอประชุมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์2
ระบบสุขภาพอำเภอ Ln นำเสนอประชุมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์2ระบบสุขภาพอำเภอ Ln นำเสนอประชุมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์2
ระบบสุขภาพอำเภอ Ln นำเสนอประชุมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์2กันย์ สมรักษ์
 
หน่วยที่1
หน่วยที่1หน่วยที่1
หน่วยที่1Sangduan12345
 

Similar to Hdc mch sakarin_62 (20)

Hdc_user_2019
Hdc_user_2019Hdc_user_2019
Hdc_user_2019
 
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรบทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
 
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรบทที่5 ระบบข้อมูลข่าสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
 
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรบทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
 
38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ
 
38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรบทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
M
MM
M
 
M
MM
M
 
1
11
1
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
Thai Informatics Year in Review 2017 (Boonchai Kijsanayotin)
Thai Informatics Year in Review 2017  (Boonchai Kijsanayotin)Thai Informatics Year in Review 2017  (Boonchai Kijsanayotin)
Thai Informatics Year in Review 2017 (Boonchai Kijsanayotin)
 
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาลระบบสารสนเทศโรงพยาบาล
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล
 
ระบบสุขภาพอำเภอ Ln นำเสนอประชุมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์2
ระบบสุขภาพอำเภอ Ln นำเสนอประชุมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์2ระบบสุขภาพอำเภอ Ln นำเสนอประชุมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์2
ระบบสุขภาพอำเภอ Ln นำเสนอประชุมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์2
 
หน่วยที่1
หน่วยที่1หน่วยที่1
หน่วยที่1
 
1
11
1
 
1
11
1
 

More from Sakarin Habusaya

การเบิกจ่ายชดเชย การแก้ไขกรณีติด C และการปฏิเสธการจ่ายชดเชยค่าบริการทันตกรรมส...
การเบิกจ่ายชดเชย การแก้ไขกรณีติด C และการปฏิเสธการจ่ายชดเชยค่าบริการทันตกรรมส...การเบิกจ่ายชดเชย การแก้ไขกรณีติด C และการปฏิเสธการจ่ายชดเชยค่าบริการทันตกรรมส...
การเบิกจ่ายชดเชย การแก้ไขกรณีติด C และการปฏิเสธการจ่ายชดเชยค่าบริการทันตกรรมส...Sakarin Habusaya
 
แนวทางการบริหารจัดการบริการทันตกรรม Fee schedule dental 2563
แนวทางการบริหารจัดการบริการทันตกรรม Fee schedule dental 2563แนวทางการบริหารจัดการบริการทันตกรรม Fee schedule dental 2563
แนวทางการบริหารจัดการบริการทันตกรรม Fee schedule dental 2563Sakarin Habusaya
 
Bacic MySql & script Sql for jhcis
Bacic MySql & script Sql for jhcisBacic MySql & script Sql for jhcis
Bacic MySql & script Sql for jhcisSakarin Habusaya
 
Data warehouse for icd By quickview
Data warehouse for icd  By quickviewData warehouse for icd  By quickview
Data warehouse for icd By quickviewSakarin Habusaya
 
ภาพรวมเรื่องการให้รหัส icd10 ในสถานบริการ Medical Record & Coding Review
ภาพรวมเรื่องการให้รหัส icd10 ในสถานบริการ Medical Record & Coding Reviewภาพรวมเรื่องการให้รหัส icd10 ในสถานบริการ Medical Record & Coding Review
ภาพรวมเรื่องการให้รหัส icd10 ในสถานบริการ Medical Record & Coding ReviewSakarin Habusaya
 
วิธีสร้างแผนที่ใน Google Map
วิธีสร้างแผนที่ใน Google Mapวิธีสร้างแผนที่ใน Google Map
วิธีสร้างแผนที่ใน Google MapSakarin Habusaya
 
Fee schdule by_seamless_for_dmis
Fee schdule by_seamless_for_dmisFee schdule by_seamless_for_dmis
Fee schdule by_seamless_for_dmisSakarin Habusaya
 
แนวทางการบริหารงบค่าใช้จ่ายบริการแพทย์แผนไทย ปี 2562 (สปสช.)
แนวทางการบริหารงบค่าใช้จ่ายบริการแพทย์แผนไทย ปี 2562 (สปสช.)แนวทางการบริหารงบค่าใช้จ่ายบริการแพทย์แผนไทย ปี 2562 (สปสช.)
แนวทางการบริหารงบค่าใช้จ่ายบริการแพทย์แผนไทย ปี 2562 (สปสช.)Sakarin Habusaya
 

More from Sakarin Habusaya (12)

การเบิกจ่ายชดเชย การแก้ไขกรณีติด C และการปฏิเสธการจ่ายชดเชยค่าบริการทันตกรรมส...
การเบิกจ่ายชดเชย การแก้ไขกรณีติด C และการปฏิเสธการจ่ายชดเชยค่าบริการทันตกรรมส...การเบิกจ่ายชดเชย การแก้ไขกรณีติด C และการปฏิเสธการจ่ายชดเชยค่าบริการทันตกรรมส...
การเบิกจ่ายชดเชย การแก้ไขกรณีติด C และการปฏิเสธการจ่ายชดเชยค่าบริการทันตกรรมส...
 
แนวทางการบริหารจัดการบริการทันตกรรม Fee schedule dental 2563
แนวทางการบริหารจัดการบริการทันตกรรม Fee schedule dental 2563แนวทางการบริหารจัดการบริการทันตกรรม Fee schedule dental 2563
แนวทางการบริหารจัดการบริการทันตกรรม Fee schedule dental 2563
 
Bacic MySql & script Sql for jhcis
Bacic MySql & script Sql for jhcisBacic MySql & script Sql for jhcis
Bacic MySql & script Sql for jhcis
 
Data warehouse for icd By quickview
Data warehouse for icd  By quickviewData warehouse for icd  By quickview
Data warehouse for icd By quickview
 
ภาพรวมเรื่องการให้รหัส icd10 ในสถานบริการ Medical Record & Coding Review
ภาพรวมเรื่องการให้รหัส icd10 ในสถานบริการ Medical Record & Coding Reviewภาพรวมเรื่องการให้รหัส icd10 ในสถานบริการ Medical Record & Coding Review
ภาพรวมเรื่องการให้รหัส icd10 ในสถานบริการ Medical Record & Coding Review
 
วิธีสร้างแผนที่ใน Google Map
วิธีสร้างแผนที่ใน Google Mapวิธีสร้างแผนที่ใน Google Map
วิธีสร้างแผนที่ใน Google Map
 
Fee schdule by_seamless_for_dmis
Fee schdule by_seamless_for_dmisFee schdule by_seamless_for_dmis
Fee schdule by_seamless_for_dmis
 
แนวทางการบริหารงบค่าใช้จ่ายบริการแพทย์แผนไทย ปี 2562 (สปสช.)
แนวทางการบริหารงบค่าใช้จ่ายบริการแพทย์แผนไทย ปี 2562 (สปสช.)แนวทางการบริหารงบค่าใช้จ่ายบริการแพทย์แผนไทย ปี 2562 (สปสช.)
แนวทางการบริหารงบค่าใช้จ่ายบริการแพทย์แผนไทย ปี 2562 (สปสช.)
 
Ncd_datacorrect
Ncd_datacorrectNcd_datacorrect
Ncd_datacorrect
 
Pa+hait 2562
Pa+hait 2562Pa+hait 2562
Pa+hait 2562
 
H4U
H4UH4U
H4U
 
Hdc ncd2561 goal
Hdc ncd2561 goalHdc ncd2561 goal
Hdc ncd2561 goal
 

Hdc mch sakarin_62

  • 2. ทาความเข้าใจ 43 แฟ้ มและ HDC 43แฟ้ ม HIS สถานบริการ JHCIS,HOSXP,Other HIS สถานบริการ บันทึกและส่งออก ตามเงื่อนไข ของ HIS - รับข้อมูล 43 แฟ้ มจาก หน่วยบริการ มาประมวลผล ออกเป็ น รายงานต่างๆ - การประมวลผล ประมวลผลทุกวัน ตามข้อมูลที่มีส่งมา - ประมวลผลเสร็จส่งไปเป็ น ภาพรวม ในระดับกระทรวงที่ HDC Service เพื่อการ Monitor เปรียบเทียบผลงาน ระหว่างเขต ระหว่าง HDC เป็ นเพียง เครื่องมือสะท้อน คุณภาพการบันทึก ข้อมูลของหน่วย บริการ และช่วยในการ ควบคุมกากับเท่านั้น ผลงานต่างๆ ย่อมเกิดคุณภาพ ข้อมูล 43 แฟ้ ม ปัจจุบันท่านยังมอง เป้ าหมายผลงานจาก HIS หน่วยงานหรือ ท่านมองเป้ าหมาย ผลงานจาก 43 แฟ้ มที่ ท่านส่งเข้าสู่ HDC
  • 3. แผนผังการทางานของ Health Data Center (HDC) แบบเต็มระบบ
  • 5. 43 Files ++ เพื่อ o o INTRODUCT ION เนื่องจาก o HIS แตกต่างกัน 5 ผล o เกิดการใช้ประโยชน์ ของข้อมูล
  • 7. HDC PROVINCE กับตัวอย่างการ เรียกใช้งาน http://203.157.102.1xx โดย xx หมายถึงรหัสจังหวัด 2 ตัวท้าย เช่น จังหวัดชัยนาท =18 ฉะนั้นการ เรียกใช้งานให้ใช้ http://203.157.102.118 HEALTH DATA CENTER(HDC)
  • 9.  เลขบัตรประชาชน(CID)ทุกแฟ้ มข้อมูลบริการที่เกี่ยวกับบุคคล เพื่อสะดวกในการเชื่อมโยงประวัติบุคคลเมื่อใช้ในฐานข้อมูล ระดับ จังหวัด เขต และประเทศ  ย้ า ย เ บ อ ร ์โ ท ร ศั พ ท์ แ ล ะ เ บ อ ร ์โ ท ร ศั พ ท์ มื อ ถื อ (TELEPHONE,MOBILE) จากแฟ้ ม ADDRESS มาไว้แฟ้ ม PERSON เพื่อรองรับการติดต่อบุคคล/Register/OTP ยืนยันตัว บุคคล เดิม ADDRESS เก็บได้เฉพาะคนนอกเขต  ปรับนิยามข้อมูลแฟ้ ม NCDSCREEN ให้ชัดเจนมากขึ้น สอดคล้องกับแนวทางปฏิบัติงาน  เพิ่มรายละเอียดและขยายขนาดข้อมูล PROVIDERTYPE ของ แฟ้ ม PROVIDER เป็ น 3 หลักและเพิ่มรายละเอียด เช่น บุคลากร แพทย์แผนไทย,แผนจีน  เพิ่ม รหัสสถานบริการรอง (HSUB) ในแฟ้ ม SERVICE เพื่อ สามารถวิเคราะห์การให้บริการข้ามเครือข่ายได้สะดวกยิ่งขึ้น มีอะไรใหม่? ในโครงสร้างมาตรฐานข้อมูล สุขภาพ (43แฟ้ ม) Version 2.3
  • 10.  อฺธิบาย DRUGPRICE,DRUGCOST ในแฟ้ ม DRUG_OPD,DRUG_IPD ให้ชัดเจนขึ้น เรื่องยังไม่ได้คูณจานวน ที่จ่าย เนื่องจากมีความเข้าใจผิดในหลาย vender  ปรับนิยามแฟ้ ม LABFU ให้สามารถบันทึกแบบความครอบคลุมได้ และเพิ่มสถานที่ตรวจ(LABPLACE) เพื่อความครอบคุลมในการ บันทึก LAB ที่ตรวจเอกชน/สถานบริการอื่นๆ  ปรับนิยามแฟ้ ม CHRONICFU ให้สามารถบันทึกแบบความ ครอบคลุมได้ และเพิ่มสถานที่ตรวจ(CHRONICPLACE)  ปรับนิยามแฟ้ ม EPI ให้สามารถบันทึกการให้บริการวัคซีนกลุ่ม อื่นๆเพิ่มเติมได้ เช่น dT ผู้ใหญ่ มีอะไรใหม่? ในโครงสร้างมาตรฐานข้อมูล สุขภาพ (43แฟ้ ม) Version 2.3
  • 11.  ปรับนิยามแฟ้ ม NUTRITION ให้สามารถบันทึกการให้บริการกลุ่ม อื่นๆ เพิ่มได้ นอกเหนือจากเด็ก 0-5 ปี และเด็กนักเรียน  ปรับแฟ้ ม DATA_CORRECT ให้การส่งข้อมูลใน JSON เป็ น Primary key ของ table ข้อมูลที่จะส่งมาลบ/ลบเพื่อการแก้ไข ข้อมูล  เพิ่มรหัส SPECIALPP คัดกรองโรคมะเร็งลาไส้ , คัดกรอง แอลกอฮอล์ การให้คาป รึกษาสาหรับงานโรคติดต่อทาง เพศสัมพันธ ์  ปรับชื่อหน่วยงานจากสานักนโยบายและยุทธศาสตร ์ เป็ น กอง ยุทธศาสตร ์และแผนงาน มีอะไรใหม่? ในโครงสร้างมาตรฐานข้อมูล สุขภาพ (43แฟ้ ม) Version 2.3
  • 12.  ระบบ ONE PAGE ตามระดับของหน่วยงาน เช่น ระดับ จังหวัด,อาเภอ,สสอ.และระดับหน่วยงาน ในทุกเมนูกลุ่ม รายงาน ทาให้สะดวกในการควบคุมกากับงาน/เฝ้ าระวัง ตัวชี้วัด โดยไม่ต้อง Drill Down เมนูหลายคลิก ซึ่ง ขึ้นอยู่กับ user login ว่าสังกัดหน่วยงานระดับใดและสิทธิ การใช้งาน  ระบบ ONE PAGE นี้แสดง จานวนเป้ าหมาย ผลงาน และอัตราส่วน ซึ่งแสดงผลแบบ เขียว แดง คือ เขียว=> ผ่านการประเมิน แดง=> ไม่ผ่านการประเมิน ตาม แนวทางนพ.สสจ. HDC 4.0 ช่วยควบคุมกากับงาน
  • 13.  เมื่อไม่ login จะแสดงข้อมูลในระดับจังหวัด ดังภาพ ภาพตัวอย่างเมื่อไม่มีการ LOGIN เข้าใช้งาน
  • 14.  เมื่อ login ระดับจังหวัด(สสจ.) โดยมีสิทธิ PM สสจ.จะ แสดงข้อมูลในระดับจังหวัด ภาพตัวอย่างเมื่อ LOGIN เป็ น ระดับสสจ.
  • 15.  เมื่อ login ระดับสสอ. จะแสดงข้อมูลในระดับ PCU ที่มี ที่ตั้งของหน่วยงานในอาเภอเดียวกันกับ สสอ.นั้นๆ ไม่ รวมโรงพยาบาล ดังภาพ ภาพตัวอย่างเมื่อ LOGIN เป็ น ระดับสสอ.
  • 16.  เมื่อ login ระดับสิทธิ PM อาเภอ จะแสดงข้อมูลทั้ง อาเภอ(CUP) รวมโรงพยาบาลด้วย ภาพตัวอย่างเมื่อ LOGIN เป็ น ระดับอาเภอ
  • 17.  เมื่อ login ระดับสิทธิเป็ นผู้ใช้งานระดับหน่วยงาน ภาพตัวอย่างเมื่อ LOGIN เป็ น ระดับหน่วยงาน
  • 18.  เมื่อ login ระดับสิทธิเป็ นผู้ใช้งานระดับหน่วยงาน ภาพตัวอย่างเมื่อ LOGIN เป็ น ระดับหน่วยงาน
  • 19.  ระบบ Data-Exchange แบบใหม่ซึ่งอานวยความสะดวก ให้ผู้ใช้งานในการ Views ข้อมูลผ่านหน้าเว็บได้โดยไม่ ต้อง export ไฟล์ และยังเอื้อประโยชน์ในการควบคุม กากับข้อมูลแบบรายบุคคล แก่ผู้ใช้งานในแต่ละระดับ เช่นกัน คือ ผู้ใช้งาน PM จังหวัด สามารถ Views individual ได้ทั้งจังหวัด ผู้ใช้งาน PM อาเภอ สามารถ Views individual ได้ทั้งอาเภอ รวมโรงพยาบาล ผู้ใช้งานระดับสสอ. สามารถ Views individual ได้ทุก PCU ที่มีที่ตั้งอยู่ในอาเภอ เดียวกัน ไม่รวมโรงพยาบาล ผู้ใช้งานระดับหน่วยงาน สามารถ Views การคืนข้อมูลผ่านทุกเมนู รายงาน
  • 20.  ระบบ Data-Exchange แบบใหม่ซึ่งอานวยความสะดวก ให้ผู้ใช้งานในเมนูรายงาน การคืนข้อมูลผ่านทุกเมนู รายงาน
  • 21.  ระบบ Data-Exchange แบบใหม่ซึ่งอานวยความสะดวก ให้ผู้ใช้งานในเมนูรายงาน ภาพตัวอย่างการ VIEWS INDIV PMจังหวัด
  • 22. รู้วิธีประเมิน WHAT? รู้เป้าหมาย WHO? วิธีคิด 43 แฟ้ ม HDC ลงมือทา WHEN? รู้วิธีแก้ไข WHERE? Data Exchange รู้วิธีแก้ข้อมูลใน HIS ความร่วมมือ ของหน่วยงาน แนวคิดความสาเร็จการจัดการ ข้อมูล HDC
  • 23. ประเภทของรายงาน •แบบบริการ/กิจกรรม บริการ (work load, service base, hospital base) •แบบความครอบคลุม (coverage, community base, pop base)
  • 24. แบบบริการ/กิจกรรม (work load, service base, hospital base) คือ รายงานที่ประเมินจากการที่ ผู้ป่ วยหรือผู้รับบริการ ได้รับบริการจากหน่วยงานที่เป็ นผู้เก็บรวบรวมรายงานเท่านั้น (ที่หน่วยนั้นทาเอง) แบบความครอบคลุม (coverage, community base, pop base ) คือ รายงานที่ระบุว่า เป็ นความครอบคลุมของเป้ าหมาย ไม่ว่าเป้ าหมายจะได้รับบริการจากหน่วยงานใดๆ ซึ่งจะต้อง พิจารณาเป้ าหมายคือใคร เช่น ความครอบคลุมการได้รับ วัคซีน ของ เด็กอายุครบ 1 ปี ในเขตรับผิดชอบ ดังนั้น จะต้อง ประเมินจากเด็กครบ 1 ปี ในเขตรับผิดชอบ ณ ช่วงเวลาที่ ต้องการ ว่ามีเด็กกี่คนและได้รับวัคซีนครบทุกคนหรือไม่ โดย ไม่สนใจว่าจะได้รับบริการจากหน่วยงานใดก็ตาม ประเมินจาก ตัวเด็กเป็ นสาคัญ คาสาคัญของรายงานความครอบคลุม คือ “ของ” อะไร ซึ่งเป็ น ความต่าง รายงาน แบบความครอบคลุม กับ แบบบริการ
  • 25. Single Database หมายถึง กลุ่มของข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กัน นามา เก็บรวบรวมเข้าไว้ด้วยกันอย่างมีระบบและข้อมูลที่ประกอบกันเป็นฐานข้อมูลนั้น ต้อง ตรงตามวัตถุประสงค์การใช้งานขององค์กร ซึ่งมิได้เชื่อมโยงกับฐานอื่นๆ เป็น ฐานข้อมูลขององค์กรใดองค์กรหนึ่งๆ ตัวอย่างเช่น ฐานข้อมูลของโรงพยาบาล ที่ตั้งอยู่ ที่หน่วยบริการ Datacenter หมายถึง ศูนย์รวมของข้อมูลจานวนมากจากหลายๆแหล่งข้อมูล เข้ามาไว้ด้วยกัน ตัวอย่างเช่น ฐานข้อมูล Health Data Center ของ สานักงานสาธารณสุขจังหวัด ซึ่งรวมฐานข้อมูลจากโรงพยาบาลและหน่วยงานในสังกัด ความต่างระหว่าง Datacenter กับ Single Database
  • 26. ต้องมีระบบจัดการความซ้าซ้อนของข้อมูล ต้องมีระบบประมวลผลหาความเชื่อโยงของข้อมูล เพื่อลดภาระการบันทึก ข้อมูล ต้องมีระบบ Cleansing ข้อมูลไม่ให้เกิดขยะในระบบซึ่งจะส่งผลต่อ การเนื้อที่การจัดเก็บข้อมูล ซึ่งมีผลต่องบประมาณ ต้องสามารถให้บริการข้อมูลได้อย่างต่อเนื่อง ถูกต้อง ทันเวลา และน่าเชื่อถือ หลักการของ Database และ Datacenter ขนาดใหญ่
  • 27. การตัดความซ้าซ้อนของข้อมูล ประชากร กับรายงานความครอบคลุม ที่ต้องคิด เป้ าหมายและผลงาน ทาไมต้องตัดความซ้าซ้อนของประชากร เนื่องจากรายงานส่วนใหญ่ในระบบ HDC เป็นรายงานแบบความครอบคลุมของ ประชากรในเขตพื้นที่ ซึ่งหากระบุการเป็นประชากรในเขตพื้นที่ไม่ได้ เมื่อเกิดความ ซ้าซ้อนจะทาให้ระบบรายงานนับผิดพลาด ตัวอย่างเช่น หญิงตั้งครรภ์หนึ่งคนถูก register เป็นคนในเขต 3 หน่วยบริการ หากไม่ตัดความซ้าซ้อน หญิง ตั้งครรภ์รายนี้จะเป็นเป้าหมาย 3 หน่วยบริการเช่นกัน และที่สาคัญเมื่อนามาเป็น ภาพรวมของรายงานระดับจังหวัด จะทาให้มีหญิงตั้งครรภ์ในจังหวัด 3 คน แทนที่จะ เป็นเพียงคนๆเดียว เมื่อตัดความซ้าซ้อนแล้ว
  • 28. การตัดความซ้าซ้อนของข้อมูล ประชากร กับรายงานความครอบคลุม ที่ต้องคิด เป้ าหมายและผลงาน จากข้อเสนอในที่ประชุมที่โรงแรมเอเชียแอร์พอร์ต จังหวัดปทุมธานี เมื่อปี 2557 ซึ่งมี นักวิชาการ ด้านข้อมูล เจ้าหน้าที่ไอที แต่ละจังหวัด รวมถึงกรม กอง วิชาการ ระดับกระทรวงเข้าร่วมประชุม มี ข้อเสนอการใช้ข้อมูลจากแหล่งต่างๆ 3 ฐาน เพื่อลดความซ้าซ้อนของประชากร คือ ใช้ฐานข้อมูลประชากรทะเบียนราษฎร์ ของกระทรวงมหาดไทย ใช้ฐานข้อมูลประชากรสิทธิ์ประกันสุขภาพ สปสช.(DBPOP) ใช้ฐานข้อมูลประชากรจากการสารวจของหน่วยบริการ (PERSON 43 แฟ้ ม) ซึ่ง มติในที่ประชุม(เสียงส่วนใหญ่) เลือกใช้ PERSON 43 แฟ้ ม แบบมีเงื่อนไข
  • 29. สาเหตุที่มีมติเลือก ประชากรจากการสารวจ (PERSON 43 แฟ้ ม) ประชากรทะเบียนราษฎร์ มีการเคลื่อนย้าย แบบไม่ย้ายทะเบียนบ้านออก ทาให้เกิดการทางาน แล้วไม่ผ่านเกณฑ์ เพราะเป้าหมายไม่อยู่ในพื้นที่ ประชากรสิทธิ์ประกันสุขภาพ ก็เช่นเดียวกัน มีการคงไว้ของสิทธิ แต่ตัวไม่อยู่ทาให้พื้นที่ทางาน ไม่ได้เช่นกัน ประชากรจากการสารวจ (PERSON 43 แฟ้ ม) เป็น ประชากรที่หน่วยบริการเป็นผู้รายงาน เอง และสามารถลงไปไปปฏิบัติงานกับเป้าหมายได้จริง ทาให้เกิดความยุติธรรมต่อหน่วยบริการ การตัดความซ้าซ้อนของข้อมูล ประชากร กับรายงานความครอบคลุม ที่ต้องคิด เป้ าหมายและผลงาน
  • 30. การตัดความซ้าซ้อนของข้อมูล ประชากร กับรายงานความครอบคลุม ที่ต้องคิด เป้ าหมายและผลงาน เงื่อนไขการคัดความซ้าซ้อนของประชากรสารวจ(PERSON 43 แฟ้ ม)  จากนิยามสถานะบุคคล(TYPEAREA) ของแฟ้ ม PERSON ของ สนย. สามาถระบุได้ว่าประชากร ในเขตรับผิดชอบของหน่วยบริการ คือ ประชากรที่ TYPEAREA 1และ 3 เท่านั้น
  • 31. เงื่อนไขการคัดความซ้าซ้อนของประชากรสารวจ(PERSON 43 แฟ้ ม)(ต่อ)  จากข้อมูลจะพบว่า มีหน่วยบริการที่สารวจประชากรอย่างสม่าเสมอ และ ไม่สารวจเลย หรือ สารวจบางบางส่วน ทา ให้เกิดข้อมูลจากแฟ้ ม PERSON ซ้าซ้อนได้เช่นกัน ซึ่ง การตัดความซ้าซ้อนให้ถือว่า ข้อมูลที่ปรากฏในระบบ ฐานข้อมูลล่าสุด เป็นข้อมูลที่น่าเชื่อว่า เป็นการสารวจล่าสุด ดังนั้น การระบุความล่าสุดของข้อมูลประชากร คือ Fields D_UPDATE ซึ่งจะถูกเปลี่ยนแปลงมีมีการปรับปรุงข้อมูลที่เกี่ยวกับตัวประชากร เช่น ชื่อ นามสกุล สถานะบุคคล และจะไม่มีเปลี่ยนแปลงหากมารับบริการในครั้งต่อๆไป ที่ไม่ได้ปรับปรุงข้อมูลส่วนบุคคลที่ เกี่ยวข้องกับแฟ้ ม PERSON ข้อสรุปของเงื่อนไข PERSON TYPEAREA 1,3+D_UPDATE ล่าสุด อยู่ที่หน่วยบริการใด ถือว่าเป็นคนในเขตของหน่วยบริการนั้นๆ การตัดความซ้าซ้อนของข้อมูล ประชากร กับรายงานความครอบคลุม ที่ต้องคิด เป้ าหมายและผลงาน
  • 32. Person CID 3140600489098 ควรเป็ นของ หน่วยบริการไหน?
  • 36. สาเหตุที่ทาให้รายงาน HDC กับหน่วย บริการไม่เท่ากันปัญหาการนาเข้าไม่ได้เนื่องจากข้อมูลไม่ตรงโครงสร้าง ข้อมูลที่นาเข้าได้ แต่มีความซ้าซ้อนกับหน่วยบริการอื่น กฎเกณฑ์ของเงื่อนไขการประมวลผล จากเจ้าของรายงาน การประมวลผลแบบหน่วยงานเดียว กับ แบบหลายหน่วยบริการ องค์ประกอบในการประมวลผลต่างกัน การ Mapping รหัสต่างๆ จาก HIS เช่น Lab ในโปรแกรมของหน่วยบริการ หาก ไม่ถูกต้องจะทาให้ไม่มีข้อมูล Lab นั้นๆส่งออก รหัสการวินิจฉัย เป็นต้น การบันทึกเลขบัตรประชาชน ต้องบันทึกให้ถูกต้องตรงความเป็นจริงมากที่สุด ซึ่งเลขบัตร ประชาชนใช้ในการเชื่อมโยงข้อมูล ความผิดพลาดของ Code SQL
  • 41. ตัวอย่าง Error ที่ แจ้ง แฟ้มที่ Error Error ฟิวค์อะไร Error เรคคอร์ดไหน ตัวอย่างรายละเอียดข้อมูลที่นาเข้าไม่ สาเร็จ
  • 42.
  • 45. Time Line การฝากครรภ์และ การคลอด ตั้งครรภ์ ฝากครรภ์ตามเกณฑ์คุณภาพ คลอด เยี่ยมหลังคลอด และ วางแผนครอบครัว <12wks 16-20wks 24-28wks 30-34wks 36-40wks 42days ปัญหาในปัจจุบัน 1. หน่วยงานที่บันทึกคนในเขต กับ หน่วยที่รับฝากครรภ์ บันทึกเล 2. การฝากครรภ์ปัจจุบันส่วนใหญ่ฝากคลินิกที่ไม่ได้ส่ง 43 แฟ้ ม ก ในเขตรับผิดชอบเก็บความครอบคลุมมาบันทึกหรือไม่? 3. หากบันทึกแล้วข้อมูลถูกส่งออกมาใน 43 แฟ้ ม เข้าสู่ระบบ HDC มาบันทึกเมื่อคลอดแล้ว ย้อนประวัติไปตั้งแต่ฝากครรภ์ครั้งแรก ข้อมูลในระบบ 43 แฟ้ ม และ HDC ก็จะไม่มีด้วย 4. ส่วนใหญ่ผู้ปฏิบัติงานจะมองแต่ผลงานใน HIS ตัวเองไม่มองเป้ าห
  • 47. แฟ้ มหลักของอนามัยมารดา ขณะตั้งครรภ์ แฟ้ ม ANC เก็บประวัติทุกครั้งที่มาฝากครรภ์ และสามารถเก็บที่ฝากครรภ์ที่อื่นมาลงแบบความ ครอบคลุมได้ แฟ้ ม PRENATAL เก็บประวัติทั่วไปของหญิง ตั้งครรภ์หนึ่งคน หนึ่งท้อง จะมีเพียงหนึ่งรายการ (1 Record Per Gravida ) การคลอด/สิ้นสุดการตั้งครรภ์ แฟ้ ม LABOR ###เป็ นแฟ้ มหลักในการเชื่อมโยง ประวัติ### หลังคลอด แฟ้ ม POSTNATAL เก็บประวัติการดูแลมารดา หลังคลอด หนึ่งคน หนึ่งท้อง จะมีเพียงหนึ่ง รายการ(1 Record Per Gravida ) เก็บแบบความ
  • 48. ข้อมูลสาคัญในแต่ละแฟ้ มข้อมูล อนามัยมารดาแฟ้ ม ANC  DATE_SERV วันที่รับบริการฝากครรภ์  GRAVIDA ครรภ์ที่ (ท้อง 1,2,3)  GA อายุครรภ์ณ วันที่รับบริการฝากครรภ์  ANCPLACE รหัสสถานพยาบาลที่รับบริการฝากครรภ์ แฟ้ ม PRENATAL  GRAVIDA ครรภ์ที่ (ท้อง 1,2,3)  DATE_HCT วันที่ตรวจ HCT  HCT_RESULT ผล HCT
  • 49. แฟ้ ม LABOR  GRAVIDA ครรภ์ที่ (ท้อง 1,2,3)  BDATE วันคลอด / วันสิ้นสุดการตั้งครรภ์  BRESULT ผลสิ้นสุดการตั้งครรภ์ ICD -10 TM  BHOSP รหัสสถานพยาบาลที่คลอด  BTYPE วิธีการคลอด/สิ้นสุดการตั้งครรภ์ 1 = NORMAL, 2 = CESAREAN, 3 = VACUUM, 4 = FORCEPS,5 = ท่าก้น, 6 = ABORTION  LBORN จานวนเด็กเกิดมีชีพ  SBORN จานวนเด็กเกิดไร้ชีพ ข้อมูลสาคัญในแต่ละแฟ้ มข้อมูล อนามัยมารดา
  • 50. แฟ้ ม POSNATAL  GRAVIDA ครรภ์ที่ (ท้อง 1,2,3)  BDATE วันคลอด / วันสิ้นสุดการตั้งครรภ์  PPCARE วันที่ดูแลมารดาหลังคลอด  PPPLACE รหัสสถานพยาบาลที่ดูแลมารดา แฟ้ ม FP  DATE_SERV วันที่รับบริการ  FPTYPE รหัสวิธีการคุมกาเนิด 1 = ยาเม็ด , 2 = ยาฉีด , 3 = ห่วงอนามัย , 4 = ยาฝัง, 5 = ถุงยางอนามัย,6 = หมันชาย, 7 = หมันหญิง ข้อมูลสาคัญในแต่ละแฟ้ มข้อมูล อนามัยมารดา
  • 51. ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรก ก่อนหรือเท่ากับ 12 สัปดาห์  B หมายถึง จานวนหญิงไทยในเขตรับผิดชอบที่สิ้นสุด การตั้งครรภ์ทั้งหมด (ฐานข้อมูล 43 แฟ้ ม) LABOR ทั้งที่ คลอดและแท้งบุตร  A หมายถึง จานวนหญิงตาม B ที่ฝากครรภ์ครั้งแรกเมื่อ อายุครรภ์<= 12 สัปดาห์(ข้อมูลจากสมุดสีชมพูบันทึก ลงใน 43 แฟ้ ม) ANC การประมวลผล  เนื่องจาก LABOR สามารถเก็บมาบันทึกแบบความ ครอบคลุมได้ ความน่าเชื่อถือของข้อมูลการคลอด นิยามให้เชื่อถือข้อมูลที่โรงพยาบาลเป็ นหน่วยรายงาน ก่อนเสมอ  B: นับตาม CID ของหญิงไทยทุกคนในเขตรับผิดชอบที่ อยู่ในแฟ้ ม LABOR ที่ BDATE อยู่ในช่วงปี งบประมาณ
  • 52. ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับการดูแลก่อน คลอด 5 ครั้ง ตามเกณฑ์  B หมายถึง จานวนหญิงไทยในเขตรับผิดชอบ สิ้นสุดการ ตั้งครรภ์ด้วยการคลอดทั้งหมด (ฐานข้อมูล 43 แฟ้ ม) LABOR (BTYPE ไม่เท่ากับ 6)  A หมายถึง จานวนหญิงตาม B ที่ฝากครรภ์คุณภาพ ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์(ฐานข้อมูล 43 แฟ้ ม) ANC การประมวลผล เชื่อมโยงระหว่างแฟ้ ม LABOR และ ANC ด้วย CID + Gravida ตรวจสอบการฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามช่วง GA ที่กาหนด ครั้งที่ 1 เมื่ออายุครรภ์ ≤ 12 สัปดาห์ ครั้งที่ 2 เมื่ออายุครรภ์ 18 สัปดาห์ + 2 สัปดาห์ ครั้งที่ 3 เมื่ออายุครรภ์ 26 สัปดาห์ + 2 สัปดาห์ ครั้งที่ 4 เมื่ออายุครรภ์ 32 สัปดาห์ + 2 สัปดาห์ ครั้งที่ 5 เมื่ออายุครรภ์ 38 สัปดาห์ + 2 สัปดาห์
  • 53.
  • 54. การนัดหมายรับบริการ ANC 5 ครั้งที่ ควรนัดตั้งแต่วันนี้ เนื่องจากการคานวณผลงานนั้น คานวณเป้ าหมายจาก มารดาที่คลอดแล้วในปี งบประมาณ แล้วมองประวัติการ ฝากครรภ์ย้อนหลังไป 9-10 เดือน เพื่อหา ANC1, ANC2,ANC3,ANC4,ANC5 ตามเกณฑ์กาหนด(เกณฑ์ คุณภาพและเกณฑ์สิทธิประโยชน์) ดังนั้นหากไม่เริ่มปรับ ระบบการนัดหมายตั้งแต่วันนี้ เมื่อเริ่มปี งบประมาณ 2563 เมื่อกรมอนามัยสั่งปรับเกณฑ์ใหม่ จะทาให้ผลงาน ย้อนหลังไม่ผ่านอยู่ดี แล้วคนที่ยังไม่คลอดตอนนี้ จะนัด อย่างไร จึงขอให้หน่วยบริการประบการนัดหมายตาม ข้างล่างนี้ เพื่อให้ปัจจุบันก็นัดแล้วผ่านเกณฑ์ และในปี 2563 ก็ผ่านเกณฑ์ด้วยเช่นกัน ****ย้านะครับทาไปข้างหน้า นัดหมายไปข้างหน้า ไม่ต้อง ไปแก้ข้อมูลย้อนหลัง ****การนัดหมายตามภาพข้างล่างนี้ จะใช้จนสิ้นปี งบ 2562 เท่านั้น หลังจากนั้นก็นัดหมายตามประกาศของกรม
  • 56. ร้อยละของหญิงหลังคลอดได้รับการดูแลครบ 3 ครั้งตามเกณฑ์  B หมายถึง จานวนหญิงไทยในเขตรับผิดชอบ สิ้นสุดการ ตั้งครรภ์ด้วยการคลอดครบ 42 วันทั้งหมดใน ปี งบประมาณ (ฐานข้อมูล 43 แฟ้ ม) LABOR (BTYPE ไม่ เท่ากับ 6)  A หมายถึง จานวนหญิงตาม B ที่ได้รับการดูแลครบ 3 ครั้งตามเกณฑ์ การประมวลผล  B: นับตาม CID ของหญิงไทยทุกคนในเขตรับผิดชอบที่ อยู่ในแฟ้ ม LABOR ที่ BDATE+42 อยู่ในช่วง ปี งบประมาณ (DISTINCT CID+BDATE) ยึดข้อมูล โรงพยาบาลเป็ นหลัก  A : ผ่าน 3 ครั้งตามเกณฑ์ประเมินจากแฟ้ ม POSTNATAL ตามระยะเวลาตามด้านล่างนี้ ครั้งที่ 1 คือเยี่ยมหลังคลอดอายุบุตรไม่เกิน 7 วันนับถัด
  • 57. ร้อยละการคุมกาเนิดของหญิงไทยตั้งครรภ์ อายุน้อยกว่า 20 ปี  B หมายถึง จานวนหญิงไทยอายุน้อยกว่า 20 ปี คลอด จากฐานข้อมูล 43 แฟ้ ม LABOR ตัดความซ้าซ้อน ด้วย cid+bdate  A หมายถึง จานวนหญิงตาม B ได้รับบริการคุมกาเนิด ภายใน 42 วัน การประมวลผล  B: นับตาม CID ของหญิงไทยอายุน้อยกว่า 20 ปี ที่อยู่ใน แฟ้ ม LABOR ที่ BDATE อยู่ในช่วงปี งบประมาณ (DISTINCT CID+BDATE) นับเฉพาะที่โรงพยาบาล รายงาน  เชื่อมโยงแฟ้ ม FP ด้วย CID ตรวจสอบว่ามีการรับบริการ คุมกาเนิดใน 42 วันหรือไม่จาก FP.DATE_SERV – LABOR.BDATE (การคุมกาเนิดทุกวิธี)
  • 58. ร้อยละของหญิงไทยอายุน้อยกว่า 20 ปี หลังคลอด หรือหลังแท้งที่คุมกาเนิดได้รับการคุมกาเนิดด้วย วิธีกึ่งถาวร (ยาฝังคุมกาเนิด/ห่วงอนามัย)  B หมายถึง จานวนหญิงไทยอายุน้อยกว่า 20 ปี คลอด จากฐานข้อมูล 43 แฟ้ ม LABOR ตัดความซ้าซ้อน ด้วย cid+bdate ที่ได้รับการคุมกาเนิดด้วยวิธีสมัยใหม่ ภายใน 42 วัน  A หมายถึง จานวนหญิงตาม B ได้รับบริการคุมกาเนิด ด้วยวิธีกึ่งถาวร(ยาฝังคุมกาเนิด/ห่วงอนามัย) การประมวลผล  B: นับตาม CID ของหญิงไทยอายุน้อยกว่า 20 ปี ที่อยู่ใน แฟ้ ม LABOR ที่ BDATE อยู่ในช่วงปี งบประมาณ (DISTINCT CID+BDATE) นับเฉพาะที่โรงพยาบาล รายงานเชื่อมโยงแฟ้ ม FP ด้วย CID ตรวจสอบว่ามีการ รับบริการคุมกาเนิดใน 42 วันหรือไม่จาก FP.DATE_SERV – LABOR.BDATE (การคุมกาเนิดทุกวิธี)
  • 59. การเฝ้ าระวังอัตราการคลอดมีชีพใน หญิงอายุ 15-19 ปี  B หมายถึง จานวนหญิงอายุ 15 - 19 ปี ทั้งหมด ในเขต รับผิดชอบ(ประชากรจากการสารวจ TypeArea=1,3)  A หมายถึง จานวนการคลอดมีชีพโดยหญิงอายุ 15 - 19 ปี (จากแฟ้ ม Labor) ดูข้อมูลจากจานวนเด็กเกิดมีชีพ (LBORN) การประมวลผล  นับรวมจานวน LBORN จากแฟ้ ม LABOR เมื่อ CID เป็ น หญิงในเขตรับผิดชอบ อายุ 15-19 ปี นับอายุเต็มไม่สนใจ เศษ
  • 60. การเฝ้ าระวังอัตราการคลอดมีชีพใน หญิงอายุ 10-14 ปี  B หมายถึง จานวนหญิงอายุ 10 – 14 ปี ทั้งหมด ในเขต รับผิดชอบ(ประชากรจากการสารวจ TypeArea=1,3)  A หมายถึง จานวนการคลอดมีชีพโดยหญิงอายุ 10 - 14 ปี (จากแฟ้ ม Labor) ดูข้อมูลจากจานวนเด็กเกิดมีชีพ (LBORN) การประมวลผล  นับรวมจานวน LBORN จากแฟ้ ม LABOR เมื่อ CID เป็ น หญิงในเขตรับผิดชอบ อายุ 10-14 ปี นับอายุเต็มไม่สนใจ เศษ
  • 61. ร้อยละการตั้งครรภ์ซ้าในหญิงอายุน้อย กว่า 20 ปี (PA)  B หมายถึง จานวนหญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี ที่มารับ บริการด้วยการคลอด/แท้งบุตร จากแฟ้ ม LABOR  A หมายถึง จานวนหญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี ที่มารับ บริการด้วยการคลอด/แท้งบุตรเป็ นการตั้งครรภ์ครั้งที่ 2 ขึ้นไป จากแฟ้ ม LABOR การประมวลผล  การตั้งครรภ์ครั้งที่ 2 ขึ้นไป ประมวลผลจากหญิงตั้งครรภ์ จากแฟ้ ม LABOR ที่มี Gravida > 1
  • 62. ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ได้รับยา เม็ดเสริมไอโอดีน  B หมายถึง จานวนหญิงตั้งครรภ์ที่มารับบริการ  A หมายถึง จานวนหญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับยาเม็ดเสริม ไอโอดีน การประมวลผล  B: หญิงตั้งครรภ์สัญชาติไทยทุกรายที่มารับบริการฝาก ครรภ์ในปี งบประมาณ  A: หญิงตั้งครรภ์สัญชาติไทยทุกรายที่ได้รับยาเม็ดเสริม ไอโอดีน รหัสยา 24 หลักตามสานักโภชนาการ กรม อนามัย กาหนดดังนี้ 201120320037726221781506, 201110100019999920381199, 101110000003082121781506, 201110100019999920381341,
  • 64. ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ได้รับยาเม็ดเสริมไอโอดีน ธาตุ เหล็ก และกรดโฟลิก  รายงานแบบเดิม รายงานนี้เป็นแบบ Workload กล่าวคือ เป้าหมายจึงเป็นหญิงมีครรภ์ที่มา ฝากครรภ์ในหน่วยบริการจริงๆ ไม่นับรวมการเอาข้อมูลการฝากครรภ์จากที่อื่น มาบันทึกแบบความครอบคลุม(ถ้าไม่ได้ให้บริการเอง จะไม่ถูกนับเป้าหมายใน รายงานข้อนี้) โดย ข้อรวม B,A ไม่สามารถเอาผลจาก ไตรมาสต่างๆมารวมกันได้เนื่องจาก1คนอาจจะรับ ้
  • 67. ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ได้รับยาเม็ดเสริม ไอโอดีน คิดทั้ง 2 แนวทาง ไม่ได้นับทุกครั้งที่มานับคนที่มาในปี ได้รับ 1 ครั้งก็ผ่าน แต่ถ้ากรมมองไตรมาส ก็เป็นคน ต่อไตรมาส ใน 1 ไตรมาสหากมาและได้รับ 1 ครั้งก็ผ่าน สิ่งสาคัญคือ มารับ บริการควรจ่ายให้ได้อย่างน้อย 1 ครั้งต่อไตรมาส แต่ก็มีบางรพ. บอกว่ามาครั้งเดียวและไม่จ่าย และไม่มาอีกเลยก็เลยมีเป้าหมายไม่มีผลงาน 100% ยาก ก็เลยเกิดข้อใหม่ขึ้นมาอีกหนึ่งข้อคือ coverage การได้รับ ดูคนคลอดแล้ว ย้อนกลับไปดูว่าได้รับขณะตั้งครรภ์ได้รับสักครั้งไหม
  • 68. DATA EXCHANGE ความครอบคลุมการได้รับยาเม็ดเสริมไอโอดีน ธาตุเหล็ก และกรดโฟลิก ของหญิงตั้งครรภ์ที่คลอดบุตรแล้วในเขตรับผิดชอบ
  • 69. แฟ้ มหลักของอนามัยเด็ก/ทารก แฟ้ ม NEWBORN เก็บข้อมูลประวัติการ คลอดของทารกจากหญิง ในเขต รับผิดชอบ หรือทารกที่คลอดที่หน่วย บริการ แฟ้ ม NEWBORNCARE เก็บข้อมูลการ ดูแลทารกหลังคลอดของหญิงตั้งครรภ์ใน เขตรับผิดชอบ แฟ้ ม NUTRITION เก็บข้อมูลการวัดระดับ โภชนาการและพัฒนาการเด็กอายุ 0-5 ปี และนักเรียนในเขตรับผิดชอบ แฟ้ ม SPECIALPP ข้อมูลการให้บริการ
  • 70. ข้อมูลสาคัญในแต่ละแฟ้ มข้อมูล อนามัยเด็ก/ทารก แฟ้ ม NEWBORN BDATE วันที่คลอด BHOSP รหัสสถานพยาบาลที่คลอด BTYPE วิธีการคลอด BWEIGHT น้าหนักแรกคลอด(กรัม) ASPHYXIA สภาวการณ์ขาดออกซิเจน TSH ได้รับการตรวจ TSH หรือไม่ TSHRESULT ผลการตรวจ TSH
  • 71. แฟ้ ม NEWBORNCARE BDATE วันเดือนปี ที่คลอด BCARE วันที่ดูแลลูก BCPLACE รหัสสถานพยาบาลที่ดูแลลูก FOOD อาหารที่รับประทาน ข้อมูลสาคัญในแต่ละแฟ้ มข้อมูล อนามัยเด็ก/ทารก
  • 72. ข้อมูลสาคัญในแต่ละแฟ้ มข้อมูล อนามัยเด็ก/ทารก แฟ้ ม NUTRITION DATE_SERV วันที่ให้บริการ NUTRITIONPLACE สถานที่รับบริการ WEIGHT น้าหนัก(กก.) HEIGHT ส่วนสูง (ซม.) FOOD อาหารที่รับประทานปัจจุบัน
  • 73. แฟ้ ม SPECIALPP DATE_SERV วันที่ให้บริการ PPSPECIAL รหัสบริการส่งเสริมป้ องกัน เฉพาะ PPSPLACE สถานที่รับบริการ ข้อมูลสาคัญในแต่ละแฟ้ มข้อมูล อนามัยเด็ก/ทารก
  • 74. ร้อยละของทารกแรกเกิดน้าหนัก น้อยกว่า 2,500 กรัม B หมายถึง จานวนเด็กที่คลอดใน ปี งบประมาณ A หมายถึง จานวนเด็กแรกเกิดน้าหนัก น้อยกว่า 2500 กรัม การประมวลผล จานวนเด็กที่คลอดจากแฟ้ ม NEWBORN Typearea 1,3 DISCHARGE 9 น้าหนักแรกคลอดจากแฟ้ ม NEWBORN
  • 75. ร้อยละของเด็กแรกเกิด - ต่ากว่า 6 เดือน กินนมแม่อย่างเดียว B หมายถึง เด็กแรกเกิด - ต่ากว่า 6 เดือนที่แม่ หรือผู้เลี้ยงดูได้ถูกสอบถามทั้งหมด A หมายถึง เด็กแรกเกิด - ต่ากว่า 6 เดือน กิน นมแม่อย่างเดียว การประมวลผล B: เด็กที่มารับบริการจากแฟ้ ม NUTRITION ใน ปี งบประมาณที่ FOOD เป็ น 0,1,2,3,4 A: เด็กที่กินนมแม่อย่างเดียว นับจาก FOOD เป็ น 1
  • 76. ผลการดาเนินการการคัดกรองพัฒนาการ เด็กตามกลุ่มอายุ  เป้ าหมายคัดกรอง เด็กที่อายุ 9,18,30,42 เดือน หากครบ วันแรกในเดือนไหน นับเป็ นเป้ าหมายในเดือนนั้น และ ต้องคัดกรองภายใน 30 วันหากเลยกาหนดจะไม่นับเป็ น ผลงาน แต่นับเป็ นเป้ าหมาย  ผลงานคัดกรอง เด็กที่อายุครบ 9,18,30,42 เดือนตาม เป้ าหมาย เมื่อได้รับการคัดกรองภายในไม่เกิน 30 วันหลัง อายุครบ ผลงานจะปรากฏในเดือนที่เป็ นเป้ าหมาย  ผลการคัดกรอง ครั้งแรก สมวัย ครั้งแรก รหัส 1B260 สงสัยล่าช้าต้องกระตุ้นภายใน 30 วัน รหัส 1B261 สงสัยล่าช้าต้องส่งต่อทันที รหัส 1B262  ผลการคัดกรองหลังติดตามกระตุ้นภายใน 30 วัน หลังได้ รหัส 1B261 สมวัย หลังติดตาม รหัส 1B260
  • 77. ร้อยละของเด็กอายุ 0 – 5 ปี มี พัฒนาการสมวัย B หมายถึง จานวนเด็กไทยอายุ 9, 18, 30, และ 42 เดือน ได้รับการประเมินพัฒนาการตาม เกณฑ์ ได้รับการตรวจพัฒนาการใน ปี งบประมาณ A หมายถึง จานวนเด็กไทยอายุ 9, 18, 30, และ 42 เดือน ได้รับการประเมินพัฒนาการตาม เกณฑ์และมีพัฒนาการสมวัย รวมกับสมวัย หลังการติดตาม 30 วัน การประมวลผล เด็กจากแฟ้ ม PERSON คานวณอายุจากวัน เดือนปี เกิด
  • 78. ปัญหางานอนามัยแม่และเด็กใน ระบบ43แฟ้ ม คาถามยอดฮิตทาไมคีย์แล้วผลงานไม่ขึ้น?  1.ข้อมูลส่งออกแล้วไม่มีเป้ าหมายและผลงานใน HDC ?  2.ผลการคลอดและครรถ์ที่คลอดไม่ถูกต้อง ?  3.อะไรที่ต้องใช้ DATA_CORRECT ลบ และทาไมต้องลบ ?  4.และคาถามอีกมากมาย ต่างๆนาๆ  เป็ นเรื่องที่หน่วยบริการและคนที่รับผิดชอบงานอนามัยแม่และเด็ก ควรจะเข้าใจ เช่น รพสต กับ รพ ลงวันที่ ANC ไม่ตรงกัน GA ที่เป็ น อายุครรภ์ไม่ตรงกัน ผิดจนยาวไปถึงวันที่คลอด BDATE และครรภ์ที่ คลอดไม่ตรงกัน GRAVIDA ทาให้เกิดความซ้าซ้อนในระบบ HDC จะ ไม่นาผลเหล่านี้มาคิดรบกวนทุกท่านไปตรวจเช็คและตกลงกันให้ เรียบร้อยนะครับเป้ าหมายและผลงานท่านถึงขึ้นในระบบตัวชี้วัด  สุดท้ายนี้งานจะเกิดขึ้นได้ท่านต้องประสานงานกันระหว่างหน่วย บริการทุกระดับ เช่น สมุดสีชมพู การพูดคุยผ่าน PM หรือ คณะกรรมการ MCH Borad รวมถึงการใช้เทคโนโลยีแฟ้ ม DATA_CORRECT มาช่วยให้ผลข้อผิดพลาดนั้นหายไป ซึ่งทั้งหมด ทั้งมวลจะเกิดได้ต้องอาศัยทุกท่านนะครับ
  • 79. วิธีดู ERROR ANC และ LABOR
  • 80. ดู ERROR ANC และ LABOR (ต่อ)
  • 81. ดู ERROR ANC และ LABOR (ต่อ)
  • 82. ดู ERROR ANC และ LABOR (ต่อ)
  • 83. ความเกียวกับความสัมพันธ ์ของ 2 แฟ้ มที่ว่า เกี่ยวกับงาน "อนามัยแม่และ เด็ก" MCH ได้แก่ Labor และ Newborn #LABOR VERSION 2.3 (ตุลาคม 2560) นิยามข้อมูล:ข้อมูลประวัติการคลอด หรือการสิ้นสุดการตั้งครรภ์ ของหญิงคลอดในเขต รับผิดชอบ และ/หรือหญิงคลอดผู้มารับบริการ #NEWBORN VERSION 2.3 (ตุลาคม 2560) นิยามข้อมูล:ข้อมูลประวัติการคลอดของทารกจากหญิง ในเขตรับผิดชอบ หรือทารกที่คลอ ดที่หน่วย บริการ #มีสาเหตุอะไรบ้างที่ข้อมูล 2 ส่วนนี้ ไม่เท่ากัน หรือน้อยกว่าความเป็ นจริง #มีแม่ไม่มีลูก คีย์แม่ไม่คีย์ลูก คีย์แม่ที่หนึ่ง คีย์ลูกอีกที่หนึ่ง (นี่ยังไม่รวมเอาเลข CID GEN ให้ลูก แล้วไม่ได้แก้ไขจะทาอย่างไร จากตัวอย่าง #เขตนี้ (ขออนุญาต ยกตัวอย่างเขตฯ 3) ลูกหายไป 2,000 กว่าคน แล้วหน่วยงานท่านล่ะ
  • 84. เมนูสรุปจานวน 43 แฟ้ ม เพื่อหา จานวนแม่และลูกในระบบ HDC
  • 93. ข้อควรพึ่งระวัง ต้องมี Provider ใน ระบบ HDC เท่านั้นจึงจะดูเมนูนี้ได้ เหมือนทา DATA_CORRECT