SlideShare a Scribd company logo
1 of 46
Download to read offline
LOGO 
“ Add your company slogan ” 
ปิโตรเลียม 
เอกสารประกอบการสอน 
ใช้เพื่อการศึกษา
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 
มีความเข้าใจเกี่ยวกับการเกิดปิโตรเลียม 
มีความเข้าใจการเกิดแก๊สธรรมชาติ การแยกแก๊สธรรมชาติ และ 
การนาผลิตภัณฑ์จากแก๊สธรรมชาติไปใช้ประโยชน์ 
มีความเข้าใจหลักการแยกน้ามันดิบ เพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์ประเภทต่างๆ 
มีความเข้าใจเกี่ยวกับการนาผลิตภัณฑ์จากน้ามันดิบไปใช้ประโยชน์ได้ อย่างเหมาะสม 
www.themegallery.com
ปิโตรเลียม 
www.themegallery.com 
พลังงานเชิงพาณิช (Commercial energy) 
1 
พลังงานทางเลือกหรือพลังงานทดแทน (Alternative energy) 
2 
การเกิดปิโตรเลียม 
1.1 
การสารวจปิโตรเลียม 
1.1.1 
แหล่งปิโตรเลียมในประเทศไทย 
1.1.2 
แหล่งแก๊สธรรมชาติในประเทศไทย 
1.2 
การแยกแก๊สธรรมชาติ 
1.2.1 
ผลิตภัณฑ์ที่จากการแยกแก๊สธรรมชาติ 
1.2.2 
การกลั่นน้ามันดิบ 
1.3 
เชื้อเพลิงในชีวิตประจาวัน 
1.4 
2
ปิโตรเลียม 
www.themegallery.com 
1.พลังงานเชิงพาณิช ( commercial energy) 
-มีคุณค่าทางเศรษฐกิจเป็นแหล่งพลังงานขนาด ใหญ่ เช่น น้ามันดิบ แก๊สธรรมชาติ หรือถ่าน หิน 
-สร้างมลพิษปริมาณสูง (โดยเฉพาะถ่านหิน) 
-เป็นแหล่งพลังงานที่ใช้แล้วหมดไป (depleted energy) 
-พลังงานที่แปรรูปแล้ว ได้แก่ ไฟฟ้า และ ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม 
พลังงานที่ใช้ในปัจจุบัน 
แบ่งเป็น 2 ประเภท 
2. พลังงานทางเลือก (alternative energy) 
-แหล่งพลังงานขนาดเล็ก 
-ยังไม่แพร่หลาย และต้องวิจัยและพัฒนาอีก 
-ส่วนช่วยในการทดแทนพลังงานเชิงพาณิช
ตารางแสดงแหล่งพลังงานเชิงพาณิชย์และแหล่งพลังงานทางเลือก 
www.themegallery.com 
พลังงานเชิงพาณิชย์ 
พลังงานทางเลือก 
1.น้ามันดิบ 
2.แก๊สธรรมชาติเหลว 
3.แก๊สธรรมชาติ 
4.ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม 
-แก๊สปิโตรเลียมเหลว 
-น้ามันเบนซิน 
-น้ามันก๊าด 
-น้ามันเครื่องบิน 
-น้ามันดีเซล 
-น้ามันเตา 
5.ถ่านหิน/ถ่านลิกไนต์ 
6.ไฟฟ้า 
1.แก๊สโซฮอล์ 
2.ไบโอดีเซล 
3.พลังงานหมุนเวียน 
-พลังงานชีวมวล 
-พลังงานแก๊สชีวภาพ 
-พลังงานขยะ 
-พลังงานแสงอาทิตย์ 
-พลังงานลม 
-พลังงานน้า 
-พลังงานความร้อนใต้พิภพ 
4.พลังงานนิวเคลียร์ 
5.พลังงานไฮโดรเจน
ปิโตรเลียม(petroleum)เกิดจากซากพืชซากสัตว์ถูกทับถมด้วยกรวด ทราย และโคลนตมเป็นเวลานานนับล้านๆ ปี โดยได้รับแรงกดดันจาก ชั้นหินและความร้อนจากใต้ผิวโลกทาให้เกิดปฏิกิริยาแยกสลายเป็น แก๊สธรรมชาติและน้ามันดิบ รวมเรียกว่า ปิโตรเลียมจัดเป็น เชื้อเพลิงฟอสซิล ปิโตรเลียม(petroleum)เป็นของผสมของสารประกอบ ไฮโดรคาร์บอนหลายชนิดตั้งแต่โมเลกุลขนาดเล็กจนถึงโมเลกุล ขนาดใหญ่เมื่อผ่านกระบวนการแยกจะได้ผลิตภัณฑ์ที่นาไปใช้ ประโยชน์เป็นเชื้อเพลิงประเภทต่างๆ 
www.themegallery.com 
การเกิดปิโตรเลียม
เมื่อหลายล้านปี ทะเลเต็มไป ด้วยสัตว์ และพืชเล็ก ๆ จาพวก จุลินทรีย์เมื่อสิ่งมีชีวิตตายลง จานวนมหาศาล ก็จะตกลงสู่ก้น ทะเล และถูกทับถมด้วยโคลน และ ทราย 
การเกิดปิโตรเลียม
แม่น้า จะพัดพากรวด ทราย และโคลนสู่ทะเล ปีละหลาย แสนตัน ซึ่งกรวด ทราย และโคลน จะทับถมสัตว์ และพืชสลับทับ ซ้อนกัน เป็นชั้น ๆ อยู่ตลอดเวลา นับเป็นล้านปี 
การเกิดปิโตรเลียม
การทับถมของชั้นตะกอน ต่างๆมากขึ้นจะหนานับร้อยฟุต ทา ให้เพิ่มน้าหนัก ความกดและบีบอัด จนทาให้หินทรายและดินดาน ตลอดจนเกิดการสลายตัวของสัตว์ และพืชทะเล เป็นน้ามันดิบ และ ก๊าซธรรมชาติ 
การเกิดปิโตรเลียม
น้ามันดิบ และแก๊ส ธรรมชาติ มีความเบา จะ เคลื่อนย้าย ไปกักเก็บอยู่ในชั้น หินเนื้อพรุน เฉพาะบริเวณที่ สูงของโครงสร้างแต่ละแห่ง และจะถูกกักไว้ด้วยชั้นหิน เนื้อแน่น ที่ปิดทับอยู่ 
การเกิดปิโตรเลียม
โครงสร้างของแหล่งกาเนิดปิโตรเลียม 
โครงสร้างของชั้นหินที่พบ ปิโตรเลียมแบบหนึ่ง มีลักษณะโค้ง คล้ายรูปกระทะคว่า ชั้นบนเป็นหิน ทราย ต่อไปเป็นหินดินดานและ หินปูนจากนั้นจึงพบแก๊ส ธรรมชาติ น้ามันดิบ และน้าจาก ชั้นน้าจะเป็นชั้นหินดินดาน หิน ทราย
การเกิดปิโตรเลียม 
ปิโตรเลียมเกิดจากการทับถมและสลายตัวของอินทรีย์สารจากพืชและสัตว์ 
12 
เวลา +ความดัน+ความ ร้อนสูง + ปริมาณ ออกซิเจนจากัด 
แก๊สธรรมชาติและ น้ามันดิบแทรกอยู่ระหว่าง ชั้นหินที่มีรูพรุน 
สลายตัวได้
การเกิดปิโตรเลียม 
ชนิดของ ปิโตรเลียม 
ปริมาณเป็นร้อยละโดยมวล 
คาร์บอน 
ไฮโดรเจน 
กามะถัน 
ไนโตรเจน 
น้ามันดิบ 
82-87 
12 -15 
0.1–5.5 
0.1 -1 
แก๊สธรรมชาติ 
65 -80 
1 -25 
0.2 
1 -15 
www.themegallery.com 
ตารางแสดงปริมาณของธาตุที่เป็นองค์ประกอบของน้ามันดิบและแก๊สธรรมชาติ 
ปิโตรเลียมเป็นสารผสมที่มีไฮโดรคาร์บอนเป็นองค์ประกอบหลัก นอกจากนี้ ยังประกอบด้วยกามะถัน ไนโตรเจน และสารประกอบออกไซด์อื่นๆ โดยปิโตรเลียม จากแหล่งต่างกันจะมีปริมาณไฮโดรคาร์บอน รวมทั้งกามะถัน ไนโตรเจน และ ออกซิเจนแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับชนิดของซากพืชและสัตว์ที่เป็นกาเนิดของปิโตรเลียม รวมถึงอิทธิพลของแรงทับถมอยู่บนตะกอน
การเกิดปิโตรเลียม 
www.themegallery.com 
ปิโตรเลียมประกอบด้วยไฮโดรคาร์บอนประเภทแอลเคนเขียนแทนด้วย CnH2n + 2 (n = จานวนคาร์บอนอะตอม) การระบุจานวนคาร์บอนอะตอมเป็นดังนี้ 
การอ่านชื่อสารประกอบแอลเคนให้อ่านดังนี้ ระบุจานวนคาร์บอนอะตอมและ ลงท้ายด้วยเสียง เ_ น (-ane) 
n 
ชื่อจานวน คาร์บอนอะตอม 
ตัวอย่าง 
ชื่อ 
1 
meth (มีหรือเมท) 
CH4 
มีเทน 
2 
eth(อี หรือ เอท) 
C2H6 
อีเทน 
3 
prop(โพรพ) 
C3H8 
โพรเพน 
4 
but (บิวท) 
C4H10 
บิวเทน 
5 
pent(เพนท) 
C5H12 
เพนเทน 
n 
ชื่อจานวน คาร์บอนอะตอม 
ตัวอย่าง 
ชื่อ 
6 
hex (เฮกซ) 
C6H14 
เฮกเซน 
7 
hept(เฮปท) 
C7H16 
เฮปเทน 
8 
oct(ออกท) 
C8H18 
ออกเทน 
9 
non (โนน) 
C9H20 
โนเนน 
10 
dec(เดกค) 
C10H22 
เดกเคน
1.ทางธรณีวิทยา ใช้ภาพถ่ายทางอากาศ ภาพดาวเทียม แผนที่เป็นพื้นฐานในการสารวจ พื้นผิว การเก็บและตรวจตัวอย่างหิน เป็นข้อมูลในการคาดคะเนโครงสร้าง และชนิดของหิน การสารวจปิโตรเลียม 2. ทางธรณีฟิสิกส์ ได้แก่ การวัดค่าแรงดึงดูดของโลก เพื่อวิเคราะห์ความแตกต่างของชั้นหิน ใต้ผิวโลก ทาให้ได้ข้อมูลเกี่ยวกับขอบเขตของแหล่งตะกอนฟอสซิล -การวัดค่าสนามแม่เหล็ก ทาให้ทราบถึงลักษณะโครงสร้างของหิน ขอบเขต ความลึก และลักษณะของแนวหิน -การวัดคลื่นการสั่นสะเทือน ซึ่งแรงสั่นสะเทือนจะวิ่งผ่านชั้นหินชนิดต่างๆ และ สะท้อนเป็นคลื่นกลับมาแตกต่างกัน ทาให้ทราบลักษณะชั้นหินอย่างละเอียด
การวัดคลื่นการสั่นสะเทือน 
โดยการสร้างคลื่นสะท้อนจากการจุด ระเบิดเพื่อให้เกิดคลื่นความสั่นสะเทือนวิ่งไป กระทบชั้นหินใต้ท้องทะเลและใต้ดิน แล้ว สะท้อนกลับขึ้นมาบนผิวโลกเข้าเครื่องรับ สัญญาณ จากนั้นเครื่องรับสัญญาณจะบันทึก เวลาที่คลื่นความสั่นสะเทือนสะท้อนกลับขึ้นมา จากชั้นหิน ณ ที่ระดับความลึกต่างกันซึ่ง ระยะเวลาที่คลื่นเดินทางลงไปกระทบชั้นหิน และสะท้อนกลับขึ้นมา สามารถนามาคานวณหา ความหนาของชั้นหินได้ การสารวจปิโตรเลียม
การสารวจปิโตรเลียม 
ผลการสารวจปิโตรเลียมจะนาไปสู่การเจาะสารวจ 
-เพื่อดูความยากง่ายของการขุดเจาะเพื่อนาปิโตรเลียมมาใช้ 
-เพื่อดูว่าสิ่งที่ถูกกักเก็บไว้เป็นน้ามันดิบหรือแก๊สธรรมชาติหรือทั้ง 2 อย่าง และ ปริมาณมากน้อยเพียงไร 
ข้อมูลจากได้เจาะสารวจ 
-ใช้ในการตัดสินความเป็นไปได้ในการผลิตเชิงเศรษฐกิจ 
-ถ้าหลุมใดมีความดันภายในสูง ปิโตรเลียมจะถูกดันให้ไหลขึ้นมาได้เอง 
-ถ้าหลุมใดมีความดันภายในต่า จะเพิ่มแรงดันโดยการอัดแก๊สบางชนิด เช่น แก๊สธรรมชาติ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ หรือไอน้าลงไปช่วยดัน 
(ในทุกๆ 100 หลุมที่ขุดเจาะจะมีเพียง 44 หลุมที่ผลิตปิโตรเลียมได้) www.themegallery.com
แหล่งปิโตรเลียมในประเทศไทย 
ประเทศไทยสารวจพบน้ามันดิบ ครั้งแรกที่อาเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ ใน ปี พ.ศ. 2464 แหล่งน้ามันดิบในประเทศ ไทยที่สาคัญในปัจจุบัน ได้แก่แหล่ง น้ามันดิบเพชร จากแหล่งสิริกิติ์ที่ จังหวัดกาแพงเพชร โดยมีการนามากลั่น และใช้ประโยชน์ได้ประมาณ 20,000 บาร์เรลต่อกัน
แก๊สธรรมชาติ 
ก๊าซธรรมชาติเป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอน ซึ่งประกอบด้วย ธาตุถ่านคาร์บอน (C) กับธาตุ ไฮโดรเจน (H) จับตัวกันเป็นโมเลกุล โดย เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ จากการทับถมของซากสิ่งมีชีวิตตามชั้นหิน ดิน และในทะเลหลายร้อยล้านปีมาแล้ว เช่นเดียวกับน้ามัน และเนื่องจาก ความร้อนและความกดดันของผิวโลกจึง แปรสภาพเป็นก๊าซ
แหล่งกาเนิดแก๊สธรรมชาติ 
แก๊สธรรมชาติเกิดอยู่ใต้พื้นดิน อาจเป็นบนบกหรือในทะเล และอาจพบ อยู่ตามลาพัง ในสถานะแก๊สหรืออยู่รวมกับน้ามันดิบ 
แหล่งแก๊สธรรมชาติในอ่าวไทย สารวจพบเมื่อ พ.ศ. 2516 และแหล่ง แก๊สบนแผ่นดินที่อาเภอน้าพอง จังหวัดขอนแก่น พบเมื่อ พ.ศ. 2524 
แก๊สธรรมชาติบางส่วนเกิดจากความร้อนสูงภายในโลก ทาให้น้ามันดิบ ที่ถูกเก็บกักไว้เป็นเวลานานเกิดการสลายตัวเป็นแก๊สธรรมชาติอยู่เหนือชั้น น้ามันดิบ
สารประกอบ 
สูตรโมเลกุล 
ร้อยละโดยปริมาตร 
มีเทน 
อีเทน 
โพรเทน 
บิวเทน 
เพนเทน 
คาร์บอนไดออกไซด์ 
ไนโตรเจน 
อื่น ๆ คือ เฮกเซน(C2H14) ไอน้า (H2O) ฮีเลียม (He) ไฮโดรเจนซัลไฟด์ (H2S) และ ปรอท 
CH4 
C2H6 
C3H8 
C4H10 
C5H12 
CO2 
N2 
- 
60 –80 
4 –10 
3 –5 
1 –3 
1 
15 –25 
ไม่เกิน 3 
น้อยมาก 
การแยกแก๊สธรรมชาติ 
องค์ประกอบของแก๊สธรรมชาติจากอ่าวไทยมีดังนี้
การแยกแก๊สธรรมชาติ 
ซึ่งในประเทศไทยมีโรงแยกแก๊สธรรมชาติอยู่ที่ตาบลมาบตาพุด จังหวัดระยองและ ที่อาเภอขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราช 
www.themegallery.com 
แก๊สธรรมชาติและ 
แก๊สธรรมชาติเหลว 
หน่วยแยกแก๊ส 
แก๊สธรรมชาติ เหลว 
แก๊สธรรมชาติ 
หน่วยกาจัด ปรอท 
หน่วยกาจัด H2S 
หน่วยกาจัด CO2 
หน่วยกาจัด ไอน้า 
แก๊สธรรมชาติปราศจากปรอท 
H2S CO2และไอน้า 
ลดอุณหภูมิ ( -160 0C ) เพิ่มความดัน 
(แก๊สธรรมชาติเปลี่ยนเป็นแก๊สธรรมชาติเหลว) 
หอกลั่นลาดับส่วน 
แก๊ส มีเทน 
แก๊ส 
อีเทน 
แก๊ส 
โพรเพน 
ขั้นตอนการแยกแก๊สธรรมชาติดังแผนภาพ 
แก๊สปิโตรเลียม แหลว(LPG) 
แก๊สโซลีนธรรมชาติ (NGL) 
แก๊ส 
เพนเทน
ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการแยกแก๊สธรรมชาติ 
แก๊สมีเทน 
แก๊สมีเทน (CH4) นามาใช้เป็นเชื้อเพลิงในการผลิต กระแสไฟฟ้า ใช้เป็นเชื้อเพลิงในอุตสาหกรรมซีเมนต์และเซรามิก ใช้เป็นวัตถุดิบใสอุตสาหกรรมปุ๋ยเคมี ใช้เป็นเชื้อเพลิงรถยนต์ รถแท็กซี่ และรถโดยสารในรูปของแก๊สธรรมชาติ 
www.themegallery.com
ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการแยกแก๊สธรรมชาติ 
แก๊สธรรมชาติอัด 
แก๊สธรรมชาติอัด หรือ CNG (compressed nature gas) มี ส่วนประกอบหลัก คือ แก๊สมีเทน เบากว่าอากาศจึงลอยตัวได้การ ใช้งานจะอยู่ในสภาพที่เป็นแก๊สที่ถูกอัดจนมีความดันสูง (ประมาณ 3,000 ปอนด์/ตารางนิ้ว) ดังนั้นจึงต้องเก็บไว้ในถังที่มี ความแข็งแรงและทนทานเป็นพิเศษ เช่น ถังเหล็กกล้า ถังไฟเบอร์กลาสเมื่อนามาใช้กับรถยนต์หรือรถโดยสารจะเรียก ประเภทนี้ว่า NGV (natural gas vehicle) 
www.themegallery.com
ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการแยกแก๊สธรรมชาติ 
แก๊สอีเทนและแก๊สโพรเพน 
แก๊สอีเทน(C2H6) และแก๊สโพรเพน(C3H8) นามาใช้ใน อุตสาหกรรมปิโตรเคมี ผลิตเม็ดพลาสติกและเส้นใยสังเคราะห์ 
www.themegallery.com
ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการแยกแก๊สธรรมชาติ 
แก๊สหุงต้ม 
แก๊สหุงต้ม (LPG = liquefied natural gas) ประกอบด้วยแก๊สโพรเพน30% และแก๊สบิวเทน 70% โดยปริมาตร ถูกอัดเป็นของเหลวลงถังด้วย ความดัน 120 ปอนด์/ตารางนิ้ว เป็นแก๊สที่หนักกว่า อากาศ มีเลขออกเทน95 –108 เป็นแก๊สไม่มีสี ไม่มี กลิ่น จึงมีการเติมสารเมทิลเมอร์แคปแทนหรือ เอทิลเมอร์แคปแทนที่มีกลิ่นเหมือนกามะถันเพื่อให้ บอกเวลาแก๊สรั่วได้ แก๊ส LPG ติดไฟง่าย ไม่มีควัน เมื่อถูกเปลวไฟจะเกิดการลุกไหม้อย่างรวดเร็วและ อาจเกิดการระเบิดได้ 
www.themegallery.com
ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการแยกแก๊สธรรมชาติ 
แก๊สโซลีนธรรมชาติ 
แก๊สโซลีนธรรมชาติ (NGL) ป้อนให้โรงกลั่นน้ามัน เพื่อให้ผลิตเป็นน้ามันเบนซิน ใช้ในอุตสาหกรรมผลิตตัวทาละลาย และอุตสาหกรรมปิโตรเลียม 
www.themegallery.com
ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการแยกแก๊สธรรมชาติ 
แก๊สเพนเทน 
แก๊สเพนเทน(C5H12) ใช้เป็นตัวทาละลายในอุตสาหกรรม บางประเภท 
www.themegallery.com
ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการแยกแก๊สธรรมชาติ 
แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ 
แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์(CO2) ใช้ในอุตสาหกรรมถนอม อาหาร น้าอัดลม และน้าแข็งแห้ง 
www.themegallery.com
การกลั่นน้ามันดิบ 
ลักษณะของน้ามันดิบ 
-ส่วนมากสีเหลือง ดา น้าตาล ขึ้นอยู่กับแหล่งที่พบ บางแหล่งมีไขมาก บางแหล่งมียางมะตอยมาก 
-เป็นของเหลวข้นถึงหนืด มีความหนาแน่น 0.79 –0.95 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร 
-ประกอบด้วยไฮโดรคาร์บอน (แอลเคนและ ไซโคแอลเคน) และมีกามะถัน ออกซิเจน ไนโตรเจน และโลหะอื่น ซึ่งมักเรียก ปฏิกูล (ราคาน้ามันจะมีราคาถูก หรือแพงขึ้นอยู่กับคุณภาพของน้ามันดิบว่ามีสิ่งปฏิกูล มากน้อยเพียงไร)
www.themegallery.com 
การกลั่นน้ามันดิบ 
การกลั่นน้ามันดิบต้องแยกสารเจือปนออกก่อน แล้วนาส่วนที่เป็น สารประกอบไฮโดรคาร์บอนประเภทแอลเคนไปกลั่นแยกออกเป็น ผลิตภัณฑ์ต่างๆ โดยการกลั่นลาดับส่วน 
กลั่นลาดับส่วนไม่ได้เพิ่มอุณหภูมิให้สารประกอบ ไฮโดรคาร์บอนระเหยออกมาทีละชนิด แต่ให้ความร้อนจน เกือบทั้งหมดระเหยพร้อมกัน แล้วเก็บของเหลวที่ไดจากการ ควบแน่นเป็นส่วนๆ ตามช่วงอุณหภูมิของจุดเดือดที่ต่างกัน สารที่มีจุดเดือนต่าระเหยขึ้นไปและควบแน่นที่บริเวณส่วนบน ของหอกลั่น ส่วนสารที่มีจุดเดือนสูงจะควบแน่นอยู่ตอนล่าง ของหอกลั่น
www.themegallery.com 
การกลั่นน้ามันดิบ
เชื้อเพลิงในชีวิตประจาวัน 
ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการกลั่นปิโตรเลียมและแก๊สธรรมชาติส่วน ใหญ่นามาใช้เป็นเชื้อเพลิง
น้ามันเบนซิน (gasoline) 
องค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นเฮปเทนและไอโซออกเทน 
ปัจจุบันน้ามันเบนซินที่ใช้กับรถยนต์มี 2 ชนิด คือ ที่มีเลขออกเทน91และ 95 
การบอกคุณภาพของน้ามันเบนซินบอกด้วยค่าเลขออกเทน(หน่วยเป็น ร้อยละ แต่จะละไว้) เลขออกเทนยิ่งมากเครื่องยนต์จะเดินเรียบและเงียบ 
ประสิทธิภาพการเผาไหม้ไอโซออกเทนบริสุทธิ์มีเลขออกเทนเป็น 100 และให้ประสิทธิ์ภาพการเผาไหม้ของสารประกอบนอร์มอลเฮปเทน บริสุทธิ์มีออกเทนเป็น 0 
เชื้อเพลิงในชีวิตประจาวัน
น้ามันเบนซิน (gasoline) 
น้ามันเบนซินที่มีเลขออกเทน95 แสดงว่ามีประสิทธิภาพการเผาไหม้ เหมือนกับของผสมที่มีไอโซออกเทน95 ส่วนและนอร์มอลเฮปเทน5 ส่วน 
น้ามันเบนซินจากโรงกลั่นน้ามันจะมีเลขออกเทนน้อยกว่า 75 
-อดิตเติม สารเตตระเมทิลเลด[(CH3)4Pb] หรือ เตตระเอทิลเลด [(C2H5)4Pb] ซึ่งเป็นสารที่ไม่มีสีและไม่ละลาย แต่ละลายได้ในน้ามัน เบนซิน 
-แต่สารทั้งสองทาให้มีสารตะกั่วปนเปื้อน มาพร้อมกับไอเสียซึ่งเป็นพิษ ต่อมนุษย์และสัตว์ 
เชื้อเพลิงในชีวิตประจาวัน
ปัจจุบันเติมสารตัวใหม่คือ สารเมทิลเทอร์เทียรีบิวทิลอีเทอร์ทาให้น้ามัน ไร้สารตะกั่ว 
หรืออาจเติมเอทานอลบิรสุทธิ์ที่ได้จากการหมักน้าตาลหรือ แป้งมันสาประหลัง ทาให้ได้น้ามันเบนซินที่เรียกว่า แก๊สโซฮอล์ (Gasohol) 
เชื้อเพลิงในชีวิตประจาวัน 
น้ามันเบนซิน (gasoline) 
เมทิลเทอร์เทียรีบิวทิลอีเทอร์ (MTBE)
แก๊สโซฮอล์(gasohol) 
คือ น้ามันเบนซินที่มีเอทานอลผสมอยู่ โดยทั่วไปใช้ เอทานอลผสมกับน้ามันเบนซินที่มีเลขออกเทน91 ในอัตราส่วน 1 : 9 ซึ่งสามารถใช้แทนน้ามันเบนซินที่มีเลขออกเทน95 ได้ ซึ่ง อาจเรียกว่า น้ามันแก๊สโซฮอล์หรือ E10 ก็ได้ 
ปัจจุบันแก๊สโซฮอล์มีหลายชนิด เช่น E10 E20 E85 
เชื้อเพลิงในชีวิตประจาวัน
น้ามันดีเซล (diesel fuel) 
น้ามันดีเซล (C14–C19) มีจุดเดือดสูงกว่าน้ามัน เบนซินมี 2 ชนิด 
1.ดีเซลหมุนเร็วหรือโซล่า เหมาะกับ เครื่องยนต์ความเร็วสูงกว่า 1000 รอบ/นาที 
2.ดีเซลหมุนช้าหรือขี้โล้ เหมาะกับเครื่องยนต์ เดินทะเล การผลิตกระแสไฟฟ้า 
เชื้อเพลิงในชีวิตประจาวัน
ไบโอดีเซล (biodiesel) 
การบอกคุณภาพน้ามันดีเซลบอกด้วยเลขซีเทน 
(cetanenumber) 
น้ามันดีเซลที่มีเลขซีเทน60 แสดงว่า น้ามันดีเซลชนิดนี้ ประสิทธิภาพการเผาไหม้เหมือนกับของผสมที่มีซีเทน60 ส่วน และแอลฟาเมทิลแนฟทาลีน40 ส่วน 
เชื้อเพลิงในชีวิตประจาวัน
ไบโอดีเซล (biodiesel) 
คือ เชื้อเพลิงที่ได้จากน้ามันพืชและสัตว์ทาปฏิกิริยากับ แอลกอฮอล์โดยมีกรดหรือเบสเป็นเร่งปฏิกิริยา เกิดเป็นสาร เอสเทอร์เช่น เมทิลเอสเทอร์หรือเอทิลเอสเทอร์ซึ่งมีสมบัติ ใกล้เคียงกับน้ามันดีเซลที่กลั่นจากปิโตรเลียม สามารถใช้เป็น เชื้อเพลิงในเครื่องยนต์ดีเซลได้ดี โดยไม่ต้องมีการดัดแปลง เครื่องยนต์ 
ไบโอดีเซลเชิงการค้าจะระบุด้วย B –ตัวเลข เช่น B20 หมายถึง การเติมไบโอดีเซล 20 ส่วนลงน้ามันดีเซล 80 ส่วน 
เชื้อเพลิงในชีวิตประจาวัน
แก๊สธรรมชาติ (natural gas) 
แก๊สธรรมชาติ มีองค์ประกอบหลักเป็นแก๊สมีเทน (CH4) โดยทั่วไปใช้เป็นเชื้อเพลิงผลิตกระแสไฟฟ้าหรือในโรงงาน อุตสาหกรรม เมื่อนาแก๊สธรรมชาติมาอัดลงในถังเชื้อเพลิงด้วย ความดันสูง คงมีสถานะแก๊ส เรียกว่า แก๊สธรรมชาติอัด หรือ CNG (compressed natural gas) ซึ่งใช้เป็นเชื้อเพลิงในรถยนต์ ส่วนบุคคลหรือรถยนต์โดยสารปรับอากาศโดยเรียกรถยนต์ส่ง บุคคลหรือรถโดยสารปรับอากาศว่า NGV(natural gas vehicle) 
เชื้อเพลิงในชีวิตประจาวัน
ความปลอดภัยของ NGV 
เบากว่าอากาศหากมีการรั่วไหลจะลอยขึ้นสูงฟุ้งกระจายไปใน อากาศทันที ไม่ถูกขังในที่ต่าเหมือนเชื้อเพลิงอื่น จึงไม่ติดไฟลุก ไหม้บนพื้นราบ 
จุดติดไฟสูงถึง 630 °C จึงยากที่จะลุกไหม้เองได้ 
ไม่มีสารตะกั่วเจือปน จึงไม่มีปัญหาเรื่องสารตะกั่วตกค้างใน อากาศ 
เครื่องยนต์ NGVจะไม่มีการปล่อยควันดา ไอเสียจาก NGVจะ มีสารประกอบกามะถันต่ามาก และแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ต่า ด้วย 
เชื้อเพลิงในชีวิตประจาวัน
แก๊สปิโตรเลียมเหลว (liquefied petroleum gas หรือ LPG) 
เชื้อเพลิงในชีวิตประจาวัน 
แก๊สปิโตรเลียมเหลว (Liquid Petroleum Gas, LPG)ได้ จากการนา แก๊สโพรเพนและ แก๊สบิวเทนมาผสมกันแล้วอัด ลงถังเหล็กภายใต้ความดันสูง ภายใต้สภาวะเช่นนี้แก๊สผสม ดังกล่าวจะเปลี่ยนสถานะเป็นของเหลว LPG ใช้เป็นแก๊สหุงต้ม 
ทั้ง แก๊สโพรเพนและ แก๊สบิวเทนเป็นสารที่ไม่มีกลิ่น และไม่มีสีเพื่อความปลอดภัยจึงมีการเติมสารเคมีลงไปเพื่อให้ มีกลิ่น จะได้ทราบเวลาแก๊สรั่ว
พลังงานทางเลือกหรือพลังงานทดแทน 
คือ พลังงานจากแหล่งอื่น ๆ ที่สามารถใช้แทนแหล่ง เชื้อเพลิงฟอสซิลเช่น ฟืน ถ่านไม้ แกลบ ชีวมวล เอทานอล ไบโอดีเซล น้า แสงอาทิตย์ ลม คลื่น เป็นต้น 
การหาพลังงานทดแทนมาใช้ มีหลักที่ต้องคานึงถึง 2ประการ คือ 
1. ควรเป็นพลังงานที่สะอาด ไม่ทาลายสิ่งแวดล้อม หรือมีผลต่อ สิ่งแวดล้อมน้อยมาก 
2. ควรเป็นพลังงานที่ใช้ได้อย่างยั่งยืนหรือสามารถนากลับมาใช้ ใหม่ได้
LOGO 
“ Add your company slogan ” 
By KruNaN

More Related Content

What's hot

หินอัคนี หินแปร หินตะกอน
หินอัคนี หินแปร หินตะกอนหินอัคนี หินแปร หินตะกอน
หินอัคนี หินแปร หินตะกอนwebsite22556
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรมThanyamon Chat.
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงsmEduSlide
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศTa Lattapol
 
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point   ปฏิกิริยาเคมีMicrosoft power point   ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมีThanyamon Chat.
 
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหาร
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหารวิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหาร
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหารKatewaree Yosyingyong
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสันแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสันKatewaree Yosyingyong
 
กำเนิดปิโตรเลียม
กำเนิดปิโตรเลียมกำเนิดปิโตรเลียม
กำเนิดปิโตรเลียมpatcharapun boonyuen
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้าPinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารPinutchaya Nakchumroon
 
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8Varin D' Reno
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกTa Lattapol
 
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถมสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถมTa Lattapol
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบThanyamon Chat.
 

What's hot (20)

เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ (Fossil fuels
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ (Fossil fuelsเชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ (Fossil fuels
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ (Fossil fuels
 
หินอัคนี หินแปร หินตะกอน
หินอัคนี หินแปร หินตะกอนหินอัคนี หินแปร หินตะกอน
หินอัคนี หินแปร หินตะกอน
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
 
โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)
 
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point   ปฏิกิริยาเคมีMicrosoft power point   ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
 
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหาร
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหารวิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหาร
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหาร
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสันแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
 
กำเนิดปิโตรเลียม
กำเนิดปิโตรเลียมกำเนิดปิโตรเลียม
กำเนิดปิโตรเลียม
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
 
บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสาร
 
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
 
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถมสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 
Kingdom plantae
Kingdom plantaeKingdom plantae
Kingdom plantae
 

Similar to ปิโตรเลียม

ปิโตรเลียม (Petroleum)
ปิโตรเลียม (Petroleum)ปิโตรเลียม (Petroleum)
ปิโตรเลียม (Petroleum)พัน พัน
 
05.ก๊าซธรรมชาติ
05.ก๊าซธรรมชาติ05.ก๊าซธรรมชาติ
05.ก๊าซธรรมชาติKobwit Piriyawat
 
เคมีพื้นบท4ปิโตรเลียม
เคมีพื้นบท4ปิโตรเลียมเคมีพื้นบท4ปิโตรเลียม
เคมีพื้นบท4ปิโตรเลียมWichai Likitponrak
 
ผลที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
ผลที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชผลที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
ผลที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชdnavaroj
 
7.องค์ความรู้ด้านพลังงาน
7.องค์ความรู้ด้านพลังงาน7.องค์ความรู้ด้านพลังงาน
7.องค์ความรู้ด้านพลังงานKobwit Piriyawat
 
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2Thitiporn Klainil
 
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2klainil
 
หน่วยการเรียนรู้ที่๔.pdf
หน่วยการเรียนรู้ที่๔.pdfหน่วยการเรียนรู้ที่๔.pdf
หน่วยการเรียนรู้ที่๔.pdfNutnutNutnut3
 
ปิโตรเลียม
ปิโตรเลียมปิโตรเลียม
ปิโตรเลียมkritsadaporn
 
ปิโตรเลียม
ปิโตรเลียมปิโตรเลียม
ปิโตรเลียมkritsadaporn
 
ปิโตรเลียม
ปิโตรเลียมปิโตรเลียม
ปิโตรเลียมkritsadaporn
 
ปิโตรเลียม
ปิโตรเลียมปิโตรเลียม
ปิโตรเลียมkritsadaporn
 
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)Thitaree Samphao
 
ทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติOui Nuchanart
 
12.ก๊าซชีวภาพ
12.ก๊าซชีวภาพ12.ก๊าซชีวภาพ
12.ก๊าซชีวภาพKobwit Piriyawat
 

Similar to ปิโตรเลียม (19)

01ปิโตรเลียม
01ปิโตรเลียม01ปิโตรเลียม
01ปิโตรเลียม
 
Petrolium
PetroliumPetrolium
Petrolium
 
ปิโตรเลียม (Petroleum)
ปิโตรเลียม (Petroleum)ปิโตรเลียม (Petroleum)
ปิโตรเลียม (Petroleum)
 
05.ก๊าซธรรมชาติ
05.ก๊าซธรรมชาติ05.ก๊าซธรรมชาติ
05.ก๊าซธรรมชาติ
 
07.น้ำมัน
07.น้ำมัน07.น้ำมัน
07.น้ำมัน
 
เคมีพื้นบท4ปิโตรเลียม
เคมีพื้นบท4ปิโตรเลียมเคมีพื้นบท4ปิโตรเลียม
เคมีพื้นบท4ปิโตรเลียม
 
ผลที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
ผลที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชผลที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
ผลที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 
7.องค์ความรู้ด้านพลังงาน
7.องค์ความรู้ด้านพลังงาน7.องค์ความรู้ด้านพลังงาน
7.องค์ความรู้ด้านพลังงาน
 
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
 
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
 
หน่วยการเรียนรู้ที่๔.pdf
หน่วยการเรียนรู้ที่๔.pdfหน่วยการเรียนรู้ที่๔.pdf
หน่วยการเรียนรู้ที่๔.pdf
 
Minboi
MinboiMinboi
Minboi
 
ปิโตรเลียม
ปิโตรเลียมปิโตรเลียม
ปิโตรเลียม
 
ปิโตรเลียม
ปิโตรเลียมปิโตรเลียม
ปิโตรเลียม
 
ปิโตรเลียม
ปิโตรเลียมปิโตรเลียม
ปิโตรเลียม
 
ปิโตรเลียม
ปิโตรเลียมปิโตรเลียม
ปิโตรเลียม
 
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
 
ทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติ
 
12.ก๊าซชีวภาพ
12.ก๊าซชีวภาพ12.ก๊าซชีวภาพ
12.ก๊าซชีวภาพ
 

ปิโตรเลียม

  • 1. LOGO “ Add your company slogan ” ปิโตรเลียม เอกสารประกอบการสอน ใช้เพื่อการศึกษา
  • 2. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง มีความเข้าใจเกี่ยวกับการเกิดปิโตรเลียม มีความเข้าใจการเกิดแก๊สธรรมชาติ การแยกแก๊สธรรมชาติ และ การนาผลิตภัณฑ์จากแก๊สธรรมชาติไปใช้ประโยชน์ มีความเข้าใจหลักการแยกน้ามันดิบ เพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์ประเภทต่างๆ มีความเข้าใจเกี่ยวกับการนาผลิตภัณฑ์จากน้ามันดิบไปใช้ประโยชน์ได้ อย่างเหมาะสม www.themegallery.com
  • 3. ปิโตรเลียม www.themegallery.com พลังงานเชิงพาณิช (Commercial energy) 1 พลังงานทางเลือกหรือพลังงานทดแทน (Alternative energy) 2 การเกิดปิโตรเลียม 1.1 การสารวจปิโตรเลียม 1.1.1 แหล่งปิโตรเลียมในประเทศไทย 1.1.2 แหล่งแก๊สธรรมชาติในประเทศไทย 1.2 การแยกแก๊สธรรมชาติ 1.2.1 ผลิตภัณฑ์ที่จากการแยกแก๊สธรรมชาติ 1.2.2 การกลั่นน้ามันดิบ 1.3 เชื้อเพลิงในชีวิตประจาวัน 1.4 2
  • 4. ปิโตรเลียม www.themegallery.com 1.พลังงานเชิงพาณิช ( commercial energy) -มีคุณค่าทางเศรษฐกิจเป็นแหล่งพลังงานขนาด ใหญ่ เช่น น้ามันดิบ แก๊สธรรมชาติ หรือถ่าน หิน -สร้างมลพิษปริมาณสูง (โดยเฉพาะถ่านหิน) -เป็นแหล่งพลังงานที่ใช้แล้วหมดไป (depleted energy) -พลังงานที่แปรรูปแล้ว ได้แก่ ไฟฟ้า และ ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม พลังงานที่ใช้ในปัจจุบัน แบ่งเป็น 2 ประเภท 2. พลังงานทางเลือก (alternative energy) -แหล่งพลังงานขนาดเล็ก -ยังไม่แพร่หลาย และต้องวิจัยและพัฒนาอีก -ส่วนช่วยในการทดแทนพลังงานเชิงพาณิช
  • 5. ตารางแสดงแหล่งพลังงานเชิงพาณิชย์และแหล่งพลังงานทางเลือก www.themegallery.com พลังงานเชิงพาณิชย์ พลังงานทางเลือก 1.น้ามันดิบ 2.แก๊สธรรมชาติเหลว 3.แก๊สธรรมชาติ 4.ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม -แก๊สปิโตรเลียมเหลว -น้ามันเบนซิน -น้ามันก๊าด -น้ามันเครื่องบิน -น้ามันดีเซล -น้ามันเตา 5.ถ่านหิน/ถ่านลิกไนต์ 6.ไฟฟ้า 1.แก๊สโซฮอล์ 2.ไบโอดีเซล 3.พลังงานหมุนเวียน -พลังงานชีวมวล -พลังงานแก๊สชีวภาพ -พลังงานขยะ -พลังงานแสงอาทิตย์ -พลังงานลม -พลังงานน้า -พลังงานความร้อนใต้พิภพ 4.พลังงานนิวเคลียร์ 5.พลังงานไฮโดรเจน
  • 6. ปิโตรเลียม(petroleum)เกิดจากซากพืชซากสัตว์ถูกทับถมด้วยกรวด ทราย และโคลนตมเป็นเวลานานนับล้านๆ ปี โดยได้รับแรงกดดันจาก ชั้นหินและความร้อนจากใต้ผิวโลกทาให้เกิดปฏิกิริยาแยกสลายเป็น แก๊สธรรมชาติและน้ามันดิบ รวมเรียกว่า ปิโตรเลียมจัดเป็น เชื้อเพลิงฟอสซิล ปิโตรเลียม(petroleum)เป็นของผสมของสารประกอบ ไฮโดรคาร์บอนหลายชนิดตั้งแต่โมเลกุลขนาดเล็กจนถึงโมเลกุล ขนาดใหญ่เมื่อผ่านกระบวนการแยกจะได้ผลิตภัณฑ์ที่นาไปใช้ ประโยชน์เป็นเชื้อเพลิงประเภทต่างๆ www.themegallery.com การเกิดปิโตรเลียม
  • 7. เมื่อหลายล้านปี ทะเลเต็มไป ด้วยสัตว์ และพืชเล็ก ๆ จาพวก จุลินทรีย์เมื่อสิ่งมีชีวิตตายลง จานวนมหาศาล ก็จะตกลงสู่ก้น ทะเล และถูกทับถมด้วยโคลน และ ทราย การเกิดปิโตรเลียม
  • 8. แม่น้า จะพัดพากรวด ทราย และโคลนสู่ทะเล ปีละหลาย แสนตัน ซึ่งกรวด ทราย และโคลน จะทับถมสัตว์ และพืชสลับทับ ซ้อนกัน เป็นชั้น ๆ อยู่ตลอดเวลา นับเป็นล้านปี การเกิดปิโตรเลียม
  • 9. การทับถมของชั้นตะกอน ต่างๆมากขึ้นจะหนานับร้อยฟุต ทา ให้เพิ่มน้าหนัก ความกดและบีบอัด จนทาให้หินทรายและดินดาน ตลอดจนเกิดการสลายตัวของสัตว์ และพืชทะเล เป็นน้ามันดิบ และ ก๊าซธรรมชาติ การเกิดปิโตรเลียม
  • 10. น้ามันดิบ และแก๊ส ธรรมชาติ มีความเบา จะ เคลื่อนย้าย ไปกักเก็บอยู่ในชั้น หินเนื้อพรุน เฉพาะบริเวณที่ สูงของโครงสร้างแต่ละแห่ง และจะถูกกักไว้ด้วยชั้นหิน เนื้อแน่น ที่ปิดทับอยู่ การเกิดปิโตรเลียม
  • 11. โครงสร้างของแหล่งกาเนิดปิโตรเลียม โครงสร้างของชั้นหินที่พบ ปิโตรเลียมแบบหนึ่ง มีลักษณะโค้ง คล้ายรูปกระทะคว่า ชั้นบนเป็นหิน ทราย ต่อไปเป็นหินดินดานและ หินปูนจากนั้นจึงพบแก๊ส ธรรมชาติ น้ามันดิบ และน้าจาก ชั้นน้าจะเป็นชั้นหินดินดาน หิน ทราย
  • 12. การเกิดปิโตรเลียม ปิโตรเลียมเกิดจากการทับถมและสลายตัวของอินทรีย์สารจากพืชและสัตว์ 12 เวลา +ความดัน+ความ ร้อนสูง + ปริมาณ ออกซิเจนจากัด แก๊สธรรมชาติและ น้ามันดิบแทรกอยู่ระหว่าง ชั้นหินที่มีรูพรุน สลายตัวได้
  • 13. การเกิดปิโตรเลียม ชนิดของ ปิโตรเลียม ปริมาณเป็นร้อยละโดยมวล คาร์บอน ไฮโดรเจน กามะถัน ไนโตรเจน น้ามันดิบ 82-87 12 -15 0.1–5.5 0.1 -1 แก๊สธรรมชาติ 65 -80 1 -25 0.2 1 -15 www.themegallery.com ตารางแสดงปริมาณของธาตุที่เป็นองค์ประกอบของน้ามันดิบและแก๊สธรรมชาติ ปิโตรเลียมเป็นสารผสมที่มีไฮโดรคาร์บอนเป็นองค์ประกอบหลัก นอกจากนี้ ยังประกอบด้วยกามะถัน ไนโตรเจน และสารประกอบออกไซด์อื่นๆ โดยปิโตรเลียม จากแหล่งต่างกันจะมีปริมาณไฮโดรคาร์บอน รวมทั้งกามะถัน ไนโตรเจน และ ออกซิเจนแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับชนิดของซากพืชและสัตว์ที่เป็นกาเนิดของปิโตรเลียม รวมถึงอิทธิพลของแรงทับถมอยู่บนตะกอน
  • 14. การเกิดปิโตรเลียม www.themegallery.com ปิโตรเลียมประกอบด้วยไฮโดรคาร์บอนประเภทแอลเคนเขียนแทนด้วย CnH2n + 2 (n = จานวนคาร์บอนอะตอม) การระบุจานวนคาร์บอนอะตอมเป็นดังนี้ การอ่านชื่อสารประกอบแอลเคนให้อ่านดังนี้ ระบุจานวนคาร์บอนอะตอมและ ลงท้ายด้วยเสียง เ_ น (-ane) n ชื่อจานวน คาร์บอนอะตอม ตัวอย่าง ชื่อ 1 meth (มีหรือเมท) CH4 มีเทน 2 eth(อี หรือ เอท) C2H6 อีเทน 3 prop(โพรพ) C3H8 โพรเพน 4 but (บิวท) C4H10 บิวเทน 5 pent(เพนท) C5H12 เพนเทน n ชื่อจานวน คาร์บอนอะตอม ตัวอย่าง ชื่อ 6 hex (เฮกซ) C6H14 เฮกเซน 7 hept(เฮปท) C7H16 เฮปเทน 8 oct(ออกท) C8H18 ออกเทน 9 non (โนน) C9H20 โนเนน 10 dec(เดกค) C10H22 เดกเคน
  • 15. 1.ทางธรณีวิทยา ใช้ภาพถ่ายทางอากาศ ภาพดาวเทียม แผนที่เป็นพื้นฐานในการสารวจ พื้นผิว การเก็บและตรวจตัวอย่างหิน เป็นข้อมูลในการคาดคะเนโครงสร้าง และชนิดของหิน การสารวจปิโตรเลียม 2. ทางธรณีฟิสิกส์ ได้แก่ การวัดค่าแรงดึงดูดของโลก เพื่อวิเคราะห์ความแตกต่างของชั้นหิน ใต้ผิวโลก ทาให้ได้ข้อมูลเกี่ยวกับขอบเขตของแหล่งตะกอนฟอสซิล -การวัดค่าสนามแม่เหล็ก ทาให้ทราบถึงลักษณะโครงสร้างของหิน ขอบเขต ความลึก และลักษณะของแนวหิน -การวัดคลื่นการสั่นสะเทือน ซึ่งแรงสั่นสะเทือนจะวิ่งผ่านชั้นหินชนิดต่างๆ และ สะท้อนเป็นคลื่นกลับมาแตกต่างกัน ทาให้ทราบลักษณะชั้นหินอย่างละเอียด
  • 16. การวัดคลื่นการสั่นสะเทือน โดยการสร้างคลื่นสะท้อนจากการจุด ระเบิดเพื่อให้เกิดคลื่นความสั่นสะเทือนวิ่งไป กระทบชั้นหินใต้ท้องทะเลและใต้ดิน แล้ว สะท้อนกลับขึ้นมาบนผิวโลกเข้าเครื่องรับ สัญญาณ จากนั้นเครื่องรับสัญญาณจะบันทึก เวลาที่คลื่นความสั่นสะเทือนสะท้อนกลับขึ้นมา จากชั้นหิน ณ ที่ระดับความลึกต่างกันซึ่ง ระยะเวลาที่คลื่นเดินทางลงไปกระทบชั้นหิน และสะท้อนกลับขึ้นมา สามารถนามาคานวณหา ความหนาของชั้นหินได้ การสารวจปิโตรเลียม
  • 17. การสารวจปิโตรเลียม ผลการสารวจปิโตรเลียมจะนาไปสู่การเจาะสารวจ -เพื่อดูความยากง่ายของการขุดเจาะเพื่อนาปิโตรเลียมมาใช้ -เพื่อดูว่าสิ่งที่ถูกกักเก็บไว้เป็นน้ามันดิบหรือแก๊สธรรมชาติหรือทั้ง 2 อย่าง และ ปริมาณมากน้อยเพียงไร ข้อมูลจากได้เจาะสารวจ -ใช้ในการตัดสินความเป็นไปได้ในการผลิตเชิงเศรษฐกิจ -ถ้าหลุมใดมีความดันภายในสูง ปิโตรเลียมจะถูกดันให้ไหลขึ้นมาได้เอง -ถ้าหลุมใดมีความดันภายในต่า จะเพิ่มแรงดันโดยการอัดแก๊สบางชนิด เช่น แก๊สธรรมชาติ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ หรือไอน้าลงไปช่วยดัน (ในทุกๆ 100 หลุมที่ขุดเจาะจะมีเพียง 44 หลุมที่ผลิตปิโตรเลียมได้) www.themegallery.com
  • 18. แหล่งปิโตรเลียมในประเทศไทย ประเทศไทยสารวจพบน้ามันดิบ ครั้งแรกที่อาเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ ใน ปี พ.ศ. 2464 แหล่งน้ามันดิบในประเทศ ไทยที่สาคัญในปัจจุบัน ได้แก่แหล่ง น้ามันดิบเพชร จากแหล่งสิริกิติ์ที่ จังหวัดกาแพงเพชร โดยมีการนามากลั่น และใช้ประโยชน์ได้ประมาณ 20,000 บาร์เรลต่อกัน
  • 19. แก๊สธรรมชาติ ก๊าซธรรมชาติเป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอน ซึ่งประกอบด้วย ธาตุถ่านคาร์บอน (C) กับธาตุ ไฮโดรเจน (H) จับตัวกันเป็นโมเลกุล โดย เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ จากการทับถมของซากสิ่งมีชีวิตตามชั้นหิน ดิน และในทะเลหลายร้อยล้านปีมาแล้ว เช่นเดียวกับน้ามัน และเนื่องจาก ความร้อนและความกดดันของผิวโลกจึง แปรสภาพเป็นก๊าซ
  • 20. แหล่งกาเนิดแก๊สธรรมชาติ แก๊สธรรมชาติเกิดอยู่ใต้พื้นดิน อาจเป็นบนบกหรือในทะเล และอาจพบ อยู่ตามลาพัง ในสถานะแก๊สหรืออยู่รวมกับน้ามันดิบ แหล่งแก๊สธรรมชาติในอ่าวไทย สารวจพบเมื่อ พ.ศ. 2516 และแหล่ง แก๊สบนแผ่นดินที่อาเภอน้าพอง จังหวัดขอนแก่น พบเมื่อ พ.ศ. 2524 แก๊สธรรมชาติบางส่วนเกิดจากความร้อนสูงภายในโลก ทาให้น้ามันดิบ ที่ถูกเก็บกักไว้เป็นเวลานานเกิดการสลายตัวเป็นแก๊สธรรมชาติอยู่เหนือชั้น น้ามันดิบ
  • 21. สารประกอบ สูตรโมเลกุล ร้อยละโดยปริมาตร มีเทน อีเทน โพรเทน บิวเทน เพนเทน คาร์บอนไดออกไซด์ ไนโตรเจน อื่น ๆ คือ เฮกเซน(C2H14) ไอน้า (H2O) ฮีเลียม (He) ไฮโดรเจนซัลไฟด์ (H2S) และ ปรอท CH4 C2H6 C3H8 C4H10 C5H12 CO2 N2 - 60 –80 4 –10 3 –5 1 –3 1 15 –25 ไม่เกิน 3 น้อยมาก การแยกแก๊สธรรมชาติ องค์ประกอบของแก๊สธรรมชาติจากอ่าวไทยมีดังนี้
  • 22. การแยกแก๊สธรรมชาติ ซึ่งในประเทศไทยมีโรงแยกแก๊สธรรมชาติอยู่ที่ตาบลมาบตาพุด จังหวัดระยองและ ที่อาเภอขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราช www.themegallery.com แก๊สธรรมชาติและ แก๊สธรรมชาติเหลว หน่วยแยกแก๊ส แก๊สธรรมชาติ เหลว แก๊สธรรมชาติ หน่วยกาจัด ปรอท หน่วยกาจัด H2S หน่วยกาจัด CO2 หน่วยกาจัด ไอน้า แก๊สธรรมชาติปราศจากปรอท H2S CO2และไอน้า ลดอุณหภูมิ ( -160 0C ) เพิ่มความดัน (แก๊สธรรมชาติเปลี่ยนเป็นแก๊สธรรมชาติเหลว) หอกลั่นลาดับส่วน แก๊ส มีเทน แก๊ส อีเทน แก๊ส โพรเพน ขั้นตอนการแยกแก๊สธรรมชาติดังแผนภาพ แก๊สปิโตรเลียม แหลว(LPG) แก๊สโซลีนธรรมชาติ (NGL) แก๊ส เพนเทน
  • 23. ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการแยกแก๊สธรรมชาติ แก๊สมีเทน แก๊สมีเทน (CH4) นามาใช้เป็นเชื้อเพลิงในการผลิต กระแสไฟฟ้า ใช้เป็นเชื้อเพลิงในอุตสาหกรรมซีเมนต์และเซรามิก ใช้เป็นวัตถุดิบใสอุตสาหกรรมปุ๋ยเคมี ใช้เป็นเชื้อเพลิงรถยนต์ รถแท็กซี่ และรถโดยสารในรูปของแก๊สธรรมชาติ www.themegallery.com
  • 24. ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการแยกแก๊สธรรมชาติ แก๊สธรรมชาติอัด แก๊สธรรมชาติอัด หรือ CNG (compressed nature gas) มี ส่วนประกอบหลัก คือ แก๊สมีเทน เบากว่าอากาศจึงลอยตัวได้การ ใช้งานจะอยู่ในสภาพที่เป็นแก๊สที่ถูกอัดจนมีความดันสูง (ประมาณ 3,000 ปอนด์/ตารางนิ้ว) ดังนั้นจึงต้องเก็บไว้ในถังที่มี ความแข็งแรงและทนทานเป็นพิเศษ เช่น ถังเหล็กกล้า ถังไฟเบอร์กลาสเมื่อนามาใช้กับรถยนต์หรือรถโดยสารจะเรียก ประเภทนี้ว่า NGV (natural gas vehicle) www.themegallery.com
  • 25. ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการแยกแก๊สธรรมชาติ แก๊สอีเทนและแก๊สโพรเพน แก๊สอีเทน(C2H6) และแก๊สโพรเพน(C3H8) นามาใช้ใน อุตสาหกรรมปิโตรเคมี ผลิตเม็ดพลาสติกและเส้นใยสังเคราะห์ www.themegallery.com
  • 26. ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการแยกแก๊สธรรมชาติ แก๊สหุงต้ม แก๊สหุงต้ม (LPG = liquefied natural gas) ประกอบด้วยแก๊สโพรเพน30% และแก๊สบิวเทน 70% โดยปริมาตร ถูกอัดเป็นของเหลวลงถังด้วย ความดัน 120 ปอนด์/ตารางนิ้ว เป็นแก๊สที่หนักกว่า อากาศ มีเลขออกเทน95 –108 เป็นแก๊สไม่มีสี ไม่มี กลิ่น จึงมีการเติมสารเมทิลเมอร์แคปแทนหรือ เอทิลเมอร์แคปแทนที่มีกลิ่นเหมือนกามะถันเพื่อให้ บอกเวลาแก๊สรั่วได้ แก๊ส LPG ติดไฟง่าย ไม่มีควัน เมื่อถูกเปลวไฟจะเกิดการลุกไหม้อย่างรวดเร็วและ อาจเกิดการระเบิดได้ www.themegallery.com
  • 27. ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการแยกแก๊สธรรมชาติ แก๊สโซลีนธรรมชาติ แก๊สโซลีนธรรมชาติ (NGL) ป้อนให้โรงกลั่นน้ามัน เพื่อให้ผลิตเป็นน้ามันเบนซิน ใช้ในอุตสาหกรรมผลิตตัวทาละลาย และอุตสาหกรรมปิโตรเลียม www.themegallery.com
  • 28. ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการแยกแก๊สธรรมชาติ แก๊สเพนเทน แก๊สเพนเทน(C5H12) ใช้เป็นตัวทาละลายในอุตสาหกรรม บางประเภท www.themegallery.com
  • 29. ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการแยกแก๊สธรรมชาติ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์(CO2) ใช้ในอุตสาหกรรมถนอม อาหาร น้าอัดลม และน้าแข็งแห้ง www.themegallery.com
  • 30. การกลั่นน้ามันดิบ ลักษณะของน้ามันดิบ -ส่วนมากสีเหลือง ดา น้าตาล ขึ้นอยู่กับแหล่งที่พบ บางแหล่งมีไขมาก บางแหล่งมียางมะตอยมาก -เป็นของเหลวข้นถึงหนืด มีความหนาแน่น 0.79 –0.95 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร -ประกอบด้วยไฮโดรคาร์บอน (แอลเคนและ ไซโคแอลเคน) และมีกามะถัน ออกซิเจน ไนโตรเจน และโลหะอื่น ซึ่งมักเรียก ปฏิกูล (ราคาน้ามันจะมีราคาถูก หรือแพงขึ้นอยู่กับคุณภาพของน้ามันดิบว่ามีสิ่งปฏิกูล มากน้อยเพียงไร)
  • 31. www.themegallery.com การกลั่นน้ามันดิบ การกลั่นน้ามันดิบต้องแยกสารเจือปนออกก่อน แล้วนาส่วนที่เป็น สารประกอบไฮโดรคาร์บอนประเภทแอลเคนไปกลั่นแยกออกเป็น ผลิตภัณฑ์ต่างๆ โดยการกลั่นลาดับส่วน กลั่นลาดับส่วนไม่ได้เพิ่มอุณหภูมิให้สารประกอบ ไฮโดรคาร์บอนระเหยออกมาทีละชนิด แต่ให้ความร้อนจน เกือบทั้งหมดระเหยพร้อมกัน แล้วเก็บของเหลวที่ไดจากการ ควบแน่นเป็นส่วนๆ ตามช่วงอุณหภูมิของจุดเดือดที่ต่างกัน สารที่มีจุดเดือนต่าระเหยขึ้นไปและควบแน่นที่บริเวณส่วนบน ของหอกลั่น ส่วนสารที่มีจุดเดือนสูงจะควบแน่นอยู่ตอนล่าง ของหอกลั่น
  • 32.
  • 35. น้ามันเบนซิน (gasoline) องค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นเฮปเทนและไอโซออกเทน ปัจจุบันน้ามันเบนซินที่ใช้กับรถยนต์มี 2 ชนิด คือ ที่มีเลขออกเทน91และ 95 การบอกคุณภาพของน้ามันเบนซินบอกด้วยค่าเลขออกเทน(หน่วยเป็น ร้อยละ แต่จะละไว้) เลขออกเทนยิ่งมากเครื่องยนต์จะเดินเรียบและเงียบ ประสิทธิภาพการเผาไหม้ไอโซออกเทนบริสุทธิ์มีเลขออกเทนเป็น 100 และให้ประสิทธิ์ภาพการเผาไหม้ของสารประกอบนอร์มอลเฮปเทน บริสุทธิ์มีออกเทนเป็น 0 เชื้อเพลิงในชีวิตประจาวัน
  • 36. น้ามันเบนซิน (gasoline) น้ามันเบนซินที่มีเลขออกเทน95 แสดงว่ามีประสิทธิภาพการเผาไหม้ เหมือนกับของผสมที่มีไอโซออกเทน95 ส่วนและนอร์มอลเฮปเทน5 ส่วน น้ามันเบนซินจากโรงกลั่นน้ามันจะมีเลขออกเทนน้อยกว่า 75 -อดิตเติม สารเตตระเมทิลเลด[(CH3)4Pb] หรือ เตตระเอทิลเลด [(C2H5)4Pb] ซึ่งเป็นสารที่ไม่มีสีและไม่ละลาย แต่ละลายได้ในน้ามัน เบนซิน -แต่สารทั้งสองทาให้มีสารตะกั่วปนเปื้อน มาพร้อมกับไอเสียซึ่งเป็นพิษ ต่อมนุษย์และสัตว์ เชื้อเพลิงในชีวิตประจาวัน
  • 37. ปัจจุบันเติมสารตัวใหม่คือ สารเมทิลเทอร์เทียรีบิวทิลอีเทอร์ทาให้น้ามัน ไร้สารตะกั่ว หรืออาจเติมเอทานอลบิรสุทธิ์ที่ได้จากการหมักน้าตาลหรือ แป้งมันสาประหลัง ทาให้ได้น้ามันเบนซินที่เรียกว่า แก๊สโซฮอล์ (Gasohol) เชื้อเพลิงในชีวิตประจาวัน น้ามันเบนซิน (gasoline) เมทิลเทอร์เทียรีบิวทิลอีเทอร์ (MTBE)
  • 38. แก๊สโซฮอล์(gasohol) คือ น้ามันเบนซินที่มีเอทานอลผสมอยู่ โดยทั่วไปใช้ เอทานอลผสมกับน้ามันเบนซินที่มีเลขออกเทน91 ในอัตราส่วน 1 : 9 ซึ่งสามารถใช้แทนน้ามันเบนซินที่มีเลขออกเทน95 ได้ ซึ่ง อาจเรียกว่า น้ามันแก๊สโซฮอล์หรือ E10 ก็ได้ ปัจจุบันแก๊สโซฮอล์มีหลายชนิด เช่น E10 E20 E85 เชื้อเพลิงในชีวิตประจาวัน
  • 39. น้ามันดีเซล (diesel fuel) น้ามันดีเซล (C14–C19) มีจุดเดือดสูงกว่าน้ามัน เบนซินมี 2 ชนิด 1.ดีเซลหมุนเร็วหรือโซล่า เหมาะกับ เครื่องยนต์ความเร็วสูงกว่า 1000 รอบ/นาที 2.ดีเซลหมุนช้าหรือขี้โล้ เหมาะกับเครื่องยนต์ เดินทะเล การผลิตกระแสไฟฟ้า เชื้อเพลิงในชีวิตประจาวัน
  • 40. ไบโอดีเซล (biodiesel) การบอกคุณภาพน้ามันดีเซลบอกด้วยเลขซีเทน (cetanenumber) น้ามันดีเซลที่มีเลขซีเทน60 แสดงว่า น้ามันดีเซลชนิดนี้ ประสิทธิภาพการเผาไหม้เหมือนกับของผสมที่มีซีเทน60 ส่วน และแอลฟาเมทิลแนฟทาลีน40 ส่วน เชื้อเพลิงในชีวิตประจาวัน
  • 41. ไบโอดีเซล (biodiesel) คือ เชื้อเพลิงที่ได้จากน้ามันพืชและสัตว์ทาปฏิกิริยากับ แอลกอฮอล์โดยมีกรดหรือเบสเป็นเร่งปฏิกิริยา เกิดเป็นสาร เอสเทอร์เช่น เมทิลเอสเทอร์หรือเอทิลเอสเทอร์ซึ่งมีสมบัติ ใกล้เคียงกับน้ามันดีเซลที่กลั่นจากปิโตรเลียม สามารถใช้เป็น เชื้อเพลิงในเครื่องยนต์ดีเซลได้ดี โดยไม่ต้องมีการดัดแปลง เครื่องยนต์ ไบโอดีเซลเชิงการค้าจะระบุด้วย B –ตัวเลข เช่น B20 หมายถึง การเติมไบโอดีเซล 20 ส่วนลงน้ามันดีเซล 80 ส่วน เชื้อเพลิงในชีวิตประจาวัน
  • 42. แก๊สธรรมชาติ (natural gas) แก๊สธรรมชาติ มีองค์ประกอบหลักเป็นแก๊สมีเทน (CH4) โดยทั่วไปใช้เป็นเชื้อเพลิงผลิตกระแสไฟฟ้าหรือในโรงงาน อุตสาหกรรม เมื่อนาแก๊สธรรมชาติมาอัดลงในถังเชื้อเพลิงด้วย ความดันสูง คงมีสถานะแก๊ส เรียกว่า แก๊สธรรมชาติอัด หรือ CNG (compressed natural gas) ซึ่งใช้เป็นเชื้อเพลิงในรถยนต์ ส่วนบุคคลหรือรถยนต์โดยสารปรับอากาศโดยเรียกรถยนต์ส่ง บุคคลหรือรถโดยสารปรับอากาศว่า NGV(natural gas vehicle) เชื้อเพลิงในชีวิตประจาวัน
  • 43. ความปลอดภัยของ NGV เบากว่าอากาศหากมีการรั่วไหลจะลอยขึ้นสูงฟุ้งกระจายไปใน อากาศทันที ไม่ถูกขังในที่ต่าเหมือนเชื้อเพลิงอื่น จึงไม่ติดไฟลุก ไหม้บนพื้นราบ จุดติดไฟสูงถึง 630 °C จึงยากที่จะลุกไหม้เองได้ ไม่มีสารตะกั่วเจือปน จึงไม่มีปัญหาเรื่องสารตะกั่วตกค้างใน อากาศ เครื่องยนต์ NGVจะไม่มีการปล่อยควันดา ไอเสียจาก NGVจะ มีสารประกอบกามะถันต่ามาก และแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ต่า ด้วย เชื้อเพลิงในชีวิตประจาวัน
  • 44. แก๊สปิโตรเลียมเหลว (liquefied petroleum gas หรือ LPG) เชื้อเพลิงในชีวิตประจาวัน แก๊สปิโตรเลียมเหลว (Liquid Petroleum Gas, LPG)ได้ จากการนา แก๊สโพรเพนและ แก๊สบิวเทนมาผสมกันแล้วอัด ลงถังเหล็กภายใต้ความดันสูง ภายใต้สภาวะเช่นนี้แก๊สผสม ดังกล่าวจะเปลี่ยนสถานะเป็นของเหลว LPG ใช้เป็นแก๊สหุงต้ม ทั้ง แก๊สโพรเพนและ แก๊สบิวเทนเป็นสารที่ไม่มีกลิ่น และไม่มีสีเพื่อความปลอดภัยจึงมีการเติมสารเคมีลงไปเพื่อให้ มีกลิ่น จะได้ทราบเวลาแก๊สรั่ว
  • 45. พลังงานทางเลือกหรือพลังงานทดแทน คือ พลังงานจากแหล่งอื่น ๆ ที่สามารถใช้แทนแหล่ง เชื้อเพลิงฟอสซิลเช่น ฟืน ถ่านไม้ แกลบ ชีวมวล เอทานอล ไบโอดีเซล น้า แสงอาทิตย์ ลม คลื่น เป็นต้น การหาพลังงานทดแทนมาใช้ มีหลักที่ต้องคานึงถึง 2ประการ คือ 1. ควรเป็นพลังงานที่สะอาด ไม่ทาลายสิ่งแวดล้อม หรือมีผลต่อ สิ่งแวดล้อมน้อยมาก 2. ควรเป็นพลังงานที่ใช้ได้อย่างยั่งยืนหรือสามารถนากลับมาใช้ ใหม่ได้
  • 46. LOGO “ Add your company slogan ” By KruNaN