SlideShare a Scribd company logo
1 of 13
ค ว า ม รู้ เ กี่ ย ว กั บ ภ า พ ย น ต ร์ ห น้ า | 1
ภาพยนตร์เบื้องต้น | พิพิษณ์ สิทธิศักดิ์ | Last Update : 4 มี.ค. 2555
๑.๔ คุณลักษณะ บทบาทหน้าที่ และอิทธิพลของภาพยนตร์
๑.๔.๑ คุณลักษณะพิเศษของภาพยนตร์
ภาพยนตร์แต่ละเรื่องกว่าจะสร้างเสร็จสมบูรณ์ได้ ต้องอาศัยเทคนิค ความรู้ความสามารถและ
เงินลงทุนอย่างสูง แม้ภาพยนตร์เรื่องที่ถือว่าสร้างได้ง่ายๆ ก็ต้องลงทุนนับล้านบาทขึ้นไปสาหรับการสร้าง
ภาพยนตร์ในปัจจุบัน แต่หากเป็นเรื่องที่ต้องใช้ฉากและการแสดงที่ยุ่งยาก มีเทคนิคพิสดารต่างๆ มาประกอบ
การสร้างภาพยนตร์เรื่องนั้นๆ จะต้องลงทุนเป็นเงินนับร้อยล้านบาททีเดียว ซึ่งนั่นหมายถึงความพยายามอย่าง
สูงยิ่งของคนกลุ่มหนึ่งที่จะถ่ายทอดเรื่องราว เหตุการณ์ ศิลปะ ความสามรถ ความรู้สึกนึกคิดของตนไปสู่
สาธารณชน โดยอาศัยภาพยนตร์เป็นสื่อ ไม่ว่าฝ่ายผู้สร้างภาพยนตร์จะมีวัตถุประสงค์ในการสร้างภาพยนตร์แต่
ละเรื่องไปในแนวทางใด ก็มักจะบรรลุจุดประสงค์ตามความต้องการของผู้สร้างเสมอ โดยเฉพาะจุดประสงค์
ด้านการขายความบันเทิง ดังนั้นหากใช้ภาพยนตร์เป็นสื่อสาหรับการศึกษา ก็น่าเชื่อว่าภาพยนตร์จะสามารถ
ถ่ายทอดความรู้ความคิดที่เป็นประโยชน์ไปสู่ประชาชนอย่างกว้างขวาง ภาพยนตร์สามารถถ่ายทอดเรื่องราว
ต่างๆ ให้ผู้ชมเข้าใจ หรือเกิดความซาบซึ้งได้ดีกว่าสื่อประเภทอื่น เนื่องจากภาพยนตร์เป็นสื่อที่ลักษณะพิเศษ
บางประการ ซึ่งเกิดจากปัจจัยสนับสนุนหลายอย่าง คือคุณสมบัติทางกายภาพของภาพยนตร์ การใช้เงินลงทุน
สูง ในการสร้างภาพยนตร์ใช้การแสดงที่สมจริง สามารถใช้เทคนิคพิเศษในการสร้างภาพเหมือนจริงมีคุณสมบัติ
ในการสร้างจินตนาการ
๑) คุณลักษณะทางกายภาพ ได้แก่ คุณสมบัติทางด้านภาพและเสียงของภาพยนตร์ที่ดีเด่น
กว่าสื่อประเภท อื่นๆ ทาให้ภาพยนตร์สามารถถ่ายทอดเหตุการณ์ ข้อเท็จจริงต่างๆ ออกมาให้ศึกษาเข้าใจได้
อย่างดีเยี่ยม คุณลักษณะทางกายภาพด้านต่างๆ ของภาพยนตร์ได้แก่
- เป็นภาพเคลื่อนไหว ที่สามารถเปลี่ยนแปลงให้เกิดการเคลื่อนไหวในลักษณะต่างๆ เช่น
ให้เคลื่อนไวเร็วกว่าที่เป็นจริง ให้เคลื่อนไหวตามความเป็นจริงหรืออาจทาให้เคลื่อนไหวช้ากว่าที่เป็นจริงก็ได้
- คุณภาพของสี ฟิล์มภาพยนตร์สามารถถ่ายทอดสีออกมาได้อย่างสมบูรณ์ตามความ
เป็นจริง และสามารถดัดแปลงแต่งเติมสีของภาพได้ตามต้องการ
- ความคมชัด เนื่องจากภาพยนตร์ทั่วไปใช้ฟิล์มขนาดใหญ่ คุณภาพสูงประกอบกับ
คุณภาพของอุปกรณ์ในการถ่ายภาพและฉายภาพทาให้ได้ภาพที่มี ความคมชัดสูงซึ่งภาพจากระบบโทรทัศน์ใน
ปัจจุบันไม่สามารถทาได้
- ขนาดของภาพ สามารถทาให้มีขนาดใหญ่ได้ตามต้องการ ภาพยนตร์ทั่วไปซึ่งใช้ฟิล์ม
ขนาด 35 ม.ม. ถ่ายและฉายด้วยระบบจอกว้างต่างๆ ก็สามารถฉายให้ภาพขนาดใหญ่เพียงพอสาหรับการชม
ค ว า ม รู้ เ กี่ ย ว กั บ ภ า พ ย น ต ร์ ห น้ า | 2
ภาพยนตร์เบื้องต้น | พิพิษณ์ สิทธิศักดิ์ | Last Update : 4 มี.ค. 2555
โดยทั่วไป แต่หากต้องการให้มีขนาดใหญ่เป็นพิเศษ ก็สามารถทาได้โดยใช้ฟิล์มถ่ายและฉายในระบบ 65/70 ม.
ม.
- ระบบเสียงภาพยนตร์ ซึ่งสามารถใช้ระบบเสียงธรรมดา หรืออาจใช้ระบบเสียงแบบ
พิเศษสาหรับภาพยนตร์โดยเฉพาะ ทาให้ได้เสียงที่น่าตื่นเต้นเร้าใจมากขึ้น หลายสิบปีที่ผ่านมา ระบบการสร้าง
ภาพของภาพยนตร์ ไม่มีการเปลี่ยนแปลงมากนัก แต่ระบบเสียงเปลี่ยนแปลงไปมาก และใช้ระบบเสียงแบบ
ใหม่ที่ดีกว่า เป็นสิ่งจูงใจผู้ชม
๒) การลงทุนสาหรับภาพยนตร์ การสร้างภาพยนตร์โดยทั่วไปซึ่งเป็นภาพยนตร์สาหรับการ
บันเทิงเป็นธุรกิจ ที่ใช้เงินลงทุนค่อนข้างสูง ภาพยนตร์ที่มีลักษณะพิเศษบางเรื่องอาจลงทุนนับพันล้านบาทเพื่อ
ใช้จ่ายเกี่ยว กับผู้แสดงและวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ สิ่งที่แสดงให้เห็นว่าการสร้างภาพยนตร์บางเรื่องจะต้องใช้เงิน
ลงทุนจานวนมาก เช่น
- การใช้ดาราผู้แสดงที่มีชื่อเสียง ค่าตัวสูง
- การใช้ผู้แสดงพร้อมกันนับพันนับหมื่นคน และใช้เครื่องแต่งกายที่ทาขึ้นโดยเฉพาะ
- การสร้างฉากที่ต้องใช้วัสดุอุปกรณ์ หรือยานพาหนะจานวนมาก
- การสร้างเหตุการณ์จากของจริงที่มีการสูญเสียมากๆ เช่น อุบัติเหตุรถชน ไฟไหม้ ฯลฯ
- การสร้างเทคนิคจาลองต่างๆ
๓) การแสดงที่สมจริง
การแสดงในภาพยนตร์ มีพื้นฐานมาจากแสดงละคร ผู้แสดงโดยทั่วไปมีความสามารถอย่างสูงใน
การถ่ายทอดอารมณ์ ความรู้สึก ของตัวละครออกมาให้ผู้ชมเข้าใจได้อย่างลึกซึ้ง ประกอบเทคนิคการสื่อ
ความหมายทางด้านภาพและเสียงของภาพยนตร์ ที่ต้องอาศัยมุมกล้อง แสง การตัดต่อ การให้เสียง ได้อารมณ์
ตามที่ต้องการ ซึ่งสิ่งเหล่านี้มีอิทธิพลอย่างสูงต่อความรู้สึกและเข้าใจของผู้ชม ดังนั้น การแสดงในภาพยนตร์ จึง
ถือเป็นเรื่องสาคัญ ผู้สร้างภาพยนตร์มักจ้างผู้แสดงและผู้กากับที่มีความสามารถสูง ซึ่งจาเป็นต้องใช้เงินลงทุน
สูงด้วย
๔) การสร้างภาพด้วยเทคนิคพิเศษ หมายถึง การใช้เทคนิควิธีการ หรือเครื่องมือใดๆ สร้าง
ภาพของภาพยนตร์จากสิ่งจาลองให้เหมือนจริง ด้วยเหตุผลและความจาเป็นด้านต่างๆ เช่น ความปลอดภัย
การประหยัด สถานการณ์ที่ในความจริงเป็นไปไม่ได้ หรือสถานการณ์ที่แสดงให้เห็นชัดเจนมากกว่าใช้
สถานการณ์จริง ตัวอย่างของภาพต่างๆ ที่สร้างด้วยเทคนิคพิเศษ ได้แก่ (พจนี นิราศรพ ม.ป.ท. : 138 หน้า)
ค ว า ม รู้ เ กี่ ย ว กั บ ภ า พ ย น ต ร์ ห น้ า | 3
ภาพยนตร์เบื้องต้น | พิพิษณ์ สิทธิศักดิ์ | Last Update : 4 มี.ค. 2555
- ภาพแสดงความสามารถ อิทธิฤทธิ์ ปาฏิหาริย์ เช่น ภาพยนตร์กาลังภายใน การปีนเขา
ตกจากที่สูง การเหาะเหินเดินอากาศ การขับเครื่องบินผาดโผน
- ภาพคนที่ถูกตกแต่ง (Makeup) ให้มีหน้าตาอัปลักษณ์ รอยแผลจากอาวุธ ภาพผี การ
แต่งหน้าให้เป็นคนหนุ่มหรือแก่
- ภาพวัตถุหรือสัตว์ขนาดใหญ่ เช่น ปลาฉลาม ยานอวกาศ ไดโนเสาร์ เรือดาน้า สัตว์
ประหลาดต่างๆ ซึ่งความจริงเป็นเพียงรูปภาพ หรือหุ่นจาลองขนาดต่างๆ
- ภาพอุบัติเหตุ อุบัติภัยต่างๆ เช่น รถชน ระเบิด ไฟไหม้ น้าท่วม เครื่องบินตก เขื่อนพัง
ตึกถล่ม รถไฟตกราง ภาพฉากสงคราม
- ปรากฏการณ์ธรรมชาติ เช่น ฝนตก ฟ้าแลบ ฟ้าผ่า ความแห้งแล้ง แผ่นดินไหว ภูเขาไฟ
ระเบิด ภาพต่างๆ เหล่านี้ผู้สร้างอาจใช้เทคนิค หลายแบบเช่น เทคนิคการถ่ายภาพ การแสดง การสร้างและตัด
ต่อภาพ เทคนิคกลไก การย่อส่วน การเมคอัพ หรือเทคนิคอื่นๆ ตามความเหมาะสม และความพร้อมของ
ผู้สร้าง การใช้ภาพเทคนิคพิเศษต่างๆ ถือว่าเป็นเอกลักษณ์เฉพาะของภาพยนตร์ ซึ่งทาให้ผู้ชมเกิดความเข้าใจ
เรื่อง และรู้สึกตื่นเต้นสนุกสนานได้มากเป็นพิเศษ
๕) การสร้างจินตนาการ เทคนิคของภาพยนตร์ สามารถสร้างเรื่องราวในลักษณะที่เป็น
จินตนาการซึ่งไม่มีในความเป็นจริง เช่น ภาพยนตร์การ์ตูน เรื่องราวในประวัติศาสตร์ เหตุการณ์ในอนาคต
เหตุการณ์ในอวกาศมนุษย์ต่างดาว สัตว์ประหลาด เรื่องราวที่เป็นจินตนาการในภาพยนตร์ บางอย่างเป็นเรื่องที่
คิดขึ้นเพื่อความสนุกสนานไม่มีเหตุผลหรือความน่าเชื่อถือใดๆ แต่ภาพยนตร์บางเรื่องเป็นการสร้างจินตนาการ
ที่อาศัยเหตุผลหรือหลักฐานที่ค้นพบได้ในปัจจุบัน แล้วสร้างเรื่องราวขึ้นมาเพื่อแสดงถึงความเชื่อ หรือทฤษฎี
บางอย่าง ซึ่งไม่ว่าจะเป็นจินตนาการลักษณะใดก็ตาม มักสร้างตื่นเต้นเร้าใจ หรือทาให้ผู้ชมเกิดความคิดตาม
เรื่องราวของภาพยนตร์ได้เสมอ
๑.๔.๒ บทบาทหน้าที่และอิทธิพลของภาพยนตร์
๑. ด้านความบันเทิง
ภาพยนตร์เป็นสื่อที่มีบทบาทด้านความขายความบันเทิงมาตั้งแต่ยุคเริ่มแรก ไม่ว่าจะเป็น
ภาพยนตร์ แบบคิเนโตสโคบ (Kinetoscope) ของเอดิสันหรือ แบบซินเนมาโตกราฟ (Cinemato- graph)
ของพี่น้องลูมิแอร์ (Lumiere) ต่างก็ฉายภาพยนตร์บันเทิงเก็บเงินจากผู้ชมมาก่อนทั้งสิ้น ตลอดเวลาที่ผ่านมาก
ค ว า ม รู้ เ กี่ ย ว กั บ ภ า พ ย น ต ร์ ห น้ า | 4
ภาพยนตร์เบื้องต้น | พิพิษณ์ สิทธิศักดิ์ | Last Update : 4 มี.ค. 2555
ว่าร้อยปี นับตั้งแต่มีภาพยนตร์เกิดขึ้นจนถึงปัจจุบันภาพยนตร์ได้มีบทบาทในการให้ความ บันเทิงแก่คนทั้งโลก
มาอย่างต่อเนื่อง แม้ว่าจะมีการนาภาพยนตร์ไปใช้สาหรับกิจการด้านอื่นๆ อีกหลายด้านในระยะหลัง แต่ใน
ด้านการบันเทิงภาพยนตร์ยังคงคุณค่าและมีความสาคัญอยู่เสมอ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการชมภาพยนตร์คุณภาพ
ดีๆ ในโรงภาพยนตร์มาตรฐาน ที่จอภาพขนาดใหญ่ ภาพคมชัด ระบบเสียงสมบูรณ์ทันสมัย ย่อมทาให้ผู้ชม
ได้รับความบันเทิงและเกิดความประทับใจมากเป็นพิเศษ ทั้งนี้เป็นผลมาจากคุณลักษณะพิเศษของภาพยนตร์ที่
สามารถนาข้อเท็จจริงหรือ สร้างจินตนาการให้เกิดความบันเทิงด้วยเทคนิควิธีการต่างๆ ได้หลายแบบ เช่นทา
ให้เห็นสิ่งแปลกๆพิสดาร สิ่งที่ชวนให้ตื่นเต้นเร้าใจ หรือทาให้ดีใจ เสียใจ สะเทือนอารมณ์
จากการศึกษาบทบาทของสื่อมวลชนที่มีอิทธิพลต่อการศึกษาของชาวบ้าน โดยสานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2521 พบว่าภาพยนตร์ประเภทบันเทิง มีผู้ชมมากที่สุดถึงร้อยละ 98
จึงเห็นได้อย่างชัดเจนว่า ภาพยนตร์เป็นสื่อมวลชนเพื่อการบันเทิงอย่างแท้จริง หากไม่นับภาพยนตร์เฉพาะกิจ
ต่างๆ เช่นภาพยนตร์โฆษณาประชาสัมพันธ์ ภาพยนตร์การศึกษา อาจกล่าวได้ว่าภาพยนตร์ทั้งหมดที่จัดสร้าง
และนาออกฉายอยู่ในปัจจุบัน ล้วนมีจุดประสงค์ด้านธุรกิจการค้าขายความบันเทิงแทบทั้งสิ้น คุณค่าของ
ภาพยนตร์จึงเป็นเรื่องของความบันเทิงเป็นด้านหลัก ส่วนคุณค่าในด้านอื่นๆ เป็นเพียงคุณค่าแฝงที่ผู้สร้างอาจ
จงใจสร้างให้มีหรือไม่ก็ตาม การที่ภาพยนตร์มีบทบาทมากด้านการให้ความบันเทิง เป็นผลให้เกิดการสร้าง
ภาพยนตร์เพื่อการบันเทิงที่เกินขอบเขตด้านศีลธรรม จริยธรรมของสังคม เช่น ภาพยนตร์ที่แสดงออกทางเพศ
ในลักษณะลามกอนาจาร ภาพยนตร์ที่แสดงถึงความวิตถาร ผิดปกติทางจิต อาชญากรรม การกระทาที่ชวน
หวาดเสียว สยดสยอง ซึ่งภาพยนตร์เหล่านี้เชื่อกันว่ามีอิทธิพลต่อบุคคล ส่งเสริมให้เกิดความคิดและนาไปสู่การ
แสดงพฤติกรรมที่เป็นภัยต่อสังคม จาเป็นต้องได้รับการควบคุมให้อยู่ในขอบเขตที่เหมาะสม
๒. การเสนอข่าวและสาระทั่วไป
การเสนอข่าวโดยใช้ภาพยนตร์ เมื่อเปรียบเทียบกับสื่อมวลชนประเภทอื่นในปัจจุบันแล้ว
ภาพยนตร์มักจะกระทาโดยล่าช้ากว่าเนื่องจากการถ่ายทาภาพยนตร์ต้องมีขบวนการ ล้างฟิล์ม ตัดต่อภาพ และ
บันทึกเสียง ซึ่งต้องใช้เวลานานพอสมควรในขณะที่วิทยุ โทรทัศน์ หรือหนังสือพิมพ์ สามารถทาได้รวดเร็วกว่า
ในอดีตที่วิทยุและโทรทัศน์ยังไม่แพร่หลาย ภาพยนตร์ได้มีบทบาทสาคัญในการเสนอข่าวสาร เนื่องจากเป็นสื่อ
ที่แสดงให้เห็นได้ทั้งภาพเคลื่อนไหวและเสียง ที่ยังไม่มีสื่ออื่นใดทาได้มาก่อน จึงทาให้ข่าวสารต่างๆ ที่นาเสนอ
โดยภาพยนตร์ ได้รับความสนใจจากประชาชนมากเป็นพิเศษ แม้ว่าบางครั้งการนาเสนอข่าวสารต่างๆ เหล่านั้น
เกิดความล่าช้าไป จนกระทั่งบางอย่างหมดลักษณะของความเป็นข่าว กลายเป็นประวัติศาสตร์หรือสารคดีไป
แล้ว ก็ยังได้รับความนิยม เช่น ภาพยนตร์ข่าวในพระราชสานัก ภาพยนตร์ข่าวในประเทศและต่างประเทศ
ค ว า ม รู้ เ กี่ ย ว กั บ ภ า พ ย น ต ร์ ห น้ า | 5
ภาพยนตร์เบื้องต้น | พิพิษณ์ สิทธิศักดิ์ | Last Update : 4 มี.ค. 2555
ภาพยนตร์สงคราม การนาเสนอภาพยนตร์ประเภทนี้ในอดีตมักอาศัยหน่วยงานราชการ สานักข่าวสาร
ต่างประเทศ เช่น สานักงานเร่งรัดพัฒนาชนบท (รพช.) สานักข่าวสารอเมริกัน (Usis : United States
Information Service) ตระเวนไปจัดฉายภาพยนตร์เพื่อเผยแพร่ข่าวสารตามที่ต่างๆ ในปัจจุบันที่กิจการ
โทรทัศน์ขยายตัวอย่างแพร่หลาย โทรทัศน์สามารถนาเสนอเสียงและภาพเคลื่อนไหวได้เช่นเดียวกับภาพยนตร์
แต่มีความรวดเร็วกระจายข่าวถึงประชาชนได้มากกว่า รายการภาพยนตร์จานวนมากถูกถ่ายทอด หรือนาเสนอ
ผ่านทางโทรทัศน์ การนาเสนอข่าวด้วยภาพยนตร์โดยตรงมีให้เห็นน้อยมาก จะมีบ้างก็เฉพาะในหน่วยงานทาง
การศึกษาและหน่วยงานที่ยังคงใช้ภาพยนตร์บันทึก ข่าวสารเพื่อเก็บรักษาข่าวสารไว้นานๆ
๓. ด้านการศึกษา
ด้วยคุณลักษณะที่ดีเด่นของภาพยนตร์ ที่สามารถทาให้ผู้ชมเกิดความเข้าใจเรื่องราวได้อย่าง
ลึกซึ้ง ภาพยนตร์จึงถูกนามาใช้เพื่อกิจการทางการศึกษาอย่างแพร่หลาย ทั้งในรูปการใช้สาหรับการเรียนการ
สอน หรือการฝึกอบรมตามหลักสูตรโดยตรง และการใช้ภาพยนตร์สาหรับการศึกษาทั่วไป นอกจากนี้
ภาพยนตร์ที่สร้างเพื่อจุดประสงค์ด้านการบันเทิง ก็มีจานวนไม่น้อยที่มีคุณค่าทางด้านการศึกษาแฝงอยู่
สามารถเลือกมาใช้เพื่อประโยชน์ทางการศึกษาได้อย่างกว้างขวาง ลักษณะภาพยนตร์ที่จัดว่าเป็นสื่อมวลชน
ได้แก่ภาพยนตร์ที่จัดสร้างและฉายในสาธารณชนได้รับชม ไม่รวมถึงภาพยนตร์เฉพาะกิจต่างๆ จุดประสงค์ของ
ผู้สร้างและเรื่องราวในภาพยนตร์ ส่วนใหญ่เป็นไปเพื่อความบันเทิงกระตุ้นอารมณ์ผู้ชม คุณค่าทางการศึกษา
ของภาพยนตร์แต่เรื่อง อาจมีมากบ้างน้อยบ้างแตกต่างกันไป บางเรื่องนอกจากจะไม่มีคุณค่าทางการศึกษา
แล้วยังอาจให้ผลกลับในทางตรงข้าม เช่น ทาให้เกิดความคิดค่านิยมไปในทางที่ผิด การพิจารณาภาพยนตร์แต่
ละเรื่องว่ามีคุณค่าทางการศึกษาหรือไม่ ส่วนหนึ่งอาจพิจารณาได้จากสาระสาคัญในเนื้อหาของเรื่องว่า
เกี่ยวข้องกับเรื่องใด ภาพยนตร์ที่ถือว่ามีคุณค่าทางการศึกษาที่เห็นได้ชัดเจน เช่น
- เรื่องราวจากวรรณคดี วรรณกรรม หรือเรื่องประวัติศาสตร์ เช่น บางระจัน นเรศวร
ค ว า ม รู้ เ กี่ ย ว กั บ ภ า พ ย น ต ร์ ห น้ า | 6
ภาพยนตร์เบื้องต้น | พิพิษณ์ สิทธิศักดิ์ | Last Update : 4 มี.ค. 2555
- อัตชีวประวัติของผู้มีชื่อเสียง หรือผู้ที่เคยทาคุณประโยชน์แก่สังคม เช่น The Social
Network , ท็อป ซีเคร็ต วัยรุ่นพันล้าน
ภาพยนตร์เรื่อง “The Social Network”
นาเสนอเรื่องราวของมาร์ค ซัคเคอร์เบิร์ก ผู้ก่อตั้ง
เฟซบุ๊ก
ภาพยนตร์เรื่อง “Top Secret วัยรุ่นพันล้าน”
ชีวิตของอิทธิพัทธ์ กุลพงษ์วณิชย์ เจ้าของธุรกิจขนม
สาหร่ายทอด เถ้าแก่น้อย
(http://movie.sanook.com/news/news_177
42.php)
http://th.wikipedia.org/wiki/ท็อป_ซีเคร็ต_วัยรุ่น
พันล้าน
- การศึกษาค้นคว้าทดลองที่เป็นประโยชน์
- การใช้ภาษา และการอนุรักษ์ ศิลปวัฒนธรรม
ภาพยนตร์เรื่อง “ปัญญา เรณู”
ภาพยนตร์สะท้อนกลิ่นอายวัฒนธรรม และวิถีชีวิตของชาวอีสาน
ค ว า ม รู้ เ กี่ ย ว กั บ ภ า พ ย น ต ร์ ห น้ า | 7
ภาพยนตร์เบื้องต้น | พิพิษณ์ สิทธิศักดิ์ | Last Update : 4 มี.ค. 2555
(http://movie.mthai.com/movie-profile/new-movie/84298.html)
- การสะท้อนให้เห็นปัญหาของบุคคลและสังคมทั้งด้านจิตวิทยา คุณธรรม จริยธรรม
- เรื่องราวเกี่ยวกับความรู้แต่ละสาขาโดยตรงเช่น วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พลังงาน
ทรัพยากร สิ่งแวดล้อม ฯลฯ
ภาพยนตร์แต่ละเรื่องที่นาออกฉายสู่สาธารณชนได้ผ่านการพิจารณาแล้วว่าไม่เป็นพิษเป็นภัย ซึ่ง
ย่อมจะถือได้ว่ามีคุณค่าทางการศึกษาอยู่ไม่มากก็น้อย เพียงแต่ผู้ชมอาจไม่ทราบ แต่จะได้รับคุณค่าทาง
การศึกษาจากการชมภาพยนตร์เพื่อความบันเทิงโดยไม่รู้ตัว ภาพยนตร์ส่วนใหญ่มีแนวเรื่องที่ผูกพันแน่นแฟ้น
กับค่านิยมทาดีได้ดี ทาชั่วได้ชั่ว เรื่องราวของภาพยนตร์มักจะจบลงด้วยความสมหวัง และฝ่ายธรรมชนะฝ่าย
อธรรมเสมอ ภาพยนตร์บางเรื่องสะท้อนให้เห็นสภาพชีวิตสังคม และ การวิเคราะห์เชิงจิตวิทยาอย่างลึกซึ้ง
ค ว า ม รู้ เ กี่ ย ว กั บ ภ า พ ย น ต ร์ ห น้ า | 8
ภาพยนตร์เบื้องต้น | พิพิษณ์ สิทธิศักดิ์ | Last Update : 4 มี.ค. 2555
๔. ด้านศิลปวัฒนธรรม ค่านิยมของบุคคลและสังคม
ด้วยศิลปะและเทคนิคต่างๆ ในการสร้างภาพยนตร์ ทาให้ภาพยนตร์มีคุณสมบัติพิเศษที่สามารถ
สร้างอารมณ์ความรู้สึกให้ กับผู้ชมได้อย่างมาก เช่น ตื่นเต้นสนุกสนาน ดีใจ เศร้า สะเทือนใจ อารมณ์หรือ
ความรู้สึกที่เข้าถึงจิตใจในระดับลึก อันเกิดจากความประทับใจจากการชมภาพยนตร์บางเรื่องบางตอน หรือ
เกิดจากการที่ได้รับการกระตุ้นซ้าจากภาพยนตร์บ่อยๆ ย่อมจะทาให้เกิดความเชื่อที่ฝังใจกลายเป็นค่านิยมของ
บุคคลและสังคมขึ้นได้ ภาพยนตร์ทาให้เกิดค่านิยมด้านต่างๆ ได้ทั้งทางดีและทางไม่ดี เช่น ค่านิยมที่ดีทาง
จริยธรรมได้แก่ความกตัญญู ความเคารพเชื่อฟังผู้ใหญ่ ความสุภาพเรียบร้อย ความเสียสละ ความประพฤติที่
ควรยกย่องตามแบบของสังคมไทย ภาพยนตร์บางเรื่องทาให้ผู้ชมเกิดความคิด ความเชื่อในทางที่ไม่ถูกต้อง เช่น
การแก้แค้น การเอาตัวรอด การกอบโกยผลประโยชน์
ภาพยนตร์ไทยเรื่อง “น้าตาลแดง” ซึ่งถูกวิพากษ์วิจารณ์เรื่องนาเสนอค่านิยมที่ไม่เหมาะสมทางจริยธรรม
(http://www.oknation.net/blog/GRANG-PRANG/2010/09/01/entry-1)
นอกจากนี้ ภาพยนตร์ยังทาให้เกิดความเปลี่ยนแปลงด้านศิลปวัฒนธรรม เนื่องจากภาพยนตร์
สามารถนาเอาภาพและเสียงของศิลปวัฒนธรรมจากแหล่งหนึ่งไปสู่ประชาชนในแหล่งอื่นๆ เช่น การนาเอา
ศิลปวัฒนธรรมด้านดนตรี และการแสดงของประเทศทางแถบตะวันตกไปสู่สายตาผู้ชมภาพยนตร์ในประเทศ
แถบเอเชีย เช่น ประเทศไทย ทาให้เกิดการเปลี่ยนแบบแฟชั่นการแต่งกาย การแสดงออกด้านพฤติกรรมของ
การดาเนินชีวิตและศิลปวัฒนธรรมด้านอื่นๆ หรือแม้กระทั่งประเทศในแถบเอเชียด้วยกันก็ตาม เช่น อิทธิพล
ของภาพยนตร์เกาหลี ละครซีรีส์เกาหลีทางโทรทัศน์ เพลง ที่ส่งผลต่อคนไทย ทั้งวัยรุ่น และวัยทางานให้เกิด
ค ว า ม รู้ เ กี่ ย ว กั บ ภ า พ ย น ต ร์ ห น้ า | 9
ภาพยนตร์เบื้องต้น | พิพิษณ์ สิทธิศักดิ์ | Last Update : 4 มี.ค. 2555
อาการคลั่งไคล้ และเกิดการเลียนแบบในเรื่องการแต่งกาย การทาทรงผม การบริโภค และการท่องเที่ยว เป็น
ต้น ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ ฝนทิพย์ บารมีรัตนชัย ที่ศึกษา “อิทธิพลของละครเกาหลีที่มีต่อการท่องเที่ยว
เกาหลีของคนในเขตกรุงเทพมหานคร” พบว่า ความประทับใจในละครที่มีผลต่อการตัดสินใจไปเกาหลีของผู้ที่
สนใจจะเดินทางไปท่องเที่ยวเกาหลีและผู้ที่ตัดสินใจเดินทางไปเกาหลี โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อ
พิจารณารายด้านพบว่า ผู้ที่สนใจจะเดินทางไปท่องเที่ยวเกาหลีและผู้ที่ตัดสินใจจะเดินทางไปเกาหลีมีความ
ประทับใจในละครเกาหลีเป็นอันดับแรก คือ ความสวยงามของภูมิทัศน์ ฉากในละคร หรือสถานที่ถ่ายทา
ละคร อยู่ในระดับมากที่สุด ส่วน เพลง-ทานองประกอบไพเราะ นักแสดง (พระเอก-นางเอก) บทละคร-เนื้อ
เรื่อง ความสามารถของนักแสดง การดาเนินเรื่องของตัวประกอบ และผู้กากับ อยู่ในระดับมาก
ภาพยนตร์ส่วนใหญ่จะนาเสนอเรื่องราวในลักษณะการแสดงที่แยกแยะสิ่งถูกสิ่งผิด ความดี
ความชั่ว หรือคนดีคนเลว ให้เห็นอย่างชัดเจน เรื่องราวมักจะจบลงด้วยความดีชนะความชั่ว คนดีชนะคนเลว
ความเชื่อหรือค่านิยมที่เกิดขึ้นเป็นไปในทางที่ถูกต้อง แต่ในภาพยนตร์บางเรื่องนาเสนอเรื่องราวที่ผูกพันกับ
ความเป็นจริงในชีวิต โดยสร้างเหตุผลหรือเงื่อนไขของเหตุการณ์ที่ผู้ชมยากจะตัดสินได้ว่าสิ่งใดถูก สิ่งใดผิด ใคร
ดีใครเลว ความเชื่อหรือค่านิยมที่เกิดขึ้น จึงขึ้นอยู่กับการพิจารณาของแต่ละบุคคล ภาพยนตร์ประเภทนี้อาจไม่
เหมาะสาหรับเด็ก ตัวอย่างของภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายทั่วไป ส่วนหนึ่งนาเสนอเรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับเรื่อง
รักๆ ใคร่ๆ อิจฉา ริษยา ชิงดีชิงเด่น ซึ่งไม่ส่งเสริมค่านิยมที่ดี จนมีผู้เรียกภาพยนตร์ว่าเป็นภาพยนตร์ "น้าเน่า"
ส่วนภาพยนตร์จีนมักให้ความคิดในเรื่องการแก้แค้น แต่ก็มีค่านิยมเรื่องความกตัญญูมาชดเชย
ดังคาพูดที่ได้ฟังเสมอว่า "บุญคุณต้องทดแทน แค้นต้องชาระ" ผู้สร้างภาพยนตร์ไทยมักให้เหตุผลที่ต้องสร้าง
ภาพยนตร์ลักษณะดังกล่าวว่า เป็นความต้องการของตลาดหรือผู้ชมและมีข้อจากัดเกี่ยวกับการลงทุน แต่มี
ผู้สร้างภาพยนตร์ส่วนหนึ่งที่พยายามสร้างภาพยนตร์แบบคุณภาพ โดยถือว่าการสร้างภาพยนตร์นอกจากจะให้
ผู้ชมได้รับความบันเทิงแล้วยังมี หน้าที่ในการยกระดับรสนิยม รวมถึงส่งเสริมค่านิยมของผู้ชมไปพร้อมกันด้วย
5. ด้านการโฆษณาและประชาสัมพันธ์
คุณลักษณะที่สามารถเรียกร้องความสนใจ และกระตุ้นอารมณ์ของภาพยนตร์ ทาให้หน่วยงาน
ต่างๆ ทั้งทางธุรกิจการค้าและองค์กรที่ดาเนินการด้านอื่นๆ นาภาพยนตร์ไปใช้เพื่อการโฆษณาและ
ประชาสัมพันธ์เป็นจานวนมากมาตลอด นับตั้งแต่มีภาพยนตร์เกิดขึ้น ภาพยนตร์สาหรับการโฆษณาสินค้าและ
บริการ มักเป็นภาพยนตร์สั้นๆ เรียกว่า สปอต (Spot) ความยาวไม่เกิน 1 นาที ทาออกเผยแพร่ตามโรง
ภาพยนตร์และผ่านทางโทรทัศน์ แม้ว่าในปัจจุบันการผลิตภาพยนตร์โฆษณาจะสามารถใช้ Video Tape ซึ่ง
สร้างได้ง่ายกว่าและประหยัดกว่า แต่การโฆษณาเป็นธุรกิจที่มีการลงทุนสูงและต้องการสื่อที่จูงใจเร้าอารมณ์ได้
มากเป็นพิเศษ จึงยังคงมีการสร้างภาพยนตร์โฆษณากันอยู่อย่างแพร่หลาย เฉพาะประเทศไทยในแต่ละปีมีการ
ค ว า ม รู้ เ กี่ ย ว กั บ ภ า พ ย น ต ร์ ห น้ า | 10
ภาพยนตร์เบื้องต้น | พิพิษณ์ สิทธิศักดิ์ | Last Update : 4 มี.ค. 2555
ลงทุนสร้างและเผยแพร่ ภาพยนตร์โฆษณาเป็นเงินนับพันล้านบาท โดยเฉพาะการโฆษณาผ่านทางโทรทัศน์ซึ่ง
มีปริมาณมากที่สุด
ด้านการประชาสัมพันธ์ เพื่อส่งเสริมการขายและการสร้างความเข้าใจที่ดีแก่ประชาชนของ
หน่วยงาน องค์กรทางธุรกิจและองค์กรอื่นๆ ซึ่งมีการสร้างและเผยแพร่ ภาพยนตร์เพื่อการประชาสัมพันธ์มี
อย่างแพร่หลายมานานแล้ว ตัวอย่าง เช่น ภาพยนตร์ของกองภาพยนตร์เผยแพร่ กรมรถไฟหลวง ภาพยนตร์
เรื่องพระเจ้าช้างเผือก สมัยนายปรีดี พนมยงค์เป็นผู้สาเร็จราชการแทนพระองค์ ภาพยนตร์ข่าวใน
พระราชสานัก ภาพยนตร์ของกรมประชาสัมพันธ์ ภาพยนตร์ของสานักงานข่าวสารต่างประเทศ เป็นต้น
ปัจจุบันมีภาพยนตร์เพื่อการประชาสัมพันธ์ของหน่วยงานต่างๆ เช่น บริษัทเอกชน องค์การ
ส่งเสริมการท่องเที่ยว สานักนายกรัฐมนตรี กรป.กลางกระทรวงกลาโหม ฯลฯ ด้านการโฆษณาชวนเชื่อ
(Propaganda) เพื่อดึงกระแสความคิดของมวลชนให้เป็นไปในทางที่ต้องการ มีตัวอย่างที่เห็นได้ชัดเจน เช่น
ภาพยนตร์เรื่อง "บ้านพังโคน" ที่สร้างขึ้นสมัยรัฐบาลของจอมพลถนอม กิตติขจร ซึ่งเป็นภาพยนตร์ที่แสดงให้
เห็นความเลวร้ายของลัทธิคอมมิวนิสต์โดยมีจุด ประสงค์ให้ประชาชนโดยเฉพาะในชนบทเกิดความคิด และลุก
ขึ้นมาช่วยกันต่อต้าน นอกจากนี้ยังมีภาพยนตร์เพื่อการโฆษณาเผยแพร่ (Publicity) กิจการของหน่วยงานของ
ทางราชการ รัฐวิสาหกิจและเอกชนอีกจานวนมาก ภาพยนตร์ข่าว ในปัจจุบันไม่เป็นที่นิยมแพร่หลายเช่นใน
อดีต เนื่องจากการรายงานข่าว จะต้องทาในเวลาจากัด ซึ่งภาพยนตร์สามารถทาได้ช้ากว่า Video Tape แต่
อาจมีการถ่ายทาภาพยนตร์เหตุการณ์ต่างๆ เก็บไว้ใช้ในรูปของภาพยนตร์ ประวัติศาสตร์ หรือสารคดี
คุณค่าทางการศึกษาของภาพยนตร์
1. ถ่ายทอดเรื่องราว เหตุการณ์ ข้อเท็จจริงในสังคม และแสดงสิ่งของต่างๆ ให้เห็นได้ชัดเจนตาม
ความเป็นจริง ทั้งรูปร่าง ลักษณะ สี และการเคลื่อนไหว
2. ใช้เทคนิคดัดแปลง ปรุงแต่งให้เห็นสิ่งที่ในความเป็นจริงไม่สามารถเห็นได้ ในกรณีเช่นนี้
ภาพยนตร์จึงช่วยให้เกิดความเข้าใจได้มากกว่าการเรียนรู้จากของจริง เช่น ทาให้เร็วขึ้นทาให้ช้าลง หรือการ
ย่อ-ขยายขนาดสิ่งของ
3. ฉายภาพได้ขนาดใหญ่ เปิดโอกาสให้คนจานวนมากได้รับความรู้ข่าวสารพร้อมๆกัน
ค ว า ม รู้ เ กี่ ย ว กั บ ภ า พ ย น ต ร์ ห น้ า | 11
ภาพยนตร์เบื้องต้น | พิพิษณ์ สิทธิศักดิ์ | Last Update : 4 มี.ค. 2555
4. เทคนิคของภาพยนตร์ สามารถสร้างจินตนาการโดยอาศัยเทคนิคและการแสดง สามารถแสดงให้
เห็นสิ่งที่ไม่อยู่ในชีวิตจริง เช่น เรื่องจากวรรณกรรม วรรณคดี ประวัติศาสตร์ การคาด-คะเนเหตุการณ์ใน
อนาคต
5. สามารถเข้าถึงจิตใจ เช่น ความรู้สึกสงสาร ความโหดร้ายและน่ากลัวของสงคราม ช่วย ให้เข้าใจ
เรื่องราวที่เป็นนามธรรมให้ดี ภาพยนตร์จึงเหมาะที่จะนาไปใช้ถ่ายทอด เนื้อหาด้านความรู้สึก คุณธรรม
จริยธรรม
6. คุณสมบัติและเทคนิคด้านต่างๆ ของภาพยนตร์ สามารถทาให้ผู้ชมรู้สึกสนุกสนาน ตื่น-เต้นเร้าใจ
ติดตามชมโดยไม่เบื่อหน่าย
7. มีภาพยนตร์ที่สร้างขึ้นสาหรับการศึกษา หรือการเรียนการสอนโดยเฉพาะจานวนมาก เปิดโอกาส
ให้สามารถนาภาพยนตร์มาใช้สาหรับการศึกษาโดยตรง อย่างกว้างขวาง ซึ่งภาพยนตร์ประเภทนี้ มีความ
เหมาะสมสาหรับการศึกษาหลายประการ คือ (Dale. 1954 : 214-218)
๑) แสดงให้เข้าใจความหมายของสิ่งที่มีการเคลื่อนไหวได้อย่างดีเยี่ยม
๒) สภาพการฉายภาพยนตร์ เช่น ความมืด บังคับให้ผู้เรียนสนใจในจุดเดียวกัน
๓) แสดงสิ่งของต่างๆ ได้เหมือนจริง
๔) ควบคุมเวลาการสอนได้แน่นอน
๕) นาสิ่งที่อยู่ห่างไกล เข้ามาศึกษาในห้องเรียนได้อย่างชัดเจน
๖) จาลองเหตุการณ์ที่เคยเกิดขึ้นในอดีต ให้เห็นได้อย่างสมจริง
๗) ย่อหรือขยายขนาดของวัตถุได้ตามต้องการ
๘) แสดงให้เห็นสิ่งที่ไม่สามารถเห็นได้ในชีวิตจริง
๙) ผู้เรียนจานวนมากได้รับประสบการณ์ร่วมกัน หรือเหมือนกัน
๑๐)ช่วยให้เข้าใจสิ่งที่เป็นนามธรรม
๑๑) ให้ประสบการณ์ด้านคุณธรรม จริยธรรม ได้ดี
ศึกษาเพิ่มเติม
บทวิจารณ์ภาพยนตร์เรื่อง “น้าตาลแดง”
ค ว า ม รู้ เ กี่ ย ว กั บ ภ า พ ย น ต ร์ ห น้ า | 12
ภาพยนตร์เบื้องต้น | พิพิษณ์ สิทธิศักดิ์ | Last Update : 4 มี.ค. 2555
OK Nation Blog , หนังกลางแปลง (1 กันยายน 2553). น้าตาลแดง : ผลึกรสศิลปะกามารมณ์ นามาถั่งโถม
ลงบนแผ่นฟิล์ม [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www.oknation.net/blog/GRANG-
PRANG/2010/09/01/entry-1 (วันที่ค้นข้อมูล : 13 พฤษภาคม 2554).
บทวิจารณ์ภาพยนตร์เรื่อง “ปัญญา เรณู”
MThai (9 ธันวาคม 2553). tyler : ปัญญา – เรณู [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก :
http://movie.mthai.com/movie-profile/new-movie/84298.html (วันที่ค้นข้อมูล : 13
พฤษภาคม 2554).
เอกสารอ้างอิง
มูลนิธิหนังไทย (๑๖ ธันวาคม ๒๕๔๘). กบ เชียงราย : ประวัติของภาพยนตร์ [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก :
http://www.thaifilm.com/forumDetail.asp?topicID=1826&page=6&keyword= (วันที่ค้น
ข้อมูล : ๑๒ พฤษภาคม ๒๕๕๔).
video man studio (๗ พฤศจิกายน ๒๕๕๓). ความสาคัญของภาพยนตร์ [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก :
http://www.videomanstudio.com/webboard-ความสาคัญของภาพยนตร์-1-294226-
1.html (วันที่ค้นข้อมูล : ๘ เมษายน 2554).
ค ว า ม รู้ เ กี่ ย ว กั บ ภ า พ ย น ต ร์ ห น้ า | 13
ภาพยนตร์เบื้องต้น | พิพิษณ์ สิทธิศักดิ์ | Last Update : 4 มี.ค. 2555
ฝนทิพย์ บารมีรัตนชัย อิทธิพลของละครเกาหลีที่มีต่อการท่องเที่ยวเกาหลีของคนในเขตกรุงเทพมหานคร
ประเภทสารนิพนธ์ การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง ศศ.ม. สาขาการจัดการโรงแรมและการท่องเที่ยว,
มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2551

More Related Content

What's hot

การเขียน Storyboard
การเขียน Storyboardการเขียน Storyboard
การเขียน StoryboardYaowaluck Promdee
 
การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)
การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)
การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เอกสารประกอบหลักสูตร การผลิตหนังสั้นเพื่อการเรียนรู้
เอกสารประกอบหลักสูตร การผลิตหนังสั้นเพื่อการเรียนรู้เอกสารประกอบหลักสูตร การผลิตหนังสั้นเพื่อการเรียนรู้
เอกสารประกอบหลักสูตร การผลิตหนังสั้นเพื่อการเรียนรู้Chay Kung
 
เรื่องรูปแบบการแสดง นาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นเมือง และ นาฏศิลป์นานาชาติ
เรื่องรูปแบบการแสดง  นาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นเมือง และ นาฏศิลป์นานาชาติเรื่องรูปแบบการแสดง  นาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นเมือง และ นาฏศิลป์นานาชาติ
เรื่องรูปแบบการแสดง นาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นเมือง และ นาฏศิลป์นานาชาติPanomporn Chinchana
 
การผลิตสื่อวีดิทัศน์สำหรับงานมัลติมีเดีย (Multimedia Video Production)
การผลิตสื่อวีดิทัศน์สำหรับงานมัลติมีเดีย (Multimedia Video Production)การผลิตสื่อวีดิทัศน์สำหรับงานมัลติมีเดีย (Multimedia Video Production)
การผลิตสื่อวีดิทัศน์สำหรับงานมัลติมีเดีย (Multimedia Video Production)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การเขียนสตอรี่บอร์ดภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Storyboard Writing for Motion Graphic)
การเขียนสตอรี่บอร์ดภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Storyboard Writing for Motion Graphic)การเขียนสตอรี่บอร์ดภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Storyboard Writing for Motion Graphic)
การเขียนสตอรี่บอร์ดภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Storyboard Writing for Motion Graphic)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
แสงและองค์ประกอบของภาพ
แสงและองค์ประกอบของภาพแสงและองค์ประกอบของภาพ
แสงและองค์ประกอบของภาพDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..
สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..
สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..Samorn Tara
 
เสียงสำหรับมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
เสียงสำหรับมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)เสียงสำหรับมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
เสียงสำหรับมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ตัวอย่างการเขียนบท อาหารกลางวัน
ตัวอย่างการเขียนบท อาหารกลางวันตัวอย่างการเขียนบท อาหารกลางวัน
ตัวอย่างการเขียนบท อาหารกลางวันThe School District of Philadelphia
 
การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)
การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)
การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
หลักการจัดองค์ประกอบของงานภาพเคลื่อนไหว (Compositing)
หลักการจัดองค์ประกอบของงานภาพเคลื่อนไหว (Compositing)หลักการจัดองค์ประกอบของงานภาพเคลื่อนไหว (Compositing)
หลักการจัดองค์ประกอบของงานภาพเคลื่อนไหว (Compositing)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง เทคนิคการจัดการแสดง
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง  เทคนิคการจัดการแสดงเอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง  เทคนิคการจัดการแสดง
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง เทคนิคการจัดการแสดงPanomporn Chinchana
 
การวิเคราะห์และวิจารณ์ภาพยนตร์แอนิเมชั่น
การวิเคราะห์และวิจารณ์ภาพยนตร์แอนิเมชั่นการวิเคราะห์และวิจารณ์ภาพยนตร์แอนิเมชั่น
การวิเคราะห์และวิจารณ์ภาพยนตร์แอนิเมชั่นThirawut Saenboon
 
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557Panomporn Chinchana
 
วิดีโอสำหรับมัลติมีเดีย (Video for Multimedia)
วิดีโอสำหรับมัลติมีเดีย (Video for Multimedia)วิดีโอสำหรับมัลติมีเดีย (Video for Multimedia)
วิดีโอสำหรับมัลติมีเดีย (Video for Multimedia)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 

What's hot (20)

การเขียน Storyboard
การเขียน Storyboardการเขียน Storyboard
การเขียน Storyboard
 
การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)
การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)
การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)
 
เอกสารประกอบหลักสูตร การผลิตหนังสั้นเพื่อการเรียนรู้
เอกสารประกอบหลักสูตร การผลิตหนังสั้นเพื่อการเรียนรู้เอกสารประกอบหลักสูตร การผลิตหนังสั้นเพื่อการเรียนรู้
เอกสารประกอบหลักสูตร การผลิตหนังสั้นเพื่อการเรียนรู้
 
เรื่องรูปแบบการแสดง นาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นเมือง และ นาฏศิลป์นานาชาติ
เรื่องรูปแบบการแสดง  นาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นเมือง และ นาฏศิลป์นานาชาติเรื่องรูปแบบการแสดง  นาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นเมือง และ นาฏศิลป์นานาชาติ
เรื่องรูปแบบการแสดง นาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นเมือง และ นาฏศิลป์นานาชาติ
 
การผลิตสื่อวีดิทัศน์สำหรับงานมัลติมีเดีย (Multimedia Video Production)
การผลิตสื่อวีดิทัศน์สำหรับงานมัลติมีเดีย (Multimedia Video Production)การผลิตสื่อวีดิทัศน์สำหรับงานมัลติมีเดีย (Multimedia Video Production)
การผลิตสื่อวีดิทัศน์สำหรับงานมัลติมีเดีย (Multimedia Video Production)
 
การเขียนสตอรี่บอร์ดภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Storyboard Writing for Motion Graphic)
การเขียนสตอรี่บอร์ดภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Storyboard Writing for Motion Graphic)การเขียนสตอรี่บอร์ดภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Storyboard Writing for Motion Graphic)
การเขียนสตอรี่บอร์ดภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Storyboard Writing for Motion Graphic)
 
แสงและองค์ประกอบของภาพ
แสงและองค์ประกอบของภาพแสงและองค์ประกอบของภาพ
แสงและองค์ประกอบของภาพ
 
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)
 
สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..
สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..
สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..
 
เสียงสำหรับมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
เสียงสำหรับมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)เสียงสำหรับมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
เสียงสำหรับมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
 
ตัวอย่างการเขียนบท อาหารกลางวัน
ตัวอย่างการเขียนบท อาหารกลางวันตัวอย่างการเขียนบท อาหารกลางวัน
ตัวอย่างการเขียนบท อาหารกลางวัน
 
การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)
การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)
การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)
 
หลักการจัดองค์ประกอบของงานภาพเคลื่อนไหว (Compositing)
หลักการจัดองค์ประกอบของงานภาพเคลื่อนไหว (Compositing)หลักการจัดองค์ประกอบของงานภาพเคลื่อนไหว (Compositing)
หลักการจัดองค์ประกอบของงานภาพเคลื่อนไหว (Compositing)
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง เทคนิคการจัดการแสดง
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง  เทคนิคการจัดการแสดงเอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง  เทคนิคการจัดการแสดง
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง เทคนิคการจัดการแสดง
 
การวิเคราะห์และวิจารณ์ภาพยนตร์แอนิเมชั่น
การวิเคราะห์และวิจารณ์ภาพยนตร์แอนิเมชั่นการวิเคราะห์และวิจารณ์ภาพยนตร์แอนิเมชั่น
การวิเคราะห์และวิจารณ์ภาพยนตร์แอนิเมชั่น
 
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557
 
คำอุทาน
คำอุทานคำอุทาน
คำอุทาน
 
การเขียนบทหนังสั้น
การเขียนบทหนังสั้นการเขียนบทหนังสั้น
การเขียนบทหนังสั้น
 
Powerpoint คำนาม ม.1
Powerpoint คำนาม ม.1Powerpoint คำนาม ม.1
Powerpoint คำนาม ม.1
 
วิดีโอสำหรับมัลติมีเดีย (Video for Multimedia)
วิดีโอสำหรับมัลติมีเดีย (Video for Multimedia)วิดีโอสำหรับมัลติมีเดีย (Video for Multimedia)
วิดีโอสำหรับมัลติมีเดีย (Video for Multimedia)
 

Viewers also liked

1.3 แนวภาพยนตร์
1.3 แนวภาพยนตร์1.3 แนวภาพยนตร์
1.3 แนวภาพยนตร์Pipit Sitthisak
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพยนตร์และสื่อดิจิตอล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพยนตร์และสื่อดิจิตอลความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพยนตร์และสื่อดิจิตอล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพยนตร์และสื่อดิจิตอลAtiwat Patsarathorn
 
ภาพยนตร์เบื้องต้น
ภาพยนตร์เบื้องต้นภาพยนตร์เบื้องต้น
ภาพยนตร์เบื้องต้นWorapon Masee
 
คำศัพท์ด้านการตัดต่อภาพ
คำศัพท์ด้านการตัดต่อภาพคำศัพท์ด้านการตัดต่อภาพ
คำศัพท์ด้านการตัดต่อภาพApida Runvat
 
Cinema history
Cinema historyCinema history
Cinema historyGalaalonso
 
Unit 3 1 basic to television pdf
Unit 3 1  basic to television pdfUnit 3 1  basic to television pdf
Unit 3 1 basic to television pdfPipit Sitthisak
 
การแปลงไฟล์ Dat เป็นไฟล์ mpeg –1 ด้วย tmpg enc plus
การแปลงไฟล์ Dat เป็นไฟล์ mpeg –1 ด้วย tmpg enc plusการแปลงไฟล์ Dat เป็นไฟล์ mpeg –1 ด้วย tmpg enc plus
การแปลงไฟล์ Dat เป็นไฟล์ mpeg –1 ด้วย tmpg enc plusPipit Sitthisak
 
การใช้สื่อสังคมออนไลน์ด้านสุขภาพ: Help or Harm?
การใช้สื่อสังคมออนไลน์ด้านสุขภาพ: Help or Harm?การใช้สื่อสังคมออนไลน์ด้านสุขภาพ: Help or Harm?
การใช้สื่อสังคมออนไลน์ด้านสุขภาพ: Help or Harm?Nawanan Theera-Ampornpunt
 
การสมัครเป็นสมาชิก Google
การสมัครเป็นสมาชิก Googleการสมัครเป็นสมาชิก Google
การสมัครเป็นสมาชิก GooglePipit Sitthisak
 
การเพิ่ม User ใน wordpress
การเพิ่ม User ใน wordpressการเพิ่ม User ใน wordpress
การเพิ่ม User ใน wordpressPipit Sitthisak
 
วิวัฒนาการภาพยนตร์ไทย
วิวัฒนาการภาพยนตร์ไทยวิวัฒนาการภาพยนตร์ไทย
วิวัฒนาการภาพยนตร์ไทยnnn
 
การใช้ Google+ เพื่อการแชร์ (Share) ภาพ
การใช้ Google+ เพื่อการแชร์ (Share) ภาพการใช้ Google+ เพื่อการแชร์ (Share) ภาพ
การใช้ Google+ เพื่อการแชร์ (Share) ภาพPipit Sitthisak
 
เนื้อหาโครงงาน
เนื้อหาโครงงานเนื้อหาโครงงาน
เนื้อหาโครงงานPloy Jutamas
 
บทละครสมบัติพลัดสถาน
บทละครสมบัติพลัดสถานบทละครสมบัติพลัดสถาน
บทละครสมบัติพลัดสถานSaenkayan Sumeth
 
บทละครอลหม่านฯ
บทละครอลหม่านฯบทละครอลหม่านฯ
บทละครอลหม่านฯSaenkayan Sumeth
 
บทหนังสตางค์2012
บทหนังสตางค์2012บทหนังสตางค์2012
บทหนังสตางค์2012Kruthai Kidsdee
 

Viewers also liked (16)

1.3 แนวภาพยนตร์
1.3 แนวภาพยนตร์1.3 แนวภาพยนตร์
1.3 แนวภาพยนตร์
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพยนตร์และสื่อดิจิตอล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพยนตร์และสื่อดิจิตอลความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพยนตร์และสื่อดิจิตอล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพยนตร์และสื่อดิจิตอล
 
ภาพยนตร์เบื้องต้น
ภาพยนตร์เบื้องต้นภาพยนตร์เบื้องต้น
ภาพยนตร์เบื้องต้น
 
คำศัพท์ด้านการตัดต่อภาพ
คำศัพท์ด้านการตัดต่อภาพคำศัพท์ด้านการตัดต่อภาพ
คำศัพท์ด้านการตัดต่อภาพ
 
Cinema history
Cinema historyCinema history
Cinema history
 
Unit 3 1 basic to television pdf
Unit 3 1  basic to television pdfUnit 3 1  basic to television pdf
Unit 3 1 basic to television pdf
 
การแปลงไฟล์ Dat เป็นไฟล์ mpeg –1 ด้วย tmpg enc plus
การแปลงไฟล์ Dat เป็นไฟล์ mpeg –1 ด้วย tmpg enc plusการแปลงไฟล์ Dat เป็นไฟล์ mpeg –1 ด้วย tmpg enc plus
การแปลงไฟล์ Dat เป็นไฟล์ mpeg –1 ด้วย tmpg enc plus
 
การใช้สื่อสังคมออนไลน์ด้านสุขภาพ: Help or Harm?
การใช้สื่อสังคมออนไลน์ด้านสุขภาพ: Help or Harm?การใช้สื่อสังคมออนไลน์ด้านสุขภาพ: Help or Harm?
การใช้สื่อสังคมออนไลน์ด้านสุขภาพ: Help or Harm?
 
การสมัครเป็นสมาชิก Google
การสมัครเป็นสมาชิก Googleการสมัครเป็นสมาชิก Google
การสมัครเป็นสมาชิก Google
 
การเพิ่ม User ใน wordpress
การเพิ่ม User ใน wordpressการเพิ่ม User ใน wordpress
การเพิ่ม User ใน wordpress
 
วิวัฒนาการภาพยนตร์ไทย
วิวัฒนาการภาพยนตร์ไทยวิวัฒนาการภาพยนตร์ไทย
วิวัฒนาการภาพยนตร์ไทย
 
การใช้ Google+ เพื่อการแชร์ (Share) ภาพ
การใช้ Google+ เพื่อการแชร์ (Share) ภาพการใช้ Google+ เพื่อการแชร์ (Share) ภาพ
การใช้ Google+ เพื่อการแชร์ (Share) ภาพ
 
เนื้อหาโครงงาน
เนื้อหาโครงงานเนื้อหาโครงงาน
เนื้อหาโครงงาน
 
บทละครสมบัติพลัดสถาน
บทละครสมบัติพลัดสถานบทละครสมบัติพลัดสถาน
บทละครสมบัติพลัดสถาน
 
บทละครอลหม่านฯ
บทละครอลหม่านฯบทละครอลหม่านฯ
บทละครอลหม่านฯ
 
บทหนังสตางค์2012
บทหนังสตางค์2012บทหนังสตางค์2012
บทหนังสตางค์2012
 

More from Pipit Sitthisak

การบันทึกเสียงด้วยโปรแกรม Sound forge 7
การบันทึกเสียงด้วยโปรแกรม Sound forge 7การบันทึกเสียงด้วยโปรแกรม Sound forge 7
การบันทึกเสียงด้วยโปรแกรม Sound forge 7Pipit Sitthisak
 
การแปลง Dvd video เป็นไฟล์ avi ด้วยโปรแกรม dvd2 avi ver3
การแปลง Dvd video เป็นไฟล์ avi ด้วยโปรแกรม dvd2 avi ver3การแปลง Dvd video เป็นไฟล์ avi ด้วยโปรแกรม dvd2 avi ver3
การแปลง Dvd video เป็นไฟล์ avi ด้วยโปรแกรม dvd2 avi ver3Pipit Sitthisak
 
การใส่ลิงก์ (link) และจัดหมวดหมู่ของลิงก์ใน wordpress
การใส่ลิงก์ (link) และจัดหมวดหมู่ของลิงก์ใน wordpressการใส่ลิงก์ (link) และจัดหมวดหมู่ของลิงก์ใน wordpress
การใส่ลิงก์ (link) และจัดหมวดหมู่ของลิงก์ใน wordpressPipit Sitthisak
 
Part 2.2 ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพ
Part 2.2 ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพPart 2.2 ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพ
Part 2.2 ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพPipit Sitthisak
 
4 การแชร์ไฟล์จาก slideshare ไปยังเว็บบล็อก
4 การแชร์ไฟล์จาก slideshare ไปยังเว็บบล็อก4 การแชร์ไฟล์จาก slideshare ไปยังเว็บบล็อก
4 การแชร์ไฟล์จาก slideshare ไปยังเว็บบล็อกPipit Sitthisak
 
การใส่ลายน้ำแสดงลิขสิทธ์และใส่รหัสป้องกัน
การใส่ลายน้ำแสดงลิขสิทธ์และใส่รหัสป้องกันการใส่ลายน้ำแสดงลิขสิทธ์และใส่รหัสป้องกัน
การใส่ลายน้ำแสดงลิขสิทธ์และใส่รหัสป้องกันPipit Sitthisak
 
การสมัครเป็นสมาชิก slideshare
การสมัครเป็นสมาชิก slideshareการสมัครเป็นสมาชิก slideshare
การสมัครเป็นสมาชิก slidesharePipit Sitthisak
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์แมคอินทอช Ver2
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์แมคอินทอช Ver2ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์แมคอินทอช Ver2
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์แมคอินทอช Ver2Pipit Sitthisak
 
Unit 3 2 basic to video-pdf
Unit 3 2  basic to video-pdfUnit 3 2  basic to video-pdf
Unit 3 2 basic to video-pdfPipit Sitthisak
 
สอบปฏิบัติ ปลายภาค 1-2554
สอบปฏิบัติ ปลายภาค 1-2554สอบปฏิบัติ ปลายภาค 1-2554
สอบปฏิบัติ ปลายภาค 1-2554Pipit Sitthisak
 
Project 1 การสื่อความหมายด้วยภาพ
Project 1 การสื่อความหมายด้วยภาพProject 1 การสื่อความหมายด้วยภาพ
Project 1 การสื่อความหมายด้วยภาพPipit Sitthisak
 
Project 2 final project -p3
Project 2  final project -p3Project 2  final project -p3
Project 2 final project -p3Pipit Sitthisak
 
Project 1 การสื่อความหมายด้วยภาพ
Project 1 การสื่อความหมายด้วยภาพProject 1 การสื่อความหมายด้วยภาพ
Project 1 การสื่อความหมายด้วยภาพPipit Sitthisak
 
Chapter7 6-pr5-exporting movies-pdf
Chapter7 6-pr5-exporting movies-pdfChapter7 6-pr5-exporting movies-pdf
Chapter7 6-pr5-exporting movies-pdfPipit Sitthisak
 
Chapter7 5-pr5-mac-title-pdf
Chapter7 5-pr5-mac-title-pdfChapter7 5-pr5-mac-title-pdf
Chapter7 5-pr5-mac-title-pdfPipit Sitthisak
 
Chapter7 3-pr5-mac-transition
Chapter7 3-pr5-mac-transitionChapter7 3-pr5-mac-transition
Chapter7 3-pr5-mac-transitionPipit Sitthisak
 
Chapter7 2-pr5-mac-capturing-importing
Chapter7 2-pr5-mac-capturing-importingChapter7 2-pr5-mac-capturing-importing
Chapter7 2-pr5-mac-capturing-importingPipit Sitthisak
 
Chapter1 pr5-mac-introduction-pdf
Chapter1 pr5-mac-introduction-pdfChapter1 pr5-mac-introduction-pdf
Chapter1 pr5-mac-introduction-pdfPipit Sitthisak
 
การสร้างเนื้อเพลง Karaoke ด้วยโปรแกรม photo shop cs5
การสร้างเนื้อเพลง Karaoke ด้วยโปรแกรม photo shop cs5การสร้างเนื้อเพลง Karaoke ด้วยโปรแกรม photo shop cs5
การสร้างเนื้อเพลง Karaoke ด้วยโปรแกรม photo shop cs5Pipit Sitthisak
 
การแปลง Dvd video เป็นไฟล์ avi ด้วยโปรแกรม dvd2 avi
การแปลง Dvd video เป็นไฟล์ avi ด้วยโปรแกรม dvd2 aviการแปลง Dvd video เป็นไฟล์ avi ด้วยโปรแกรม dvd2 avi
การแปลง Dvd video เป็นไฟล์ avi ด้วยโปรแกรม dvd2 aviPipit Sitthisak
 

More from Pipit Sitthisak (20)

การบันทึกเสียงด้วยโปรแกรม Sound forge 7
การบันทึกเสียงด้วยโปรแกรม Sound forge 7การบันทึกเสียงด้วยโปรแกรม Sound forge 7
การบันทึกเสียงด้วยโปรแกรม Sound forge 7
 
การแปลง Dvd video เป็นไฟล์ avi ด้วยโปรแกรม dvd2 avi ver3
การแปลง Dvd video เป็นไฟล์ avi ด้วยโปรแกรม dvd2 avi ver3การแปลง Dvd video เป็นไฟล์ avi ด้วยโปรแกรม dvd2 avi ver3
การแปลง Dvd video เป็นไฟล์ avi ด้วยโปรแกรม dvd2 avi ver3
 
การใส่ลิงก์ (link) และจัดหมวดหมู่ของลิงก์ใน wordpress
การใส่ลิงก์ (link) และจัดหมวดหมู่ของลิงก์ใน wordpressการใส่ลิงก์ (link) และจัดหมวดหมู่ของลิงก์ใน wordpress
การใส่ลิงก์ (link) และจัดหมวดหมู่ของลิงก์ใน wordpress
 
Part 2.2 ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพ
Part 2.2 ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพPart 2.2 ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพ
Part 2.2 ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพ
 
4 การแชร์ไฟล์จาก slideshare ไปยังเว็บบล็อก
4 การแชร์ไฟล์จาก slideshare ไปยังเว็บบล็อก4 การแชร์ไฟล์จาก slideshare ไปยังเว็บบล็อก
4 การแชร์ไฟล์จาก slideshare ไปยังเว็บบล็อก
 
การใส่ลายน้ำแสดงลิขสิทธ์และใส่รหัสป้องกัน
การใส่ลายน้ำแสดงลิขสิทธ์และใส่รหัสป้องกันการใส่ลายน้ำแสดงลิขสิทธ์และใส่รหัสป้องกัน
การใส่ลายน้ำแสดงลิขสิทธ์และใส่รหัสป้องกัน
 
การสมัครเป็นสมาชิก slideshare
การสมัครเป็นสมาชิก slideshareการสมัครเป็นสมาชิก slideshare
การสมัครเป็นสมาชิก slideshare
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์แมคอินทอช Ver2
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์แมคอินทอช Ver2ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์แมคอินทอช Ver2
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์แมคอินทอช Ver2
 
Unit 3 2 basic to video-pdf
Unit 3 2  basic to video-pdfUnit 3 2  basic to video-pdf
Unit 3 2 basic to video-pdf
 
สอบปฏิบัติ ปลายภาค 1-2554
สอบปฏิบัติ ปลายภาค 1-2554สอบปฏิบัติ ปลายภาค 1-2554
สอบปฏิบัติ ปลายภาค 1-2554
 
Project 1 การสื่อความหมายด้วยภาพ
Project 1 การสื่อความหมายด้วยภาพProject 1 การสื่อความหมายด้วยภาพ
Project 1 การสื่อความหมายด้วยภาพ
 
Project 2 final project -p3
Project 2  final project -p3Project 2  final project -p3
Project 2 final project -p3
 
Project 1 การสื่อความหมายด้วยภาพ
Project 1 การสื่อความหมายด้วยภาพProject 1 การสื่อความหมายด้วยภาพ
Project 1 การสื่อความหมายด้วยภาพ
 
Chapter7 6-pr5-exporting movies-pdf
Chapter7 6-pr5-exporting movies-pdfChapter7 6-pr5-exporting movies-pdf
Chapter7 6-pr5-exporting movies-pdf
 
Chapter7 5-pr5-mac-title-pdf
Chapter7 5-pr5-mac-title-pdfChapter7 5-pr5-mac-title-pdf
Chapter7 5-pr5-mac-title-pdf
 
Chapter7 3-pr5-mac-transition
Chapter7 3-pr5-mac-transitionChapter7 3-pr5-mac-transition
Chapter7 3-pr5-mac-transition
 
Chapter7 2-pr5-mac-capturing-importing
Chapter7 2-pr5-mac-capturing-importingChapter7 2-pr5-mac-capturing-importing
Chapter7 2-pr5-mac-capturing-importing
 
Chapter1 pr5-mac-introduction-pdf
Chapter1 pr5-mac-introduction-pdfChapter1 pr5-mac-introduction-pdf
Chapter1 pr5-mac-introduction-pdf
 
การสร้างเนื้อเพลง Karaoke ด้วยโปรแกรม photo shop cs5
การสร้างเนื้อเพลง Karaoke ด้วยโปรแกรม photo shop cs5การสร้างเนื้อเพลง Karaoke ด้วยโปรแกรม photo shop cs5
การสร้างเนื้อเพลง Karaoke ด้วยโปรแกรม photo shop cs5
 
การแปลง Dvd video เป็นไฟล์ avi ด้วยโปรแกรม dvd2 avi
การแปลง Dvd video เป็นไฟล์ avi ด้วยโปรแกรม dvd2 aviการแปลง Dvd video เป็นไฟล์ avi ด้วยโปรแกรม dvd2 avi
การแปลง Dvd video เป็นไฟล์ avi ด้วยโปรแกรม dvd2 avi
 

4 คุณลักษณะ บทบาทหน้าที่และอิทธิพลของภาพยนตร์

  • 1. ค ว า ม รู้ เ กี่ ย ว กั บ ภ า พ ย น ต ร์ ห น้ า | 1 ภาพยนตร์เบื้องต้น | พิพิษณ์ สิทธิศักดิ์ | Last Update : 4 มี.ค. 2555 ๑.๔ คุณลักษณะ บทบาทหน้าที่ และอิทธิพลของภาพยนตร์ ๑.๔.๑ คุณลักษณะพิเศษของภาพยนตร์ ภาพยนตร์แต่ละเรื่องกว่าจะสร้างเสร็จสมบูรณ์ได้ ต้องอาศัยเทคนิค ความรู้ความสามารถและ เงินลงทุนอย่างสูง แม้ภาพยนตร์เรื่องที่ถือว่าสร้างได้ง่ายๆ ก็ต้องลงทุนนับล้านบาทขึ้นไปสาหรับการสร้าง ภาพยนตร์ในปัจจุบัน แต่หากเป็นเรื่องที่ต้องใช้ฉากและการแสดงที่ยุ่งยาก มีเทคนิคพิสดารต่างๆ มาประกอบ การสร้างภาพยนตร์เรื่องนั้นๆ จะต้องลงทุนเป็นเงินนับร้อยล้านบาททีเดียว ซึ่งนั่นหมายถึงความพยายามอย่าง สูงยิ่งของคนกลุ่มหนึ่งที่จะถ่ายทอดเรื่องราว เหตุการณ์ ศิลปะ ความสามรถ ความรู้สึกนึกคิดของตนไปสู่ สาธารณชน โดยอาศัยภาพยนตร์เป็นสื่อ ไม่ว่าฝ่ายผู้สร้างภาพยนตร์จะมีวัตถุประสงค์ในการสร้างภาพยนตร์แต่ ละเรื่องไปในแนวทางใด ก็มักจะบรรลุจุดประสงค์ตามความต้องการของผู้สร้างเสมอ โดยเฉพาะจุดประสงค์ ด้านการขายความบันเทิง ดังนั้นหากใช้ภาพยนตร์เป็นสื่อสาหรับการศึกษา ก็น่าเชื่อว่าภาพยนตร์จะสามารถ ถ่ายทอดความรู้ความคิดที่เป็นประโยชน์ไปสู่ประชาชนอย่างกว้างขวาง ภาพยนตร์สามารถถ่ายทอดเรื่องราว ต่างๆ ให้ผู้ชมเข้าใจ หรือเกิดความซาบซึ้งได้ดีกว่าสื่อประเภทอื่น เนื่องจากภาพยนตร์เป็นสื่อที่ลักษณะพิเศษ บางประการ ซึ่งเกิดจากปัจจัยสนับสนุนหลายอย่าง คือคุณสมบัติทางกายภาพของภาพยนตร์ การใช้เงินลงทุน สูง ในการสร้างภาพยนตร์ใช้การแสดงที่สมจริง สามารถใช้เทคนิคพิเศษในการสร้างภาพเหมือนจริงมีคุณสมบัติ ในการสร้างจินตนาการ ๑) คุณลักษณะทางกายภาพ ได้แก่ คุณสมบัติทางด้านภาพและเสียงของภาพยนตร์ที่ดีเด่น กว่าสื่อประเภท อื่นๆ ทาให้ภาพยนตร์สามารถถ่ายทอดเหตุการณ์ ข้อเท็จจริงต่างๆ ออกมาให้ศึกษาเข้าใจได้ อย่างดีเยี่ยม คุณลักษณะทางกายภาพด้านต่างๆ ของภาพยนตร์ได้แก่ - เป็นภาพเคลื่อนไหว ที่สามารถเปลี่ยนแปลงให้เกิดการเคลื่อนไหวในลักษณะต่างๆ เช่น ให้เคลื่อนไวเร็วกว่าที่เป็นจริง ให้เคลื่อนไหวตามความเป็นจริงหรืออาจทาให้เคลื่อนไหวช้ากว่าที่เป็นจริงก็ได้ - คุณภาพของสี ฟิล์มภาพยนตร์สามารถถ่ายทอดสีออกมาได้อย่างสมบูรณ์ตามความ เป็นจริง และสามารถดัดแปลงแต่งเติมสีของภาพได้ตามต้องการ - ความคมชัด เนื่องจากภาพยนตร์ทั่วไปใช้ฟิล์มขนาดใหญ่ คุณภาพสูงประกอบกับ คุณภาพของอุปกรณ์ในการถ่ายภาพและฉายภาพทาให้ได้ภาพที่มี ความคมชัดสูงซึ่งภาพจากระบบโทรทัศน์ใน ปัจจุบันไม่สามารถทาได้ - ขนาดของภาพ สามารถทาให้มีขนาดใหญ่ได้ตามต้องการ ภาพยนตร์ทั่วไปซึ่งใช้ฟิล์ม ขนาด 35 ม.ม. ถ่ายและฉายด้วยระบบจอกว้างต่างๆ ก็สามารถฉายให้ภาพขนาดใหญ่เพียงพอสาหรับการชม
  • 2. ค ว า ม รู้ เ กี่ ย ว กั บ ภ า พ ย น ต ร์ ห น้ า | 2 ภาพยนตร์เบื้องต้น | พิพิษณ์ สิทธิศักดิ์ | Last Update : 4 มี.ค. 2555 โดยทั่วไป แต่หากต้องการให้มีขนาดใหญ่เป็นพิเศษ ก็สามารถทาได้โดยใช้ฟิล์มถ่ายและฉายในระบบ 65/70 ม. ม. - ระบบเสียงภาพยนตร์ ซึ่งสามารถใช้ระบบเสียงธรรมดา หรืออาจใช้ระบบเสียงแบบ พิเศษสาหรับภาพยนตร์โดยเฉพาะ ทาให้ได้เสียงที่น่าตื่นเต้นเร้าใจมากขึ้น หลายสิบปีที่ผ่านมา ระบบการสร้าง ภาพของภาพยนตร์ ไม่มีการเปลี่ยนแปลงมากนัก แต่ระบบเสียงเปลี่ยนแปลงไปมาก และใช้ระบบเสียงแบบ ใหม่ที่ดีกว่า เป็นสิ่งจูงใจผู้ชม ๒) การลงทุนสาหรับภาพยนตร์ การสร้างภาพยนตร์โดยทั่วไปซึ่งเป็นภาพยนตร์สาหรับการ บันเทิงเป็นธุรกิจ ที่ใช้เงินลงทุนค่อนข้างสูง ภาพยนตร์ที่มีลักษณะพิเศษบางเรื่องอาจลงทุนนับพันล้านบาทเพื่อ ใช้จ่ายเกี่ยว กับผู้แสดงและวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ สิ่งที่แสดงให้เห็นว่าการสร้างภาพยนตร์บางเรื่องจะต้องใช้เงิน ลงทุนจานวนมาก เช่น - การใช้ดาราผู้แสดงที่มีชื่อเสียง ค่าตัวสูง - การใช้ผู้แสดงพร้อมกันนับพันนับหมื่นคน และใช้เครื่องแต่งกายที่ทาขึ้นโดยเฉพาะ - การสร้างฉากที่ต้องใช้วัสดุอุปกรณ์ หรือยานพาหนะจานวนมาก - การสร้างเหตุการณ์จากของจริงที่มีการสูญเสียมากๆ เช่น อุบัติเหตุรถชน ไฟไหม้ ฯลฯ - การสร้างเทคนิคจาลองต่างๆ ๓) การแสดงที่สมจริง การแสดงในภาพยนตร์ มีพื้นฐานมาจากแสดงละคร ผู้แสดงโดยทั่วไปมีความสามารถอย่างสูงใน การถ่ายทอดอารมณ์ ความรู้สึก ของตัวละครออกมาให้ผู้ชมเข้าใจได้อย่างลึกซึ้ง ประกอบเทคนิคการสื่อ ความหมายทางด้านภาพและเสียงของภาพยนตร์ ที่ต้องอาศัยมุมกล้อง แสง การตัดต่อ การให้เสียง ได้อารมณ์ ตามที่ต้องการ ซึ่งสิ่งเหล่านี้มีอิทธิพลอย่างสูงต่อความรู้สึกและเข้าใจของผู้ชม ดังนั้น การแสดงในภาพยนตร์ จึง ถือเป็นเรื่องสาคัญ ผู้สร้างภาพยนตร์มักจ้างผู้แสดงและผู้กากับที่มีความสามารถสูง ซึ่งจาเป็นต้องใช้เงินลงทุน สูงด้วย ๔) การสร้างภาพด้วยเทคนิคพิเศษ หมายถึง การใช้เทคนิควิธีการ หรือเครื่องมือใดๆ สร้าง ภาพของภาพยนตร์จากสิ่งจาลองให้เหมือนจริง ด้วยเหตุผลและความจาเป็นด้านต่างๆ เช่น ความปลอดภัย การประหยัด สถานการณ์ที่ในความจริงเป็นไปไม่ได้ หรือสถานการณ์ที่แสดงให้เห็นชัดเจนมากกว่าใช้ สถานการณ์จริง ตัวอย่างของภาพต่างๆ ที่สร้างด้วยเทคนิคพิเศษ ได้แก่ (พจนี นิราศรพ ม.ป.ท. : 138 หน้า)
  • 3. ค ว า ม รู้ เ กี่ ย ว กั บ ภ า พ ย น ต ร์ ห น้ า | 3 ภาพยนตร์เบื้องต้น | พิพิษณ์ สิทธิศักดิ์ | Last Update : 4 มี.ค. 2555 - ภาพแสดงความสามารถ อิทธิฤทธิ์ ปาฏิหาริย์ เช่น ภาพยนตร์กาลังภายใน การปีนเขา ตกจากที่สูง การเหาะเหินเดินอากาศ การขับเครื่องบินผาดโผน - ภาพคนที่ถูกตกแต่ง (Makeup) ให้มีหน้าตาอัปลักษณ์ รอยแผลจากอาวุธ ภาพผี การ แต่งหน้าให้เป็นคนหนุ่มหรือแก่ - ภาพวัตถุหรือสัตว์ขนาดใหญ่ เช่น ปลาฉลาม ยานอวกาศ ไดโนเสาร์ เรือดาน้า สัตว์ ประหลาดต่างๆ ซึ่งความจริงเป็นเพียงรูปภาพ หรือหุ่นจาลองขนาดต่างๆ - ภาพอุบัติเหตุ อุบัติภัยต่างๆ เช่น รถชน ระเบิด ไฟไหม้ น้าท่วม เครื่องบินตก เขื่อนพัง ตึกถล่ม รถไฟตกราง ภาพฉากสงคราม - ปรากฏการณ์ธรรมชาติ เช่น ฝนตก ฟ้าแลบ ฟ้าผ่า ความแห้งแล้ง แผ่นดินไหว ภูเขาไฟ ระเบิด ภาพต่างๆ เหล่านี้ผู้สร้างอาจใช้เทคนิค หลายแบบเช่น เทคนิคการถ่ายภาพ การแสดง การสร้างและตัด ต่อภาพ เทคนิคกลไก การย่อส่วน การเมคอัพ หรือเทคนิคอื่นๆ ตามความเหมาะสม และความพร้อมของ ผู้สร้าง การใช้ภาพเทคนิคพิเศษต่างๆ ถือว่าเป็นเอกลักษณ์เฉพาะของภาพยนตร์ ซึ่งทาให้ผู้ชมเกิดความเข้าใจ เรื่อง และรู้สึกตื่นเต้นสนุกสนานได้มากเป็นพิเศษ ๕) การสร้างจินตนาการ เทคนิคของภาพยนตร์ สามารถสร้างเรื่องราวในลักษณะที่เป็น จินตนาการซึ่งไม่มีในความเป็นจริง เช่น ภาพยนตร์การ์ตูน เรื่องราวในประวัติศาสตร์ เหตุการณ์ในอนาคต เหตุการณ์ในอวกาศมนุษย์ต่างดาว สัตว์ประหลาด เรื่องราวที่เป็นจินตนาการในภาพยนตร์ บางอย่างเป็นเรื่องที่ คิดขึ้นเพื่อความสนุกสนานไม่มีเหตุผลหรือความน่าเชื่อถือใดๆ แต่ภาพยนตร์บางเรื่องเป็นการสร้างจินตนาการ ที่อาศัยเหตุผลหรือหลักฐานที่ค้นพบได้ในปัจจุบัน แล้วสร้างเรื่องราวขึ้นมาเพื่อแสดงถึงความเชื่อ หรือทฤษฎี บางอย่าง ซึ่งไม่ว่าจะเป็นจินตนาการลักษณะใดก็ตาม มักสร้างตื่นเต้นเร้าใจ หรือทาให้ผู้ชมเกิดความคิดตาม เรื่องราวของภาพยนตร์ได้เสมอ ๑.๔.๒ บทบาทหน้าที่และอิทธิพลของภาพยนตร์ ๑. ด้านความบันเทิง ภาพยนตร์เป็นสื่อที่มีบทบาทด้านความขายความบันเทิงมาตั้งแต่ยุคเริ่มแรก ไม่ว่าจะเป็น ภาพยนตร์ แบบคิเนโตสโคบ (Kinetoscope) ของเอดิสันหรือ แบบซินเนมาโตกราฟ (Cinemato- graph) ของพี่น้องลูมิแอร์ (Lumiere) ต่างก็ฉายภาพยนตร์บันเทิงเก็บเงินจากผู้ชมมาก่อนทั้งสิ้น ตลอดเวลาที่ผ่านมาก
  • 4. ค ว า ม รู้ เ กี่ ย ว กั บ ภ า พ ย น ต ร์ ห น้ า | 4 ภาพยนตร์เบื้องต้น | พิพิษณ์ สิทธิศักดิ์ | Last Update : 4 มี.ค. 2555 ว่าร้อยปี นับตั้งแต่มีภาพยนตร์เกิดขึ้นจนถึงปัจจุบันภาพยนตร์ได้มีบทบาทในการให้ความ บันเทิงแก่คนทั้งโลก มาอย่างต่อเนื่อง แม้ว่าจะมีการนาภาพยนตร์ไปใช้สาหรับกิจการด้านอื่นๆ อีกหลายด้านในระยะหลัง แต่ใน ด้านการบันเทิงภาพยนตร์ยังคงคุณค่าและมีความสาคัญอยู่เสมอ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการชมภาพยนตร์คุณภาพ ดีๆ ในโรงภาพยนตร์มาตรฐาน ที่จอภาพขนาดใหญ่ ภาพคมชัด ระบบเสียงสมบูรณ์ทันสมัย ย่อมทาให้ผู้ชม ได้รับความบันเทิงและเกิดความประทับใจมากเป็นพิเศษ ทั้งนี้เป็นผลมาจากคุณลักษณะพิเศษของภาพยนตร์ที่ สามารถนาข้อเท็จจริงหรือ สร้างจินตนาการให้เกิดความบันเทิงด้วยเทคนิควิธีการต่างๆ ได้หลายแบบ เช่นทา ให้เห็นสิ่งแปลกๆพิสดาร สิ่งที่ชวนให้ตื่นเต้นเร้าใจ หรือทาให้ดีใจ เสียใจ สะเทือนอารมณ์ จากการศึกษาบทบาทของสื่อมวลชนที่มีอิทธิพลต่อการศึกษาของชาวบ้าน โดยสานักงาน คณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2521 พบว่าภาพยนตร์ประเภทบันเทิง มีผู้ชมมากที่สุดถึงร้อยละ 98 จึงเห็นได้อย่างชัดเจนว่า ภาพยนตร์เป็นสื่อมวลชนเพื่อการบันเทิงอย่างแท้จริง หากไม่นับภาพยนตร์เฉพาะกิจ ต่างๆ เช่นภาพยนตร์โฆษณาประชาสัมพันธ์ ภาพยนตร์การศึกษา อาจกล่าวได้ว่าภาพยนตร์ทั้งหมดที่จัดสร้าง และนาออกฉายอยู่ในปัจจุบัน ล้วนมีจุดประสงค์ด้านธุรกิจการค้าขายความบันเทิงแทบทั้งสิ้น คุณค่าของ ภาพยนตร์จึงเป็นเรื่องของความบันเทิงเป็นด้านหลัก ส่วนคุณค่าในด้านอื่นๆ เป็นเพียงคุณค่าแฝงที่ผู้สร้างอาจ จงใจสร้างให้มีหรือไม่ก็ตาม การที่ภาพยนตร์มีบทบาทมากด้านการให้ความบันเทิง เป็นผลให้เกิดการสร้าง ภาพยนตร์เพื่อการบันเทิงที่เกินขอบเขตด้านศีลธรรม จริยธรรมของสังคม เช่น ภาพยนตร์ที่แสดงออกทางเพศ ในลักษณะลามกอนาจาร ภาพยนตร์ที่แสดงถึงความวิตถาร ผิดปกติทางจิต อาชญากรรม การกระทาที่ชวน หวาดเสียว สยดสยอง ซึ่งภาพยนตร์เหล่านี้เชื่อกันว่ามีอิทธิพลต่อบุคคล ส่งเสริมให้เกิดความคิดและนาไปสู่การ แสดงพฤติกรรมที่เป็นภัยต่อสังคม จาเป็นต้องได้รับการควบคุมให้อยู่ในขอบเขตที่เหมาะสม ๒. การเสนอข่าวและสาระทั่วไป การเสนอข่าวโดยใช้ภาพยนตร์ เมื่อเปรียบเทียบกับสื่อมวลชนประเภทอื่นในปัจจุบันแล้ว ภาพยนตร์มักจะกระทาโดยล่าช้ากว่าเนื่องจากการถ่ายทาภาพยนตร์ต้องมีขบวนการ ล้างฟิล์ม ตัดต่อภาพ และ บันทึกเสียง ซึ่งต้องใช้เวลานานพอสมควรในขณะที่วิทยุ โทรทัศน์ หรือหนังสือพิมพ์ สามารถทาได้รวดเร็วกว่า ในอดีตที่วิทยุและโทรทัศน์ยังไม่แพร่หลาย ภาพยนตร์ได้มีบทบาทสาคัญในการเสนอข่าวสาร เนื่องจากเป็นสื่อ ที่แสดงให้เห็นได้ทั้งภาพเคลื่อนไหวและเสียง ที่ยังไม่มีสื่ออื่นใดทาได้มาก่อน จึงทาให้ข่าวสารต่างๆ ที่นาเสนอ โดยภาพยนตร์ ได้รับความสนใจจากประชาชนมากเป็นพิเศษ แม้ว่าบางครั้งการนาเสนอข่าวสารต่างๆ เหล่านั้น เกิดความล่าช้าไป จนกระทั่งบางอย่างหมดลักษณะของความเป็นข่าว กลายเป็นประวัติศาสตร์หรือสารคดีไป แล้ว ก็ยังได้รับความนิยม เช่น ภาพยนตร์ข่าวในพระราชสานัก ภาพยนตร์ข่าวในประเทศและต่างประเทศ
  • 5. ค ว า ม รู้ เ กี่ ย ว กั บ ภ า พ ย น ต ร์ ห น้ า | 5 ภาพยนตร์เบื้องต้น | พิพิษณ์ สิทธิศักดิ์ | Last Update : 4 มี.ค. 2555 ภาพยนตร์สงคราม การนาเสนอภาพยนตร์ประเภทนี้ในอดีตมักอาศัยหน่วยงานราชการ สานักข่าวสาร ต่างประเทศ เช่น สานักงานเร่งรัดพัฒนาชนบท (รพช.) สานักข่าวสารอเมริกัน (Usis : United States Information Service) ตระเวนไปจัดฉายภาพยนตร์เพื่อเผยแพร่ข่าวสารตามที่ต่างๆ ในปัจจุบันที่กิจการ โทรทัศน์ขยายตัวอย่างแพร่หลาย โทรทัศน์สามารถนาเสนอเสียงและภาพเคลื่อนไหวได้เช่นเดียวกับภาพยนตร์ แต่มีความรวดเร็วกระจายข่าวถึงประชาชนได้มากกว่า รายการภาพยนตร์จานวนมากถูกถ่ายทอด หรือนาเสนอ ผ่านทางโทรทัศน์ การนาเสนอข่าวด้วยภาพยนตร์โดยตรงมีให้เห็นน้อยมาก จะมีบ้างก็เฉพาะในหน่วยงานทาง การศึกษาและหน่วยงานที่ยังคงใช้ภาพยนตร์บันทึก ข่าวสารเพื่อเก็บรักษาข่าวสารไว้นานๆ ๓. ด้านการศึกษา ด้วยคุณลักษณะที่ดีเด่นของภาพยนตร์ ที่สามารถทาให้ผู้ชมเกิดความเข้าใจเรื่องราวได้อย่าง ลึกซึ้ง ภาพยนตร์จึงถูกนามาใช้เพื่อกิจการทางการศึกษาอย่างแพร่หลาย ทั้งในรูปการใช้สาหรับการเรียนการ สอน หรือการฝึกอบรมตามหลักสูตรโดยตรง และการใช้ภาพยนตร์สาหรับการศึกษาทั่วไป นอกจากนี้ ภาพยนตร์ที่สร้างเพื่อจุดประสงค์ด้านการบันเทิง ก็มีจานวนไม่น้อยที่มีคุณค่าทางด้านการศึกษาแฝงอยู่ สามารถเลือกมาใช้เพื่อประโยชน์ทางการศึกษาได้อย่างกว้างขวาง ลักษณะภาพยนตร์ที่จัดว่าเป็นสื่อมวลชน ได้แก่ภาพยนตร์ที่จัดสร้างและฉายในสาธารณชนได้รับชม ไม่รวมถึงภาพยนตร์เฉพาะกิจต่างๆ จุดประสงค์ของ ผู้สร้างและเรื่องราวในภาพยนตร์ ส่วนใหญ่เป็นไปเพื่อความบันเทิงกระตุ้นอารมณ์ผู้ชม คุณค่าทางการศึกษา ของภาพยนตร์แต่เรื่อง อาจมีมากบ้างน้อยบ้างแตกต่างกันไป บางเรื่องนอกจากจะไม่มีคุณค่าทางการศึกษา แล้วยังอาจให้ผลกลับในทางตรงข้าม เช่น ทาให้เกิดความคิดค่านิยมไปในทางที่ผิด การพิจารณาภาพยนตร์แต่ ละเรื่องว่ามีคุณค่าทางการศึกษาหรือไม่ ส่วนหนึ่งอาจพิจารณาได้จากสาระสาคัญในเนื้อหาของเรื่องว่า เกี่ยวข้องกับเรื่องใด ภาพยนตร์ที่ถือว่ามีคุณค่าทางการศึกษาที่เห็นได้ชัดเจน เช่น - เรื่องราวจากวรรณคดี วรรณกรรม หรือเรื่องประวัติศาสตร์ เช่น บางระจัน นเรศวร
  • 6. ค ว า ม รู้ เ กี่ ย ว กั บ ภ า พ ย น ต ร์ ห น้ า | 6 ภาพยนตร์เบื้องต้น | พิพิษณ์ สิทธิศักดิ์ | Last Update : 4 มี.ค. 2555 - อัตชีวประวัติของผู้มีชื่อเสียง หรือผู้ที่เคยทาคุณประโยชน์แก่สังคม เช่น The Social Network , ท็อป ซีเคร็ต วัยรุ่นพันล้าน ภาพยนตร์เรื่อง “The Social Network” นาเสนอเรื่องราวของมาร์ค ซัคเคอร์เบิร์ก ผู้ก่อตั้ง เฟซบุ๊ก ภาพยนตร์เรื่อง “Top Secret วัยรุ่นพันล้าน” ชีวิตของอิทธิพัทธ์ กุลพงษ์วณิชย์ เจ้าของธุรกิจขนม สาหร่ายทอด เถ้าแก่น้อย (http://movie.sanook.com/news/news_177 42.php) http://th.wikipedia.org/wiki/ท็อป_ซีเคร็ต_วัยรุ่น พันล้าน - การศึกษาค้นคว้าทดลองที่เป็นประโยชน์ - การใช้ภาษา และการอนุรักษ์ ศิลปวัฒนธรรม ภาพยนตร์เรื่อง “ปัญญา เรณู” ภาพยนตร์สะท้อนกลิ่นอายวัฒนธรรม และวิถีชีวิตของชาวอีสาน
  • 7. ค ว า ม รู้ เ กี่ ย ว กั บ ภ า พ ย น ต ร์ ห น้ า | 7 ภาพยนตร์เบื้องต้น | พิพิษณ์ สิทธิศักดิ์ | Last Update : 4 มี.ค. 2555 (http://movie.mthai.com/movie-profile/new-movie/84298.html) - การสะท้อนให้เห็นปัญหาของบุคคลและสังคมทั้งด้านจิตวิทยา คุณธรรม จริยธรรม - เรื่องราวเกี่ยวกับความรู้แต่ละสาขาโดยตรงเช่น วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พลังงาน ทรัพยากร สิ่งแวดล้อม ฯลฯ ภาพยนตร์แต่ละเรื่องที่นาออกฉายสู่สาธารณชนได้ผ่านการพิจารณาแล้วว่าไม่เป็นพิษเป็นภัย ซึ่ง ย่อมจะถือได้ว่ามีคุณค่าทางการศึกษาอยู่ไม่มากก็น้อย เพียงแต่ผู้ชมอาจไม่ทราบ แต่จะได้รับคุณค่าทาง การศึกษาจากการชมภาพยนตร์เพื่อความบันเทิงโดยไม่รู้ตัว ภาพยนตร์ส่วนใหญ่มีแนวเรื่องที่ผูกพันแน่นแฟ้น กับค่านิยมทาดีได้ดี ทาชั่วได้ชั่ว เรื่องราวของภาพยนตร์มักจะจบลงด้วยความสมหวัง และฝ่ายธรรมชนะฝ่าย อธรรมเสมอ ภาพยนตร์บางเรื่องสะท้อนให้เห็นสภาพชีวิตสังคม และ การวิเคราะห์เชิงจิตวิทยาอย่างลึกซึ้ง
  • 8. ค ว า ม รู้ เ กี่ ย ว กั บ ภ า พ ย น ต ร์ ห น้ า | 8 ภาพยนตร์เบื้องต้น | พิพิษณ์ สิทธิศักดิ์ | Last Update : 4 มี.ค. 2555 ๔. ด้านศิลปวัฒนธรรม ค่านิยมของบุคคลและสังคม ด้วยศิลปะและเทคนิคต่างๆ ในการสร้างภาพยนตร์ ทาให้ภาพยนตร์มีคุณสมบัติพิเศษที่สามารถ สร้างอารมณ์ความรู้สึกให้ กับผู้ชมได้อย่างมาก เช่น ตื่นเต้นสนุกสนาน ดีใจ เศร้า สะเทือนใจ อารมณ์หรือ ความรู้สึกที่เข้าถึงจิตใจในระดับลึก อันเกิดจากความประทับใจจากการชมภาพยนตร์บางเรื่องบางตอน หรือ เกิดจากการที่ได้รับการกระตุ้นซ้าจากภาพยนตร์บ่อยๆ ย่อมจะทาให้เกิดความเชื่อที่ฝังใจกลายเป็นค่านิยมของ บุคคลและสังคมขึ้นได้ ภาพยนตร์ทาให้เกิดค่านิยมด้านต่างๆ ได้ทั้งทางดีและทางไม่ดี เช่น ค่านิยมที่ดีทาง จริยธรรมได้แก่ความกตัญญู ความเคารพเชื่อฟังผู้ใหญ่ ความสุภาพเรียบร้อย ความเสียสละ ความประพฤติที่ ควรยกย่องตามแบบของสังคมไทย ภาพยนตร์บางเรื่องทาให้ผู้ชมเกิดความคิด ความเชื่อในทางที่ไม่ถูกต้อง เช่น การแก้แค้น การเอาตัวรอด การกอบโกยผลประโยชน์ ภาพยนตร์ไทยเรื่อง “น้าตาลแดง” ซึ่งถูกวิพากษ์วิจารณ์เรื่องนาเสนอค่านิยมที่ไม่เหมาะสมทางจริยธรรม (http://www.oknation.net/blog/GRANG-PRANG/2010/09/01/entry-1) นอกจากนี้ ภาพยนตร์ยังทาให้เกิดความเปลี่ยนแปลงด้านศิลปวัฒนธรรม เนื่องจากภาพยนตร์ สามารถนาเอาภาพและเสียงของศิลปวัฒนธรรมจากแหล่งหนึ่งไปสู่ประชาชนในแหล่งอื่นๆ เช่น การนาเอา ศิลปวัฒนธรรมด้านดนตรี และการแสดงของประเทศทางแถบตะวันตกไปสู่สายตาผู้ชมภาพยนตร์ในประเทศ แถบเอเชีย เช่น ประเทศไทย ทาให้เกิดการเปลี่ยนแบบแฟชั่นการแต่งกาย การแสดงออกด้านพฤติกรรมของ การดาเนินชีวิตและศิลปวัฒนธรรมด้านอื่นๆ หรือแม้กระทั่งประเทศในแถบเอเชียด้วยกันก็ตาม เช่น อิทธิพล ของภาพยนตร์เกาหลี ละครซีรีส์เกาหลีทางโทรทัศน์ เพลง ที่ส่งผลต่อคนไทย ทั้งวัยรุ่น และวัยทางานให้เกิด
  • 9. ค ว า ม รู้ เ กี่ ย ว กั บ ภ า พ ย น ต ร์ ห น้ า | 9 ภาพยนตร์เบื้องต้น | พิพิษณ์ สิทธิศักดิ์ | Last Update : 4 มี.ค. 2555 อาการคลั่งไคล้ และเกิดการเลียนแบบในเรื่องการแต่งกาย การทาทรงผม การบริโภค และการท่องเที่ยว เป็น ต้น ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ ฝนทิพย์ บารมีรัตนชัย ที่ศึกษา “อิทธิพลของละครเกาหลีที่มีต่อการท่องเที่ยว เกาหลีของคนในเขตกรุงเทพมหานคร” พบว่า ความประทับใจในละครที่มีผลต่อการตัดสินใจไปเกาหลีของผู้ที่ สนใจจะเดินทางไปท่องเที่ยวเกาหลีและผู้ที่ตัดสินใจเดินทางไปเกาหลี โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อ พิจารณารายด้านพบว่า ผู้ที่สนใจจะเดินทางไปท่องเที่ยวเกาหลีและผู้ที่ตัดสินใจจะเดินทางไปเกาหลีมีความ ประทับใจในละครเกาหลีเป็นอันดับแรก คือ ความสวยงามของภูมิทัศน์ ฉากในละคร หรือสถานที่ถ่ายทา ละคร อยู่ในระดับมากที่สุด ส่วน เพลง-ทานองประกอบไพเราะ นักแสดง (พระเอก-นางเอก) บทละคร-เนื้อ เรื่อง ความสามารถของนักแสดง การดาเนินเรื่องของตัวประกอบ และผู้กากับ อยู่ในระดับมาก ภาพยนตร์ส่วนใหญ่จะนาเสนอเรื่องราวในลักษณะการแสดงที่แยกแยะสิ่งถูกสิ่งผิด ความดี ความชั่ว หรือคนดีคนเลว ให้เห็นอย่างชัดเจน เรื่องราวมักจะจบลงด้วยความดีชนะความชั่ว คนดีชนะคนเลว ความเชื่อหรือค่านิยมที่เกิดขึ้นเป็นไปในทางที่ถูกต้อง แต่ในภาพยนตร์บางเรื่องนาเสนอเรื่องราวที่ผูกพันกับ ความเป็นจริงในชีวิต โดยสร้างเหตุผลหรือเงื่อนไขของเหตุการณ์ที่ผู้ชมยากจะตัดสินได้ว่าสิ่งใดถูก สิ่งใดผิด ใคร ดีใครเลว ความเชื่อหรือค่านิยมที่เกิดขึ้น จึงขึ้นอยู่กับการพิจารณาของแต่ละบุคคล ภาพยนตร์ประเภทนี้อาจไม่ เหมาะสาหรับเด็ก ตัวอย่างของภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายทั่วไป ส่วนหนึ่งนาเสนอเรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับเรื่อง รักๆ ใคร่ๆ อิจฉา ริษยา ชิงดีชิงเด่น ซึ่งไม่ส่งเสริมค่านิยมที่ดี จนมีผู้เรียกภาพยนตร์ว่าเป็นภาพยนตร์ "น้าเน่า" ส่วนภาพยนตร์จีนมักให้ความคิดในเรื่องการแก้แค้น แต่ก็มีค่านิยมเรื่องความกตัญญูมาชดเชย ดังคาพูดที่ได้ฟังเสมอว่า "บุญคุณต้องทดแทน แค้นต้องชาระ" ผู้สร้างภาพยนตร์ไทยมักให้เหตุผลที่ต้องสร้าง ภาพยนตร์ลักษณะดังกล่าวว่า เป็นความต้องการของตลาดหรือผู้ชมและมีข้อจากัดเกี่ยวกับการลงทุน แต่มี ผู้สร้างภาพยนตร์ส่วนหนึ่งที่พยายามสร้างภาพยนตร์แบบคุณภาพ โดยถือว่าการสร้างภาพยนตร์นอกจากจะให้ ผู้ชมได้รับความบันเทิงแล้วยังมี หน้าที่ในการยกระดับรสนิยม รวมถึงส่งเสริมค่านิยมของผู้ชมไปพร้อมกันด้วย 5. ด้านการโฆษณาและประชาสัมพันธ์ คุณลักษณะที่สามารถเรียกร้องความสนใจ และกระตุ้นอารมณ์ของภาพยนตร์ ทาให้หน่วยงาน ต่างๆ ทั้งทางธุรกิจการค้าและองค์กรที่ดาเนินการด้านอื่นๆ นาภาพยนตร์ไปใช้เพื่อการโฆษณาและ ประชาสัมพันธ์เป็นจานวนมากมาตลอด นับตั้งแต่มีภาพยนตร์เกิดขึ้น ภาพยนตร์สาหรับการโฆษณาสินค้าและ บริการ มักเป็นภาพยนตร์สั้นๆ เรียกว่า สปอต (Spot) ความยาวไม่เกิน 1 นาที ทาออกเผยแพร่ตามโรง ภาพยนตร์และผ่านทางโทรทัศน์ แม้ว่าในปัจจุบันการผลิตภาพยนตร์โฆษณาจะสามารถใช้ Video Tape ซึ่ง สร้างได้ง่ายกว่าและประหยัดกว่า แต่การโฆษณาเป็นธุรกิจที่มีการลงทุนสูงและต้องการสื่อที่จูงใจเร้าอารมณ์ได้ มากเป็นพิเศษ จึงยังคงมีการสร้างภาพยนตร์โฆษณากันอยู่อย่างแพร่หลาย เฉพาะประเทศไทยในแต่ละปีมีการ
  • 10. ค ว า ม รู้ เ กี่ ย ว กั บ ภ า พ ย น ต ร์ ห น้ า | 10 ภาพยนตร์เบื้องต้น | พิพิษณ์ สิทธิศักดิ์ | Last Update : 4 มี.ค. 2555 ลงทุนสร้างและเผยแพร่ ภาพยนตร์โฆษณาเป็นเงินนับพันล้านบาท โดยเฉพาะการโฆษณาผ่านทางโทรทัศน์ซึ่ง มีปริมาณมากที่สุด ด้านการประชาสัมพันธ์ เพื่อส่งเสริมการขายและการสร้างความเข้าใจที่ดีแก่ประชาชนของ หน่วยงาน องค์กรทางธุรกิจและองค์กรอื่นๆ ซึ่งมีการสร้างและเผยแพร่ ภาพยนตร์เพื่อการประชาสัมพันธ์มี อย่างแพร่หลายมานานแล้ว ตัวอย่าง เช่น ภาพยนตร์ของกองภาพยนตร์เผยแพร่ กรมรถไฟหลวง ภาพยนตร์ เรื่องพระเจ้าช้างเผือก สมัยนายปรีดี พนมยงค์เป็นผู้สาเร็จราชการแทนพระองค์ ภาพยนตร์ข่าวใน พระราชสานัก ภาพยนตร์ของกรมประชาสัมพันธ์ ภาพยนตร์ของสานักงานข่าวสารต่างประเทศ เป็นต้น ปัจจุบันมีภาพยนตร์เพื่อการประชาสัมพันธ์ของหน่วยงานต่างๆ เช่น บริษัทเอกชน องค์การ ส่งเสริมการท่องเที่ยว สานักนายกรัฐมนตรี กรป.กลางกระทรวงกลาโหม ฯลฯ ด้านการโฆษณาชวนเชื่อ (Propaganda) เพื่อดึงกระแสความคิดของมวลชนให้เป็นไปในทางที่ต้องการ มีตัวอย่างที่เห็นได้ชัดเจน เช่น ภาพยนตร์เรื่อง "บ้านพังโคน" ที่สร้างขึ้นสมัยรัฐบาลของจอมพลถนอม กิตติขจร ซึ่งเป็นภาพยนตร์ที่แสดงให้ เห็นความเลวร้ายของลัทธิคอมมิวนิสต์โดยมีจุด ประสงค์ให้ประชาชนโดยเฉพาะในชนบทเกิดความคิด และลุก ขึ้นมาช่วยกันต่อต้าน นอกจากนี้ยังมีภาพยนตร์เพื่อการโฆษณาเผยแพร่ (Publicity) กิจการของหน่วยงานของ ทางราชการ รัฐวิสาหกิจและเอกชนอีกจานวนมาก ภาพยนตร์ข่าว ในปัจจุบันไม่เป็นที่นิยมแพร่หลายเช่นใน อดีต เนื่องจากการรายงานข่าว จะต้องทาในเวลาจากัด ซึ่งภาพยนตร์สามารถทาได้ช้ากว่า Video Tape แต่ อาจมีการถ่ายทาภาพยนตร์เหตุการณ์ต่างๆ เก็บไว้ใช้ในรูปของภาพยนตร์ ประวัติศาสตร์ หรือสารคดี คุณค่าทางการศึกษาของภาพยนตร์ 1. ถ่ายทอดเรื่องราว เหตุการณ์ ข้อเท็จจริงในสังคม และแสดงสิ่งของต่างๆ ให้เห็นได้ชัดเจนตาม ความเป็นจริง ทั้งรูปร่าง ลักษณะ สี และการเคลื่อนไหว 2. ใช้เทคนิคดัดแปลง ปรุงแต่งให้เห็นสิ่งที่ในความเป็นจริงไม่สามารถเห็นได้ ในกรณีเช่นนี้ ภาพยนตร์จึงช่วยให้เกิดความเข้าใจได้มากกว่าการเรียนรู้จากของจริง เช่น ทาให้เร็วขึ้นทาให้ช้าลง หรือการ ย่อ-ขยายขนาดสิ่งของ 3. ฉายภาพได้ขนาดใหญ่ เปิดโอกาสให้คนจานวนมากได้รับความรู้ข่าวสารพร้อมๆกัน
  • 11. ค ว า ม รู้ เ กี่ ย ว กั บ ภ า พ ย น ต ร์ ห น้ า | 11 ภาพยนตร์เบื้องต้น | พิพิษณ์ สิทธิศักดิ์ | Last Update : 4 มี.ค. 2555 4. เทคนิคของภาพยนตร์ สามารถสร้างจินตนาการโดยอาศัยเทคนิคและการแสดง สามารถแสดงให้ เห็นสิ่งที่ไม่อยู่ในชีวิตจริง เช่น เรื่องจากวรรณกรรม วรรณคดี ประวัติศาสตร์ การคาด-คะเนเหตุการณ์ใน อนาคต 5. สามารถเข้าถึงจิตใจ เช่น ความรู้สึกสงสาร ความโหดร้ายและน่ากลัวของสงคราม ช่วย ให้เข้าใจ เรื่องราวที่เป็นนามธรรมให้ดี ภาพยนตร์จึงเหมาะที่จะนาไปใช้ถ่ายทอด เนื้อหาด้านความรู้สึก คุณธรรม จริยธรรม 6. คุณสมบัติและเทคนิคด้านต่างๆ ของภาพยนตร์ สามารถทาให้ผู้ชมรู้สึกสนุกสนาน ตื่น-เต้นเร้าใจ ติดตามชมโดยไม่เบื่อหน่าย 7. มีภาพยนตร์ที่สร้างขึ้นสาหรับการศึกษา หรือการเรียนการสอนโดยเฉพาะจานวนมาก เปิดโอกาส ให้สามารถนาภาพยนตร์มาใช้สาหรับการศึกษาโดยตรง อย่างกว้างขวาง ซึ่งภาพยนตร์ประเภทนี้ มีความ เหมาะสมสาหรับการศึกษาหลายประการ คือ (Dale. 1954 : 214-218) ๑) แสดงให้เข้าใจความหมายของสิ่งที่มีการเคลื่อนไหวได้อย่างดีเยี่ยม ๒) สภาพการฉายภาพยนตร์ เช่น ความมืด บังคับให้ผู้เรียนสนใจในจุดเดียวกัน ๓) แสดงสิ่งของต่างๆ ได้เหมือนจริง ๔) ควบคุมเวลาการสอนได้แน่นอน ๕) นาสิ่งที่อยู่ห่างไกล เข้ามาศึกษาในห้องเรียนได้อย่างชัดเจน ๖) จาลองเหตุการณ์ที่เคยเกิดขึ้นในอดีต ให้เห็นได้อย่างสมจริง ๗) ย่อหรือขยายขนาดของวัตถุได้ตามต้องการ ๘) แสดงให้เห็นสิ่งที่ไม่สามารถเห็นได้ในชีวิตจริง ๙) ผู้เรียนจานวนมากได้รับประสบการณ์ร่วมกัน หรือเหมือนกัน ๑๐)ช่วยให้เข้าใจสิ่งที่เป็นนามธรรม ๑๑) ให้ประสบการณ์ด้านคุณธรรม จริยธรรม ได้ดี ศึกษาเพิ่มเติม บทวิจารณ์ภาพยนตร์เรื่อง “น้าตาลแดง”
  • 12. ค ว า ม รู้ เ กี่ ย ว กั บ ภ า พ ย น ต ร์ ห น้ า | 12 ภาพยนตร์เบื้องต้น | พิพิษณ์ สิทธิศักดิ์ | Last Update : 4 มี.ค. 2555 OK Nation Blog , หนังกลางแปลง (1 กันยายน 2553). น้าตาลแดง : ผลึกรสศิลปะกามารมณ์ นามาถั่งโถม ลงบนแผ่นฟิล์ม [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www.oknation.net/blog/GRANG- PRANG/2010/09/01/entry-1 (วันที่ค้นข้อมูล : 13 พฤษภาคม 2554). บทวิจารณ์ภาพยนตร์เรื่อง “ปัญญา เรณู” MThai (9 ธันวาคม 2553). tyler : ปัญญา – เรณู [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://movie.mthai.com/movie-profile/new-movie/84298.html (วันที่ค้นข้อมูล : 13 พฤษภาคม 2554). เอกสารอ้างอิง มูลนิธิหนังไทย (๑๖ ธันวาคม ๒๕๔๘). กบ เชียงราย : ประวัติของภาพยนตร์ [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www.thaifilm.com/forumDetail.asp?topicID=1826&page=6&keyword= (วันที่ค้น ข้อมูล : ๑๒ พฤษภาคม ๒๕๕๔). video man studio (๗ พฤศจิกายน ๒๕๕๓). ความสาคัญของภาพยนตร์ [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www.videomanstudio.com/webboard-ความสาคัญของภาพยนตร์-1-294226- 1.html (วันที่ค้นข้อมูล : ๘ เมษายน 2554).
  • 13. ค ว า ม รู้ เ กี่ ย ว กั บ ภ า พ ย น ต ร์ ห น้ า | 13 ภาพยนตร์เบื้องต้น | พิพิษณ์ สิทธิศักดิ์ | Last Update : 4 มี.ค. 2555 ฝนทิพย์ บารมีรัตนชัย อิทธิพลของละครเกาหลีที่มีต่อการท่องเที่ยวเกาหลีของคนในเขตกรุงเทพมหานคร ประเภทสารนิพนธ์ การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง ศศ.ม. สาขาการจัดการโรงแรมและการท่องเที่ยว, มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2551