SlideShare a Scribd company logo
1 of 38
Download to read offline
บทที่ 4
ระบบเครือข่ายและอินเทอร์เน็ต
ในสมัยโบราณการติดต่อสื่อสารทางไกลระหว่างมนุษย์ด้วยกันนั้น จะใช้
วิธีการง่าย ๆ อาศัยธรรมชาติหรือเลียนแบบธรรมชาติเป็นหลัก ซึ่งแตกต่างจากปัจจุบัน
ที่สามารถแพร่กระจายข้อมูลข่าวสารได้อย่างรวดเร็ว เมื่อเกิดเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่
เกิดขึ้นในซีกโลกด้านหนึ่ง ซีกโลกอีกด้านหนึ่งสามารถรับรู้เหตุการณ์นั้นได้ใน
ระยะเวลาไม่กี่วินาที
ทั้งนี้เนื่องจากทุกประเทศมีการเชื่อมต่อระบบเครือข่ายสาหรับการส่งข้อมูล
ข่าวสารระหว่างกันทาให้สามารถส่งข้อมูลในลักษณะ ข้อความ รูปภาพ เสียง และ
ภาพเคลื่อนไหว วิวัฒนาการของเทคโนโลยีการส่งข้อมูลข่าวสารผ่านระบบเครือข่ายมี
การพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการรับส่งข้อมูลข่าวสาร
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ คือ การนาคอมพิวเตอร์ และ
อุปกรณ์ต่อพ่วงต่าง ๆ มาเชื่อมต่อกันเพื่อให้ผู้ใช้ที่อยู่ใน
เครือข่ายสามารถติดต่อสื่อสาร แลกเปลี่ยนข้อมูล และใช้
อุปกรณ์ต่างๆ ในเครือข่ายร่วมกันได้
เครือข่ายขนาดเล็ก ที่เชื่อมต่อกันด้วยคอมพิวเตอร์เพียงสอง
สามเครื่อง เพื่อใช้งานในบ้านหรือในบริษัทเล็ก ๆ
เครือข่ายขนาดใหญ่ ที่เชื่อมต่อกันทั่วโลกขึ้นอยู่กับขนาด
และความเหมาะสมกับความต้องการใช้งานขององค์กร
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
คาศัพท์ที่เกี่ยวข้องในระบบอินเตอร์เน็ต
• อุปกรณ์ต่าง ๆ ที่เชื่อมกันต้องมีหมายเลขประจาเครื่องเพื่อ
ใช้ในการติดต่อสื่อสาร
• สาหรับประเทศไทยในปัจจุบันรูปแบบของหมายเลข
ประจาเครื่องส่วนใหญ่ใช้มาตรฐาน IPv4 ซึ่งใช้เลขฐาน 2
แบ่งตัวเลขออกเป็น4 ชุด เช่น 192.168.0.1
• ในอนาคต อุปกรณ์ต่าง ๆ มีความสามารถในการเชื่อมต่อ
เข้ากับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์จึงจาเป็นต้องมีการขยาย
หมายเลขประจาเครื่องเป็ นมาตรฐาน IPv6 ซึ่งใช้
เ ล ข ฐ า น สิ บ ห ก ข น า ด 16 บิ ต 8 ชุ ด เ ช่ น
3FFE:085B:1F1F:0000:0000:0000:00A9:1234
1. หมายเลขประจา
เครื่องคอมพิวเตอร์
(Internet Protocol
Address : IP Address)
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
คาศัพท์ที่เกี่ยวข้องในระบบอินเตอร์เน็ต
• ข้อกาหนดหรือระเบียบการที่ใช้ติดต่อ รับส่งข้อมูลกัน
ระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์สองเครื่อง หรือ เครื่อง
คอมพิวเตอร์ กับอุปกรณ์อื่น ๆ ที่เชื่อมต่ออยู่ในระบบ
เครือข่าย
• เนื่องจาก เครื่องคอมพิวเตอร์ หรือ อุปกรณ์ที่เชื่อมต่ออยู่ใน
ระบบเครือข่ายมีหลากหลาย มีความเร็วและขนาดของ
หน่วยความจาที่ใช้ในการทางานที่ไม่เท่ากัน อีกทั้ง
ลักษณะของข้อมูลที่ส่งก็มีหลายรูปแบบ
• จึงต้องมีข้อตกลงในการรับส่งข้อมูลเพื่อให้เกิดความ
ถูกต้องและรวดเร็วในการสื่อสารกันระหว่างอุปกรณ์
2. โพรโทคอล
(Protocol)
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
คาศัพท์ที่เกี่ยวข้องในระบบอินเตอร์เน็ต
• หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์อื่น ๆ ที่ทาหน้าที่
ให้บริการแก่เครื่องคอมพิวเตอร์อื่น ๆ ที่เชื่อมต่ออยู่ในระบบ
เครือข่าย
• เครื่องแม่ข่ายนี้อาจจะมีหรือไม่มีอยู่ในระบบเครือข่ายก็ได้
• เครื่องแม่ข่ายสามารถแบ่งตามลักษณะหน้าที่ ได้ดังนี้
3. เครื่องแม่ข่าย
(Server)
1) ไฟล์เซิฟเวอร์ (File Server) คือเครื่องที่ให้บริการแบ่งปันข้อมูลแก่เครื่องอื่นๆ ให้มีสิทธิ์การใช้แฟ้มข้อมูล
2) เว็บเซิฟเวอร์ (Web Server) คือเครื่องที่ให้บริการข้อมูลเว็บไซต์ใช้สาหรับเก็บโฮมเพจและเว็บเพจ
3) พร็อกซี่เซิฟเวอร์ (Proxy Server) คือเครื่องที่ให้บริการเป็นตัวแทนไปรับเว็บแทนลูกข่าย และสะสมเว็บ
นั้นไว้ในหน่วยความจาของตัวเอง สารองไว้เมื่อลูกข่ายร้องขอเว็บเดิมอีกครั้ง
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
คาศัพท์ที่เกี่ยวข้องในระบบอินเตอร์เน็ต
• เครื่องแม่ข่ายสามารถแบ่งตามลักษณะหน้าที่ ได้ดังนี้3. เครื่องแม่ข่าย
4) เมล์เซิฟเวอร์ (Mail Server) คือเครื่องทาหน้าที่รับจดหมาย เก็บจดหมาย และส่งจดหมายพร้อมทั้งคอย
ให้บริการผู้ใช้ที่ได้ลงทะเบียนใช้บริการ
5) อินเทอร์เน็ตเซิฟเวอร์ (Internet Server) คือเครื่องที่ทาหน้าที่เชื่อมต่อระบบอินเทอร์เน็ตและควบคุมการ
ใช้บริการอินเทอร์เน็ตให้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ลูกข่าย
6) พริ้นเซิฟเวอร์ (Print Server) คืออุปกรณ์ที่ให้บริการเกี่ยวกับการพิมพ์ โดยเครื่องลูกข่ายที่อยู่ในเครือข่าย
สามารถส่งงานของตนไปพิมพ์ได้
7) ดีเอ็นเอสเซิฟเวอร์ (DNS Server) คือเครื่องที่ใช้สาหรับการอ้างอิงหมายเลข IP กับชื่อโดเมนเนมที่เราทา
การจดทะเบียน
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
คาศัพท์ที่เกี่ยวข้องในระบบอินเตอร์เน็ต
• เครื่องคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์ใด ๆ ที่นามาต่อเชื่อมเข้ากับ
ระบบเครือข่าย เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูล และแบ่งปันทรัพยากร
กันได้
4. เครื่องลูกข่าย
(Client or Workstation)
• อุปกรณ์ที่ใช้ในเชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์หลายเครื่องเข้า
ด้วยกัน
• มีการจัดระเบียบ ระบุเส้นทางการสื่อสารและส่งต่อข้อมูล
ไปยังอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่เชื่อมต่ออยู่ในระบบเครือข่าย
• อุปกรณ์เครือข่ายนี้มีอยู่ด้วยกันหลายแบบขึ้นอยู่กับความ
ต้องการใช้งานขององค์กร นิยมใช้ในเครือข่ายขนาดเล็ก
ได้แก่
5. อุปกรณ์เครือข่าย
(Network Devices)
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
คาศัพท์ที่เกี่ยวข้องในระบบอินเตอร์เน็ต
• นิยมใช้ในเครือข่ายขนาดเล็ก ได้แก่
5. อุปกรณ์เครือข่าย
(Network Devices)
5.1 การ์ดแลน (Network Interface Card: NIC)
• ทาหน้าที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เข้ากับสายสัญญาณทองแดง
• ปัจจุบันการ์ดแลนนี้ไม่ค่อยมีจาหน่ายแล้วเนื่องจากส่วนเชื่อมต่อกับสายสัญญาณ
ถูกนาไปติดตั้งแล้วในแผงวงจรหลัก (Main Board) ของคอมพิวเตอร์
5.2 การ์ดไวเลส (Wireless Network Card)
• คอมพิวเตอร์สามารถเชื่อมต่อระบบเครือข่ายโดยอาศัยคลื่นสัญญาณวิทยุแทน
สายทองแดง
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
คาศัพท์ที่เกี่ยวข้องในระบบอินเตอร์เน็ต
• เป็นสื่อกลางที่ใช้เป็นเส้นทางในการส่งผ่านข้อมูลจากต้น
ทางไปยังปลายทาง
• ตัวนาสัญญาณมี 2 ลักษณะได้แก่
6. ตัวนาสัญญาณ
6.1 แบบใช้สายสัญญาณ จะทาการแปลงสัญญาณดิจิตอลเป็นสัญญาณไฟฟ้า
แล้วส่งสัญญาณไฟฟ้าผ่านสายทองแดงไปยังปลายทาง ที่นิยมใช้ทั่วไปได้แก่
• สายแลนด์หรือสายยูทีพี (Unshielded Twisted Pair: UTP) มีลักษณะเป็นสาย
ทองแดงขนาดเล็กจานวน 8 เส้นตีเกลียวคู่ มีอยู่ 4 คู่ ไม่มีเส้นลวดถัก (shield)
การใช้งานจะต้องมีการเข้าหัว RJ-45
• สายใยแก้วนาแสง (Fiber Optic Cable) สัญญาณข้อมูลจะถูกเปลี่ยนเป็นคลื่น
แสงแล้วจึงส่งให้เดินทางสะท้อนภายในสายใยแก้วเรื่อยไปจนถึงผู้รับ
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
คาศัพท์ที่เกี่ยวข้องในระบบอินเตอร์เน็ต
• ตัวนาสัญญาณมี 2 ลักษณะได้แก่6. ตัวนาสัญญาณ
6.2 แบบไม่ใช้สายสัญญาณ การรับส่งข้อมูลแบบนี้จะใช้คลื่นวิทยุในการรับส่งข้อมูล เช่น มาตรฐาน
ในการใช้งานคือ IEEE802.11 และแบ่งเป็นมาตรฐานย่อยอีก ได้แก่
• สาหรับมาตรฐาน IEEE 802.11a มีความเร็วสูงสุดที่ 54 Mbps ที่ความถี่ย่าน 5 GHz
• สาหรับมาตรฐาน IEEE 802.11b มีความเร็วสูงสุดที่ 11 Mbps ที่ความถี่ย่าน 2.4 GHz
• สาหรับมาตรฐาน IEEE 802.11g มีความเร็วสูงสุดที่ 54 Mbps ที่ความถี่ย่าน 2.4 GHz
• สาหรับมาตรฐาน IEEE 802.11n มีความเร็วสูงสุดที่ 150 Mbpsที่ความถี่ย่าน 2.4/5 GHz
• สาหรับในประเทศไทยนั้นอนุญาตให้ใช้ความถี่ 2 ย่านความถี่ ได้แก่ 2.4 – 2.5GHz และ 51.50
– 53.50GHz
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
คาศัพท์ที่เกี่ยวข้องในระบบอินเตอร์เน็ต
• ทาหน้าที่เป็นตัวกลางคอยรับส่งและเลือกเส้นทางให้กับ
เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถส่งข้อมูลจากต้นทางไปยัง
ปลายทางได้สาเร็จ
• อุปกรณ์ที่นิยมใช้ในเครือข่ายขนาดเล็กในที่นี้จะยกตัวอย่าง
สองอุปกรณ์ ได้แก่
7. อุปกรณ์กระจาย
สัญญาณ
7.1 สวิตช์ (Switch)
• เป็นอุปกรณ์กระจายสัญญาณแบบใช้สายสัญญาณ ปลายข้างหนึ่งของสาย UTP
ที่มีหัว RJ-45
• เชื่อมต่อเข้ากับช่องต่อสัญญาณของคอมพิวเตอร์ และปลายอีกด้านหนึ่งจะ
เชื่อมต่อเข้ากับช่องต่อสัญญาณของสวิตช์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
คาศัพท์ที่เกี่ยวข้องในระบบอินเตอร์เน็ต
• อุปกรณ์ที่นิยมใช้ในเครือข่ายขนาดเล็กในที่นี้จะยกตัวอย่าง
สองอุปกรณ์ ได้แก่
7. อุปกรณ์กระจาย
สัญญาณ
7.2 แอคเซสพอยต์ (Access Point)
• เป็นตัวกลางเชื่อมอุปกรณ์ต่าง ๆ แบบไร้สายเข้ากับเครือข่ายหลักแบบมีสาย
• โดยแอคเซสพอยต์จะกระจายสัญญาณคลื่นวิทยุไปยังอุปกรณ์ปลายทาง
7.3 เราเตอร์ (Router)
• เป็นอุปกรณ์เชื่อมต่อไปยังเครือข่ายอื่น ซึ่งแต่ละเครือข่ายก็จะมีลักษณะการรับ
ส่งข้อมูลไม่เหมือนกัน
• เราเตอร์ยังทาหน้าที่ค้นหาเส้นทางในการส่งผ่านข้อมูลที่ดีที่สุด
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
คาศัพท์ที่เกี่ยวข้องในระบบอินเตอร์เน็ต
• อุปกรณ์ที่นิยมใช้ในเครือข่ายขนาดเล็กในที่นี้จะยกตัวอย่าง
สองอุปกรณ์ ได้แก่
7. อุปกรณ์กระจาย
สัญญาณ
7.4 โมเด็ม (modulate and demodulate: MODEM)
• เป็นอุปกรณ์พื้นฐานสาคัญที่ทาให้ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ในบ้านเรือนทั่วไป
สามารถรับสัญญาณอินเทอร์เน็ตจากผู้ให้บริการได้
• ทาหน้าที่แปลงสัญญาณดิจิตอลจากคอมพิวเตอร์ เป็นสัญญาณอนาล็อก แล้ว
ส่งสัญญาณดังกล่าวเข้าสู่เครือข่ายโทรศัพท์พื้นฐานไปยังปลายทาง
• ปัจจุบันนิยมใช้โมเด็มแบบ เอดีเอสแอลโมเด็ม (ADSL Modem) เพื่อเชื่อมต่อ
กับระบบอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง
• จาแนกเอดีเอสแอลโมเด็มได้เป็น 3 ประเภทได้แก่
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
คาศัพท์ที่เกี่ยวข้องในระบบอินเตอร์เน็ต
• อุปกรณ์ที่นิยมใช้ในเครือข่ายขนาดเล็กในที่นี้จะยกตัวอย่าง
สองอุปกรณ์ ได้แก่
7. อุปกรณ์กระจาย
สัญญาณ
7.4 โมเด็ม (modulate and demodulate: MODEM)
• จาแนกเอดีเอสแอลโมเด็มได้เป็น 3 ประเภทได้แก่
• เอดีเอสแอลโมเด็ม (ADSL Modem) มีช่องสัญญาณสาหรับกระจายสัญญาณ
อินเทอร์เน็ตผ่านสายยูทีพีไปยังคอมพิวเตอร์ได้เพียงเครื่องเดียวเท่านั้น
• เอดีเอสแอลเราเตอร์โมเด็ม (ADSL Router Modem) มีช่องสัญญาณสาหรับกระจาย
สัญญาณอินเทอร์เน็ตผ่านสายยูทีพีไปยังคอมพิวเตอร์ได้หลายเครื่อง
• เอดีเอสแอลเราเตอร์ไวเลสโมเด็ม (ADSL Router Wireless Mode) มีช่องสัญญาณ
สาหรับกระจายสัญญาณอินเทอร์เน็ตผ่านสายยูทีพีไปยังคอมพิวเตอร์ได้หลายเครื่อง
แล้ว ยังสามารถกระจายสัญญาณแบบไร้สาย
ระบบอินเตอร์เน็ต
ระบบอินเทอร์เน็ต คือ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดใหญ่มาก ซึ่ง
เกิดจากการเชื่อมเครือข่ายย่อย ๆ จานวนมากเข้าไว้ด้วยกัน ทาให้คอมพิวเตอร์ทุก
เครื่องทั่วโลกไม่ว่าจะเป็นชนิดใดหรือขนาดใดก็ตาม สามารถส่งผ่าน แลกเปลี่ยน
ข้อมูลและสารสนเทศซึ่งกันและกันได้ โดยใช้โปรโตคอลเป็ นสื่อกลางในการ
ติดต่อสื่อสาร สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารระหว่างกันเหมือนเส้นใยแมงมุม
ปัจจุบันนี้อินเทอร์เน็ตมีบทบาทเป็นอย่างมากกับการเป็นส่วนหนึ่งในการ
ทางาน การดาเนินธุรกิจ ทั้งยังเป็นช่องทางการจาหน่ายสินค้า มีการบริการหลังการ
ขายให้แก่ลูกค้าในด้านต่าง ๆ และสามารถทารายการทางการเงินผ่านทาง
อินเทอร์เน็ตได้
ระบบอินเตอร์เน็ต
1. การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต (Internet Connections)
1.1 การเชื่อมต่อโดยใช้สายสัญญาณ
การเชื่อมต่อแบบนี้จะอาศัยเครือข่ายโทรศัพท์พื้นฐานไปยังผู้
ให้บริการอินเทอร์เน็ต (Internet Service Provider: ISP)
เช่น TOT, True, 3BB เป็นต้น
อดีตนิยมใช้การเชื่อมต่อแบบ ไดอัลอัพ (Dial Up) ต้องอาศัยอุปกรณ์
ที่เรียกว่า โมเด็ม(Modem) เมื่อต้องการใช้อินเทอร์เน็ตเมื่อไหร่ จึงจะ
ทาการเชื่อมต่อเข้ากับระบบ
ปัจจุบันนิยมใช้การเชื่อมต่อแบบบรอด์แบนด์ (Broadband) ซึ่ง
สามารถเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตได้ตลอดเวลา โดยอาศัยอุปกรณ์ที่
เรียกว่า เอดีเอสแอลโมเด็ม (ADSL Modem)
ระบบอินเตอร์เน็ต
1. การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต (Internet Connections)
1.2 การเชื่อมต่อโดยไม่ใช้สายสัญญาณ
การเชื่อมต่อแบบนี้จะอาศัยเครือข่ายโทรศัพท์มือถือในการติดต่อ
อินเทอร์เน็ต โดยมีผู้ให้บริการโทรศัพท์มือถือ
เช่น AIS, DTAC, True ทาหน้าที่เป็นผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่อแบบนี้นิยมใช้กับอุปกรณ์ที่สามารถพกพาได้ เช่น
คอมพิวเตอร์โน๊ตบุ๊ค พีดีเอ(PDA) สมาร์ทโฟน
อุปกรณ์ที่ใช้ในการเชื่อมต่อเข้าสู่ระบบอินเทอร์เน็ตเรียกว่า แอร์การ์ด
(Air Card) ซึ่งทาหน้าที่เป็นโมเด็ม
หากไม่ใช้แอร์การ์ด ก็สามารถใช้โทรศัพท์มือถือบางรุ่น ที่มี
ความสามารถเป็นโมเด็มแทนแอร์การ์ดได้
เทคโนโลยีการติดต่อสื่อสารไร้สายที่ควรรู้มีดังนี้
ระบบอินเตอร์เน็ต
1. การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต (Internet Connections)
1.2 การเชื่อมต่อโดยไม่ใช้สายสัญญาณ
1G ระบบโทรศัพท์มือถือแบบอนาล็อก ส่งสัญญาณคลื่นวิทยุไปยังเสาส่งสัญญาณ
โทรศัพท์มือถือ แล้วเชื่อมต่อไปยังเครือข่ายโทรศัพท์
2G เปลี่ยนรูปแบบสัญญาณจากอนาล็อกเป็นแบบดิจิตอล ทาให้ประสิทธิภาพในการส่ง
สัญญาณเสียงมีคุณภาพดีขึ้น
2.5G ระบบโทรศัพท์มือถือแบบดิจิตอลที่เริ่มนาระบบแพกเกตสวิตชิงมาใช้ มีการนา
คอมพิวเตอร์มาเชื่อมต่อกับโทรศัพท์มือถือเพื่อใช้รับส่งข้อมูล เช่น GPRS
2.75G ความเร็วในการส่งถ่ายข้อมูลสูงสุดประมาณ 384 กิโลบิตต่อวินาที (Kbps) และมี
ความเร็วในการใช้งานจริงประมาณ 80-100 กิโลบิตต่อวินาที
3G ระบบโทรศัพท์มือถือแบบดิจิตอลที่มีความสามารถครบทั้งการสื่อสารด้วยเสียงและ
ข้อมูลรวมถึงวีดิโอ ระบบเครือข่ายโทรศัพท์ที่จัดอยู่ในยุคนี้
3.5G โทรศัพท์มือถือแบบดิจิตอลที่มีความเร็วในการส่งข้อมูลสูงกว่ายุค 3G
4G โทรศัพท์มือถือในยุคนี้จะสามารถสนับสนุน แอปพลิเคชั่นที่ต้องการช่องทางในการส่ง
ข้อมูลจานวนมาก
ระบบอินเตอร์เน็ต
เมื่อมีการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์หลาย ๆ เครื่องจนเป็นระบบเครือข่าย จาเป็ นต้องมีการ
กาหนดหมายเลขหรือชื่อของเครือข่ายนั้น เพื่อให้สามารถอ้างถึงเครื่องคอมพิวเตอร์ใน
เครือข่ายได้อย่างถูกต้อง
จึงต้องมีหมายเลขประจาเครื่องขึ้นมา และการเข้าเยี่ยมชมเว็บไซต์ต่าง ๆ ทั่วโลก จาเป็น
จะต้องขอใช้บริการจากเครื่องเซิร์ฟเวอร์โดยต้องระบุหมายเลขประจาเครื่องของเครื่อง
เซิร์ฟเวอร์นั้นด้วย ซึ่งเป็นเรื่องที่ไม่สะดวกต่อการจดจา
ได้พัฒนาให้มีเครื่องแม่ข่ายให้บริการชื่อโดเมน (Domain Name Server) ขึ้นมาเพื่อทา
หน้าที่ในการแปลงชื่อของเว็บไซต์ให้เป็นหมายเลขประจาเครื่องแทน
การบริหารจัดการระบบชื่อโดเมนโดย ISP จะใช้หลักเกณฑ์การแบ่งตามลักษณะของ
โครงสร้างที่เป็นแบบทรี (Hierarchy Tree)
2. โดเมนเนม (Domain Name)
ระบบอินเตอร์เน็ต
1) จุดเริ่มต้น (Root) 2) ชื่อโดเมน (Domain) 3) สับโดเมน (Subdomain)
2. โดเมนเนม (Domain Name)
ระบบอินเตอร์เน็ต
ตัวอย่างชื่อโดเมน เว็บไซต์ www.cmru.ac.th มี IP Address คือ 202.29.60.226
2. โดเมนเนม (Domain Name)
ระบบอินเตอร์เน็ต
การอ้างอิงอ้างถึงตาแหน่งของเครื่องคอมพิวเตอร์
2. โดเมนเนม (Domain Name)
ระบบอินเตอร์เน็ต
รูปแบบ Domain Name แบ่งออกเป็น 2 รูปแบบ คือ
แบบ 2 ระดับ รูปแบบ ชื่อองค์กร.ประเภทขององค์กร เช่น sanook.com,
facebook.com, kapook.com, tttonline.net เป็นต้น
แบบ 3 ระดับ รูปแบบ ชื่อองค์กร.ส่วนขยายบอกประเภทองค์กร.ส่วนขยาย
ประเทศ เช่น cmru.ac.th, Manager.co.th, Nectec.or.th
1.
2.
2. โดเมนเนม (Domain Name)
ระบบอินเตอร์เน็ต
ส่วนขยายประเภทขององค์กร
ความหมาย กลุ่มองค์กร ส่วนขยายประเภทองค์กร
กลุ่มธุรกิจการค้า Commercial Organizations com หรือ co
สถาบันการศึกษา Educational Organizations edu หรือ ac
หน่วยงานรัฐบาล Government Organizations gov หรือ go
หน่วยงานทางทหาร Military Organizations mil หรือ mi
หน่วยงานที่เกี่ยวกับเครือข่าย Networking Organizations net
องค์กรที่ไม่แสวงหาผลกาไร Non-commercial Organizations org หรือ or
2. โดเมนเนม (Domain Name)
ระบบอินเตอร์เน็ต
ส่วนขยายประเทศ
ส่วนขยายประเทศ ประเทศ ส่วนขยายประเทศ ประเทศ
at ออสเตรีย il อิสราเอล
fr ฝรั่งเศส in อินเดีย
be เบลเยี่ยม it อิตาลี
ca แคนาดา jp ญี่ปุ่น
ch สวิตเซอร์แลนด์ nl เนเธอร์แลนด์
cn จีน no นอร์เวย์
2. โดเมนเนม (Domain Name)
ระบบอินเตอร์เน็ต
ส่วนขยายประเทศ ประเทศ ส่วนขยายประเทศ ประเทศ
de เยอรมันนี ru รัสเซีย
dk เดนมาร์ค se สวีเดน
es สเปน us อเมริกา
fi ฟินแลนด์ uk สหราชอาณาจักร
ie ไอร์แลนด์ th ไทย
2. โดเมนเนม (Domain Name)
ส่วนขยายประเทศ
ระบบอินเตอร์เน็ต
ยูอาร์แอล(Uniform Resource Locator : URL) คือ รูปแบบของการเรียกใช้
บริการในอินเทอร์เน็ตที่ใช้ในการอ้างอิงเว็บไซต์ต่าง ๆ
http ชนิดของโปรโตคอลที่ใช้ในการถ่ายโอน
www บริการที่เรียกใช้
Academic สับโดเมน
cmru องค์กร
ac ประเภทขององค์กร
th ประเทศ
web56 ไดเรกทอรี่
calendar.php ไฟล์เอกสารที่ระบุถึงเว็บเพจหนึ่ง ๆ ที่กาลังร้องขอ
การประยุกต์ใช้บริการทางอินเทอร์เน็ตกับชีวิตประจาวัน
1. จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Mail: E-Mail)
จดหมายที่ส่งผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ซึ่งทั้งผู้รับและผู้ส่งอยู่ที่ใดในโลกก็ได้
อีเมล์นี้ช่วยให้ติดต่อกับบุคคลอื่นได้อย่างรวดเร็ว และเก็บข้อความไว้อ่านอีกได้
สามารถตอบกลับไปยังผู้ที่ส่งมา หรือส่งต่ออีเมล์ไปให้ผู้อื่นอีกหลายๆคนพร้อมกัน
การประยุกต์ใช้บริการทางอินเทอร์เน็ตกับชีวิตประจาวัน
2. ห้องสนทนา (Chat Room)
เป็นเทคโนโลยีที่มีรูปแบบการสื่อสารแบบเรียลไทม์
สนทนากันด้วยการพิมพ์ข้อความ ยังสามารถส่งภาพและสนทนากันด้วยเสียงได้ด้วย
ผู้ร่วมสนทนาทั้งหมดจะเห็นข้อความ ภาพ และเสียง เกือบจะพร้อมกัน เปรียบเสมือนนั่ง
สนทนาอยู่ในห้องเดียวกัน
ตัวอย่างโปรแกรมที่ใช้เทคโนโลยีนี้ ได้แก่ Camfrog
ต้องมีอุปกรณ์สนับสนุน ได้แก่ ไมโครโฟน ลาโพง และกล้องดิจิตอล
การประยุกต์ใช้บริการทางอินเทอร์เน็ตกับชีวิตประจาวัน
3. การโทรศัพท์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต (InternetTelephony)
Internet Telephony หรือบางครั้งเรียกว่า (Voice over IP:VoIP)
เป็นเทคโนโลยีที่ทาให้ผู้ใช้สามารถโทรศัพท์สนทนากันผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้
โดยมีอุปกรณ์สนับสนุนการใช้งานอื่นๆ ได้แก่ ซอฟต์แวร์พิเศษสาหรับควบคุมการสนทนา
ผ่านเครื่องคอมพิวเตอร์ (Internet Telephone Software) ไมโครโฟน ลาโพง
การทางานของระบบจะแปลงเสียงพูดซึ่งเป็นสัญญาณอนาล็อกไปเป็นสัญญาณดิจิตอล
ส่งผ่านอินเทอร์เน็ตไปสู่ปลายทางที่ต้องการสนทนา แล้วแสดงผลผ่านลาโพงของปลายทาง
การประยุกต์ใช้บริการทางอินเทอร์เน็ตกับชีวิตประจาวัน
4. บริการเกี่ยวกับเครือข่ายสังคมออนไลน์ (Social Network Service)
Social Network คือ การที่ผู้คนสามารถทาความรู้จักและเชื่อมโยงกันในทิศทางใดทิศทาง
หนึ่ง
โดยให้ผู้คนได้มามีพื้นที่ สาหรับมาทาความรู้จักกันโดยเลือกได้ว่า ต้องการทาความรู้จักใคร
หรือเป็นเพื่อนกับใคร
ตัวอย่างของ Social Network ได้แก่ Facebook, Twitter และ Blog
การประยุกต์ใช้บริการทางอินเทอร์เน็ตกับชีวิตประจาวัน
5. คลาวด์แอปพลิเคชั่น (Cloud Application)
เป็นโมเดลรูปแบบใหม่ของเทคโนโลยีสารสนเทศในการใช้งานบนอินเทอร์เน็ตที่เน้นการ
ขยายตัวได้อย่างยืดหยุ่น สามารถที่จะปรับขนาดได้ตามความต้องการของผู้ใช้
มีการจัดสรรแบ่งทรัพยากร เน้นการทางานระยะไกลอย่างง่าย โดยใช้อินเทอร์เน็ตเป็น
โครงสร้างพื้นฐาน
ตัวอย่างของ คลาวด์แอปพลิเคชั่น ที่เป็นที่รู้จัก ได้แก่ Youtubeโดยผู้ใช้สามารถเก็บวิดีโอ
ออนไลน์ได้โดยไม่ต้องมีความรู้ในการสร้างระบบวิดีโอออนไลน์
การประยุกต์ใช้บริการทางอินเทอร์เน็ตกับชีวิตประจาวัน
6. เวิลด์ไวด์เว็บ (World Wide Web: WWW)
เป็นเครือข่ายที่เชื่อมต่อกันทั่วโลก โดยมีการเชื่อมโยงเครือข่ายข่าวสาร ค้นหาข้อมูลข่าวสาร
บนอินเทอร์เน็ต มีการเชื่อมโยงจากแหล่งข้อมูลหนึ่งไปยังแหล่งข้อมูลที่อยู่ห่างไกล
WWW จะแสดงผลในรูปแบบของเอกสารที่เรียกว่า ไฮเปอร์เท็กซ์ (Hyper Text) โดยใช้เว็บ
บราวเซอร์ในการดูหรืออ่านข้อมูลดังกล่าว
เว็บบราวเซอร์ที่นิยมใช้ ได้แก่ Internet Explorer (IE), Firefox, Google chrome เป็นต้น
อินทราเน็ต (Intranet)
เอ็กซ์ทราเน็ต (Extranet)
ปัจจุบันมีการแบ่งประเภทเครือข่ายตามระดับความปลอดภัยของข้อมูล ซึ่งสามารถแบ่ง
ได้เป็น 3 ประเภท คือ
อินเทอร์เน็ต (Internet) เป็นเครือข่ายสาธารณะที่ทุกคนสามารถเชื่อมต่อเข้ามาได้ ทา
ให้ความปลอดภัยของข้อมูลที่อยู่ในเครือข่ายมีระดับต่า
อินทราเน็ต (Intranet) เป็นเครือข่ายส่วนบุคคล ข้อมูลจะสามารถเข้าถึงได้เฉพาะผู้ใช้ที่
อยู่ภายในเครือข่ายเท่านั้น
เอ็กซ์ทราเน็ต(Extranet) เป็นเครือข่ายแบบกึ่งอินเทอร์เน็ตและอินทราเน็ต กล่าวคือจะ
เป็นการเชื่อมต่ออินทราเน็ตแต่ละองค์กรเข้าด้วยกันโดยมีการส่งผ่านข้อมูลผ่านทาง
อินเทอร์เน็ต แต่จะมีการควบคุมให้คนที่อยู่ภายในเครือข่ายเอ็กทราเน็ตเดียวกันเท่านั้น
ที่สามารถเข้าถึงข้อมูลเหล่านั้นได้
อินทราเน็ต (Intranet)
เอ็กซ์ทราเน็ต (Extranet)
ความแตกต่างระหว่าง Internet, Intranet และ Extranet
คุณลักษณะ อินเทอร์เน็ต อินทราเน็ต เอ็กซ์ทราเน็ต
การเข้าถึงข้อมูล สาธารณะ ส่วนบุคคล ขึ้นอยู่กับข้อตกลง
ลักษณะข้อมูล ทั่วๆไป เป็นข้อมูลภายใน
องค์กร
ข้อมูลมาจากหลาย
แหล่ง
ผู้ใช้ ทุกคนใครก็ได้ พนักงานในองค์กร กลุ่มองค์กรที่มีความ
เกี่ยวข้องกัน
เครือข่ายอินเทอร์ เน็ตถือว่าเป็ นเทคโนโลยีที่เปลี่ยนวิถี
ชีวิตประจาวันของมนุษย์เราอย่างยิ่ง ทาให้คนเราสามารถติดต่อสื่อสารกัน
ได้แม้อยู่คนละซีกโลกก็ตาม แต่อย่างไรก็ตามภัยที่มาจากอินเทอร์เน็ตก็มี
เป็นจานวนมาก ดังนั้นเราจึงต้องรู้จัก และ ใช้งานอินเทอร์เน็ตให้เป็นเพื่อให้
เกิดประโยชน์ต่อตัวเราเองให้มากที่สุด
…สรุป…
• จงอธิบายวิธีการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
• จงอธิบายความหมาย และบอกความสาคัญ ของชื่อโดเมน
• จงยกตัวอย่างโดเมนเนม แบบ 2 ระดับ และ 3 ระดับ มาอย่างละ 5 โดเมน
• การประยุกต์ใช้บริการทางอินเทอร์เน็ตกับชีวิตประจาวัน มีอะไรบ้าง
• อินทราเน็ต (Intranet)มีข้อแตกต่างกับอินเทอร์เน็ต (Internet) อย่างไร
• จงยกตัวอย่างเทคโนโลยีการติดต่อสื่อสารไร้สาย
แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 4

More Related Content

What's hot

ใบความรู้แผ่นพับ
ใบความรู้แผ่นพับใบความรู้แผ่นพับ
ใบความรู้แผ่นพับ
devilp Nnop
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลักใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
sangkeetwittaya stourajini
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
TheeraWat JanWan
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง “การสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ผ้าบาติก”
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง “การสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ผ้าบาติก”เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง “การสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ผ้าบาติก”
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง “การสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ผ้าบาติก”
กอฟ กอฟ
 
ใบงาน-ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ใบงาน-ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ใบงาน-ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ใบงาน-ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
Hikaru Sai
 
ใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกาย
ใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกายใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกาย
ใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกาย
Aomiko Wipaporn
 
6สมบัติของแก๊ส
6สมบัติของแก๊ส6สมบัติของแก๊ส
6สมบัติของแก๊ส
Wijitta DevilTeacher
 
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
อัมพร ศรีพิทักษ์
 
สำรวจการใช้รถยนต์ของนักเรียนโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติฯกาญจนบุรี ในปีการศึกษา 2557
สำรวจการใช้รถยนต์ของนักเรียนโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติฯกาญจนบุรี ในปีการศึกษา 2557สำรวจการใช้รถยนต์ของนักเรียนโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติฯกาญจนบุรี ในปีการศึกษา 2557
สำรวจการใช้รถยนต์ของนักเรียนโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติฯกาญจนบุรี ในปีการศึกษา 2557
พัน พัน
 
ทรัพยากรสารนิเทศ
ทรัพยากรสารนิเทศทรัพยากรสารนิเทศ
ทรัพยากรสารนิเทศ
Supaporn Khiewwan
 
เฉลยแบบฝึกหัดหนังสืออ้างอิง
เฉลยแบบฝึกหัดหนังสืออ้างอิงเฉลยแบบฝึกหัดหนังสืออ้างอิง
เฉลยแบบฝึกหัดหนังสืออ้างอิง
Supaporn Khiewwan
 

What's hot (20)

นิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลงนิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลง
 
ใบความรู้แผ่นพับ
ใบความรู้แผ่นพับใบความรู้แผ่นพับ
ใบความรู้แผ่นพับ
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลักใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
 
โครงงานเรื่อง กล้วยฉาบ
โครงงานเรื่อง กล้วยฉาบโครงงานเรื่อง กล้วยฉาบ
โครงงานเรื่อง กล้วยฉาบ
 
บทที่ 4 ผลการดำเนินโครงงาน
บทที่ 4 ผลการดำเนินโครงงานบทที่ 4 ผลการดำเนินโครงงาน
บทที่ 4 ผลการดำเนินโครงงาน
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจแบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง “การสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ผ้าบาติก”
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง “การสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ผ้าบาติก”เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง “การสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ผ้าบาติก”
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง “การสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ผ้าบาติก”
 
ใบงาน-ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ใบงาน-ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ใบงาน-ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ใบงาน-ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
 
ใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกาย
ใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกายใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกาย
ใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกาย
 
6สมบัติของแก๊ส
6สมบัติของแก๊ส6สมบัติของแก๊ส
6สมบัติของแก๊ส
 
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 2
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 2เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 2
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 2
 
สำรวจการใช้รถยนต์ของนักเรียนโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติฯกาญจนบุรี ในปีการศึกษา 2557
สำรวจการใช้รถยนต์ของนักเรียนโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติฯกาญจนบุรี ในปีการศึกษา 2557สำรวจการใช้รถยนต์ของนักเรียนโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติฯกาญจนบุรี ในปีการศึกษา 2557
สำรวจการใช้รถยนต์ของนักเรียนโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติฯกาญจนบุรี ในปีการศึกษา 2557
 
ใบความรู้ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ ม.2
ใบความรู้ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้  ม.2ใบความรู้ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้  ม.2
ใบความรู้ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ ม.2
 
Ast.c2560.5t
Ast.c2560.5tAst.c2560.5t
Ast.c2560.5t
 
ทรัพยากรสารนิเทศ
ทรัพยากรสารนิเทศทรัพยากรสารนิเทศ
ทรัพยากรสารนิเทศ
 
การศึกษาโครงสร้างดอกเข็ม มะลิ ชวนชม
การศึกษาโครงสร้างดอกเข็ม มะลิ ชวนชมการศึกษาโครงสร้างดอกเข็ม มะลิ ชวนชม
การศึกษาโครงสร้างดอกเข็ม มะลิ ชวนชม
 
แผนการจัดการเรียนรู้ฟิสิกส์ เรื่อง การเคลื่อนที่ของเสียง
แผนการจัดการเรียนรู้ฟิสิกส์  เรื่อง การเคลื่อนที่ของเสียงแผนการจัดการเรียนรู้ฟิสิกส์  เรื่อง การเคลื่อนที่ของเสียง
แผนการจัดการเรียนรู้ฟิสิกส์ เรื่อง การเคลื่อนที่ของเสียง
 
เฉลยแบบฝึกหัดหนังสืออ้างอิง
เฉลยแบบฝึกหัดหนังสืออ้างอิงเฉลยแบบฝึกหัดหนังสืออ้างอิง
เฉลยแบบฝึกหัดหนังสืออ้างอิง
 

Viewers also liked

การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Krusine soyo
 
Microsoft power point เครือข่ายคอมพิวเตอร์
Microsoft power point   เครือข่ายคอมพิวเตอร์Microsoft power point   เครือข่ายคอมพิวเตอร์
Microsoft power point เครือข่ายคอมพิวเตอร์
chetfools
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
kerkchai
 
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้นอินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
thanakorn123
 
บทที่5 ดัชนีคำศัพท์
บทที่5 ดัชนีคำศัพท์บทที่5 ดัชนีคำศัพท์
บทที่5 ดัชนีคำศัพท์
Rawinnipa Manee
 
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Witsarut Lovacharaporn
 
แบบฝึกหัดบทที่ 4
แบบฝึกหัดบทที่ 4แบบฝึกหัดบทที่ 4
แบบฝึกหัดบทที่ 4
Chutikan Mint
 
การสื่อสารข้อมูล!!
การสื่อสารข้อมูล!!การสื่อสารข้อมูล!!
การสื่อสารข้อมูล!!
Nattha Nganpakamongkhol
 
การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
hs8zlb
 
เรื่อง การสื่อสารข้อมูล
เรื่อง การสื่อสารข้อมูลเรื่อง การสื่อสารข้อมูล
เรื่อง การสื่อสารข้อมูล
BanjamasJandeng21
 
เรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศ
Arm'Physics Sonsern-Srichai
 
แบบฝึกหัด ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร 8
แบบฝึกหัด ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร 8แบบฝึกหัด ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร 8
แบบฝึกหัด ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร 8
zodiacppat
 
แบบฝึกหัดบทที่ 3
แบบฝึกหัดบทที่ 3 แบบฝึกหัดบทที่ 3
แบบฝึกหัดบทที่ 3
Waristha Meepechdee
 

Viewers also liked (20)

การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Microsoft power point เครือข่ายคอมพิวเตอร์
Microsoft power point   เครือข่ายคอมพิวเตอร์Microsoft power point   เครือข่ายคอมพิวเตอร์
Microsoft power point เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้นอินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
 
บทที่ 4 : วิวัฒนาการของอินเตอร์เน็ต
บทที่ 4 : วิวัฒนาการของอินเตอร์เน็ตบทที่ 4 : วิวัฒนาการของอินเตอร์เน็ต
บทที่ 4 : วิวัฒนาการของอินเตอร์เน็ต
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
บทที่5 ดัชนีคำศัพท์
บทที่5 ดัชนีคำศัพท์บทที่5 ดัชนีคำศัพท์
บทที่5 ดัชนีคำศัพท์
 
ดัชนีคำศัพท์ เรื่อง มาตรฐานการเชื่อมต่อและสถาปัตยกรรม เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ดัชนีคำศัพท์ เรื่อง มาตรฐานการเชื่อมต่อและสถาปัตยกรรม เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ดัชนีคำศัพท์ เรื่อง มาตรฐานการเชื่อมต่อและสถาปัตยกรรม เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ดัชนีคำศัพท์ เรื่อง มาตรฐานการเชื่อมต่อและสถาปัตยกรรม เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ระบบอินเตอร์เน็ต
ระบบอินเตอร์เน็ตระบบอินเตอร์เน็ต
ระบบอินเตอร์เน็ต
 
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
แบบฝึกหัดบทที่ 4
แบบฝึกหัดบทที่ 4แบบฝึกหัดบทที่ 4
แบบฝึกหัดบทที่ 4
 
การสื่อสารข้อมูล!!
การสื่อสารข้อมูล!!การสื่อสารข้อมูล!!
การสื่อสารข้อมูล!!
 
Flipped classroom
Flipped classroomFlipped classroom
Flipped classroom
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
 
การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
 
เรื่อง การสื่อสารข้อมูล
เรื่อง การสื่อสารข้อมูลเรื่อง การสื่อสารข้อมูล
เรื่อง การสื่อสารข้อมูล
 
เรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
แบบฝึกหัด ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร 8
แบบฝึกหัด ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร 8แบบฝึกหัด ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร 8
แบบฝึกหัด ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร 8
 
รายงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์รายงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
แบบฝึกหัดบทที่ 3
แบบฝึกหัดบทที่ 3 แบบฝึกหัดบทที่ 3
แบบฝึกหัดบทที่ 3
 

Similar to บทที่ 4 ระบบเครือข่ายและอินเตอร์เน็ต

คลื่นวิทยุ(กฤตัชญ์ หัตถกร)407
คลื่นวิทยุ(กฤตัชญ์ หัตถกร)407คลื่นวิทยุ(กฤตัชญ์ หัตถกร)407
คลื่นวิทยุ(กฤตัชญ์ หัตถกร)407
Pitchayut Wongsriphuak
 
อินเทอร์เนด
อินเทอร์เนดอินเทอร์เนด
อินเทอร์เนด
noooom
 
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
Meaw Sukee
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
Nattapon
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นอินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
Noomim
 
Ch4 communication and computer networks
Ch4 communication and computer networksCh4 communication and computer networks
Ch4 communication and computer networks
Changnoi Etc
 
การสื่อสารข้อมูล!!
การสื่อสารข้อมูล!!การสื่อสารข้อมูล!!
การสื่อสารข้อมูล!!
Nattha Nganpakamongkhol
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นอินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
Noomim
 
แบบฝึกหัด 4 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร
แบบฝึกหัด 4 ระบบเครือข่ายและการสื่อสารแบบฝึกหัด 4 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร
แบบฝึกหัด 4 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร
GreenteaICY
 
แบบฝึกหัด 4 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร
แบบฝึกหัด 4 ระบบเครือข่ายและการสื่อสารแบบฝึกหัด 4 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร
แบบฝึกหัด 4 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร
GreenteaICY
 
ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์
jansaowapa
 
ใบงานหน่วยที่ 1
ใบงานหน่วยที่ 1ใบงานหน่วยที่ 1
ใบงานหน่วยที่ 1
watnawong
 

Similar to บทที่ 4 ระบบเครือข่ายและอินเตอร์เน็ต (20)

คลื่นวิทยุ(กฤตัชญ์ หัตถกร)407
คลื่นวิทยุ(กฤตัชญ์ หัตถกร)407คลื่นวิทยุ(กฤตัชญ์ หัตถกร)407
คลื่นวิทยุ(กฤตัชญ์ หัตถกร)407
 
อินเทอร์เนด
อินเทอร์เนดอินเทอร์เนด
อินเทอร์เนด
 
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
 
ระบบเครือข่าย LAN - ETHERNET
ระบบเครือข่าย LAN - ETHERNETระบบเครือข่าย LAN - ETHERNET
ระบบเครือข่าย LAN - ETHERNET
 
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นอินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
 
Ch4 communication and computer networks
Ch4 communication and computer networksCh4 communication and computer networks
Ch4 communication and computer networks
 
การสื่อสารข้อมูล!!
การสื่อสารข้อมูล!!การสื่อสารข้อมูล!!
การสื่อสารข้อมูล!!
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นอินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
 
แบบฝึกหัด 4 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร
แบบฝึกหัด 4 ระบบเครือข่ายและการสื่อสารแบบฝึกหัด 4 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร
แบบฝึกหัด 4 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร
 
แบบฝึกหัด 4 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร
แบบฝึกหัด 4 ระบบเครือข่ายและการสื่อสารแบบฝึกหัด 4 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร
แบบฝึกหัด 4 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร
 
Ethernet
EthernetEthernet
Ethernet
 
405609008 2
405609008 2405609008 2
405609008 2
 
Datacom
DatacomDatacom
Datacom
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ใบงานหน่วยที่ 1
ใบงานหน่วยที่ 1ใบงานหน่วยที่ 1
ใบงานหน่วยที่ 1
 

More from Wanphen Wirojcharoenwong

More from Wanphen Wirojcharoenwong (10)

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
การจัดการข้อมูล
การจัดการข้อมูลการจัดการข้อมูล
การจัดการข้อมูล
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
บทที่ 8 การยศาสตร์
บทที่ 8 การยศาสตร์บทที่ 8 การยศาสตร์
บทที่ 8 การยศาสตร์
 
บทที่ 6 ความปลอดภัยบนระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่าย
บทที่ 6 ความปลอดภัยบนระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่ายบทที่ 6 ความปลอดภัยบนระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่าย
บทที่ 6 ความปลอดภัยบนระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่าย
 
บทที่ 7 กฏหมายและจริยธรรมคอมพิวเตอร์
บทที่ 7 กฏหมายและจริยธรรมคอมพิวเตอร์บทที่ 7 กฏหมายและจริยธรรมคอมพิวเตอร์
บทที่ 7 กฏหมายและจริยธรรมคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
 
บทที่ 2 การจัดการข้อมูล
บทที่ 2 การจัดการข้อมูลบทที่ 2 การจัดการข้อมูล
บทที่ 2 การจัดการข้อมูล
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 

บทที่ 4 ระบบเครือข่ายและอินเตอร์เน็ต