SlideShare a Scribd company logo
1 of 45
L/O/G/O
มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม
ในโรงเรียน
หลักการสุขาภิบาลโรงเรียน
งานสุขาภิบาลโรงเรียน เป็นงานสาคัญงานหนึ่งของงาน
อนามัยโรงเรียน ซึ่งนอกจากนี้ แล้วยังจะมีอีกสองงานที่รวมไว้
ด้วยกันคืองานสุขศึกษาในโรงเรียน และการให้บริการอนามัย
โรงเรียน โดยมีเป้ าหมายร่วมกันคือเพื่อเป็นการสร้างเสริม และ
ป้ องกันสุขภาพของนักเรียน ให้สมบูรณ์ทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ
และสังคม มีความพร้อมที่จะศึกษารับความรู้ได้โดยปราศจาก
โรคภัย ไข้เจ็บต่างๆ ที่จะเป็นอุปสรรคต่อการเรียน
การสุขาภิบาลโรงเรียน หมายถึง
การจัดการ ควบคุม ดูแล ปรับปรุง สิ่งแวดล้อมต่างๆ
ในโรงเรียนให้อยู่ในสภาพที่ดีและถูกสุขลักษณะ เพื่อช่วย
ให้สามารถป้ องกันโรคภัยไข้เจ็บแก่นักเรียน ช่วยลด
อุบัติเหตุที่จะเกิดขึ้น ทั้งยังส่งเสริมให้นักเรียนมีสุขภาพ
พลานามัยที่ดี ตลอดจนเกิดสุขนิสัยที่ดีอีกด้วย
ควรจัดให้เหมาะสมกับสภาพสรีรวิทยาของร่างกายเด็กที่กาลังเจริญเติบโต
ควรจัดให้เป็นที่น่าสบายใจ เพื่อส่งเสริมสุขภาพจิต และอารมณ์ เอื้อต่อ
การศึกษาให้ได้ผลอย่างเต็มที่
ควรจัดให้ปลอดภัยจากโรคติดต่อ
ควรจัดให้มีความปลอดภัยจากอุบัติเหตุ และภยันตราย
การจัดโรงเรียนและสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ
4
1
2
3
หลักเกณฑ์ 4 ประการ
ข้อกาหนดเรื่องการสุขาภิบาลโรงเรียน
7 ประการ
พื้นที่สร้างโรงเรียนหรือสถานที่ตั้ง และบริเวณทั่วไป
อาคารเรียน และสิ่งก่อสร้าง
การถ่ายเทอากาศ และแสงสว่าง
ห้องเรียน และอาคารเฉพาะกิจ
น้าดื่ม น้าใช้
ส้วม ที่ปัสสาวะ และอ่างล้างมือ
การกาจัดมูลฝอย การระบายน้า และการดูแลรักษาความสะอาดสถานที่ทั่วไป
1.พื้นที่สร้างโรงเรียนหรือสาานที่ต้ง
พื้นที่สร้างโรงเรียนหรือสถานที่ตั้ง
• ไม่ควรห่างจากย่านชุมชนเกินกว่า 2 กิโลเมตร การคมนาคมสะดวก
• มีเนื้อที่ไม่น้อยกว่า 3,200 ตารางเมตร (2 ไร่)
• บริเวณพื้นที่ไม่สูงชันหรือลาดเอียง และไม่ควรเป็นพื้นที่ที่มีน้าขัง
เฉอะแฉะ เป็นโคลนตมในฤดูฝน น้าท่วมไม่ถึง
• ไม่ควรตั้งอยู่ใกล้ทางรถไฟหรือถนนสายใหญ่ๆที่มีการจราจรคับคั่ง
• ไม่ควรตั้งอยู่ใกล้โรงงานอุตสาหกรรม ตลาดสดหรือที่ที่มีเสียงรบกวน
• ควรปลูกต้นไม้ใหญ่ไว้เพื่อให้ร่มเงา และบังลมได้หากมีลมพัดจัด มีม้านั่ง
ประจา
• มีพื้นที่สนามและบริเวณพักผ่อน ควรมีอัตราเฉลี่ยไม่น้อยกว่าครึ่งหนึ่ง
ของพื้นที่ที่ใช้เป็นบริเวณโรงเรียน พื้นเรียบ ไม่เป็นหลุมบ่อ ด้านที่ชิด
ทางเข้าออกควรทารั้วกั้นเพื่อป้ องกันอุบัติเหตุจากยานยนต์
2.อาคารเรียน และสิ่งก่อสร้าง
อาคารเรียน และสิ่งก่อสร้าง
อาคารและสิ่งก่อสร้างภายในโรงเรียน จะต้องมีขนาดที่พอเหมาะกับจานวน
นักเรียน และเผื่อการขยายจานวนรับในอนาคตได้ สิ่งสาคัญคือต้องมีความคงทน
แข็งแรง สามารถรองรับน้าหนักของเด็กนักเรียนที่อยู่ในอาคารได้ รวมถึง ครุภัณฑ์ ของ
ใช้ต่างๆ ด้วย รูปทรงของอาคารเรียน ควรทาเป็นลักษณะตัวอักษร L, T, U, I หรือ
E มีเนื้อที่ของอาคารไม่ต่ากว่า 1.5 ตารางเมตรต่อนักเรียน 1 คน
อาคารเรียน และสิ่งก่อสร้าง (ต่อ)
• พื้นห้อง ควรเลือกใช้วัสดุที่รักษาความสะอาดง่าย และไม่ลื่น
มาก ถ้าเป็นพื้นปูนซีเมนต์ควรยกสูงจากระดับพื้นดิน ไม่น้อยกว่า 10
เซนติเมตร แต่ถ้าเป็นพื้นไม้ควรยกสูงกว่าระดับดิน ไม่น้อยกว่า 90
เซนติเมตร
อาคารเรียน และสิ่งก่อสร้าง (ต่อ)
• ผนัง ( ฝา ) ควรทาให้กันเสียงรบกวนระหว่างห้องได้เพียงพอ
คือมีความหนาไม่น้อยกว่า 3 เซนติเมตร ควรเป็นวัสดุที่ทาความสะอาดได้
ง่าย ควรเป็นสีขาวหรือสีอ่อนเพื่อช่วยสะท้อนแสงได้ดี ทาให้มองสว่างตา
ในเวลากลางวัน และเวลาเปิดไฟจะสว่างมากกว่าห้องที่ทาสีเข้ม ส่วนล่าง
ใกล้พื้นให้ทาสีเข้มกันเปื้อน
อาคารเรียน และสิ่งก่อสร้าง (ต่อ)
• เพดาน สูงจากพื้นอย่างน้อย 3.50 เมตร ทาสีอ่อน เช่น สีขาว
สีครีม ช่วยสะท้อนแสง วัสดุเรียบทาความสะอาดง่าย
• หลังคา ควรมีความลาดเอียงพอสมควร มุงด้วยกระเบื้อง จะกัน
ร้อนได้ดีกว่าสังกะสีและเสียงไม่ดังมากเวลาฝนตก
• ชายคาและกันสาด ควรทาให้ยื่นห่างออกไปจากผนัง ไม่น้อย
กว่า 1.5 – 2.0 เมตร เพื่อสามารถกันฝนสาดได้
อาคารเรียน และสิ่งก่อสร้าง (ต่อ)
• บันได ไม่ชันจนเกินไป ขั้นบันไดกว้างไม่ต่ากว่า 25 เซนติเมตร ระยะ
สูงระหว่างขั้นบันได ไม่เกิน 18 เซนติเมตร ความกว้างของตัวบันได ไม่น้อยกว่า
1.5 เมตร ถ้าบันไดสูงเกิน 3 เมตรหรือ 14 ขั้น ควรทาชานพัก มีราวบันไดด้วย
• ทางหนีไฟหรือเหตุฉุกเฉิน อาคารตั้งแต่ 2 ชั้นขึ้นไป หรือ 6 เมตร หาก
มีทางขึ้นลงเพียงบันไดเดียว ให้เพิ่มทางขึ้นลงพิเศษ เป็นบันไดเหล็ก มีราวกว้างอย่าง
น้อย 3 เมตร สาหรับหนี เมื่อเกิดเพลิงไหม้หรือเหตุฉุกเฉินได้
3.การระบายอากาศและแสงสว่าง
การระบายอากาศและแสงสว่าง
• การระบายอากาศ
• พื้นที่ประตู และหน้าต่าง ประมาณ 1/4 หรือ 1/5 ของพื้นที่ห้อง
• ความกว้างและความสูงของหน้าต่างไม่น้อยกว่า 1 เมตร
• ขอบล่างของหน้าต่างสูงจากพื้นห้องไม่เกิน 80-90 เซนติเมตร
• ความกว้างของประตู ไม่ควรน้อยกว่า 1 เมตร และความสูงไม่น้อยกว่า
2 เมตร
การระบายอากาศและแสงสว่าง (ต่อ)
• การจัดแสงสว่าง
• ควรอาศัยแสงสว่างจากธรรมชาติคือแสงจากดวงอาทิตย์เป็นหลัก โดยจัด
ให้แสงส่องผ่านเข้าทางด้านซ้ายมือ เพื่อไม่เกิดเงาเวลาเขียนหนังสือ
• ควรมีแสงจากหลอดไฟประดิษฐ์คือหลอดฟลูออเรสเซนต์ สารองไว้ใน
ยามที่อากาศครึ้ม หรือเป็นแสงสว่างเสริม แต่ต้องมีที่กาบังแสง ทาด้วยพลาสติกสีขาว
และหลอดไฟต้องเป็นสีขาวด้วย
• สีของผนัง และเพดานมีส่วนต่อการเพิ่มความสว่างของห้อง ควรเลือกทาสี
เข้ม อ่อนตามความต้องการ โดยสีขาวจะให้การสะท้อนแสงได้ดีที่สุด
• ความสว่างโดยรวม ควรจัดให้มีความเหมาะสมตามลักษณะงาน
การระบายอากาศและแสงสว่าง (ต่อ)
ชนิดของห้อง ความเข้มของแสง
(ลักซ์)
• ห้องเขียน ห้องพิมพ์ดีด ห้องการฝีมือ
• ห้องเรียน ห้องสมุด ห้องทดลองวิทยาศาสตร์ และห้อง
พยาบาล
• ห้องประชาสัมพันธ์ ห้องพลศึกษา
• ห้องประชุม ห้องรับประทานอาหาร
• ห้องน้า ห้องส้วม ทางเดิน บันได และห้องเก็บของ
500
300
200
100
50
4. การจดห้องเรียนและอาคารเฉพาะกิจ
การจดห้องเรียนและอาคารเฉพาะกิจ
4.1 ห้องเรียน และเครื่องใช้ในห้องเรียน
ห้องเรียน
• ควรสูงจากพื้นถึงเพดาน ไม่น้อยกว่า 3.50 เมตร
• ควรเป็นสี่เหลี่ยมผืนผ้า ขนาด 6x 8 หรือ 7 x 9 เมตร จุนักเรียน
30-40 คน
• พื้นที่ห้องเรียนในโรงเรียนประถมศึกษา และมัธยมศึกษา ควรมีขนาด
1.50 –2.00 ตารางเมตร ต่อนักเรียน 1 คน
• พื้นที่ห้องเรียนสาหรับนักเรียนอนุบาล ควรมีพื้นที่เพิ่มมากกว่าเด็กโต
50%
การจดห้องเรียนและอาคารเฉพาะกิจ (ต่อ)
เครื่องใช้ในห้องเรียน
• โต๊ะเรียนและเก้าอี้ต้องจัดให้มีช่องทางเดินระหว่างแถวและต้อง
จัดทาให้มีขนาดและความสูงที่เหมาะสมกับวัยของเด็กในแต่ละระดับชั้นที่มี
ความสูงเฉลี่ยแตกต่างกัน ตั้งแต่เด็กเล็กถึงเด็กโต
• กระดานดา โต๊ะและเก้าอี้สาหรับครู ตู้หนังสือ และเครื่องใช้
ประจาห้อง ควรจัดให้ลงตัวเป็นสัดส่วน เป็นระเบียบเรียบร้อย
การจดห้องเรียนและอาคารเฉพาะกิจ (ต่อ)
4.2 ห้องประชุม ควรมีพื้นที่ 1 ตารางเมตรต่อนักเรียน 1 คน เพิ่มพื้นที่
ใช้สอยตามความจาเป็ น
4.3 ห้องพักครู ควรมีพื้นที่ 4-5 ตารางเมตร ต่อครู 1 คน
4.4 ห้องสมุด
• ควรมีพื้นที่เฉลี่ย 1 ตารางเมตร ต่อนักเรียน 1 คน
• เพิ่มพื้นที่อีก 40-50 % สาหรับเป็นที่อ่านหนังสือ ชั้นวาง
หนงสือ และที่ทางานของ บรรณารกษ์
การจดห้องเรียนและอาคารเฉพาะกิจ (ต่อ)
4.5 ห้องพยาบาล
• ควรตั้งอยู่ชั้นล่างของอาคารเรียน อยู่ใกล้ทางเดินเท้าและอยู่ใกล้ห้อง
ทางานของผู้บริหารโรงเรียน มีโทรศัพท์ และมีเตียงพยาบาล อย่างน้อย 2 เตียง มี
ความยาวของห้อง ไม่น้อยกว่า 6 เมตร เพื่อจะได้มีเนื้อที่ใช้สอยอื่นๆ อย่างเหมาะสม
• สาหรับโรงเรียนขนาดใหญ่ที่มีนักเรียน เกินกว่า 1,000 คน ควรมี
เรือนพยาบาลโดยเฉพาะ และมีพยาบาลอยู่ประจาตลอดเวลา
การจดห้องเรียนและอาคารเฉพาะกิจ (ต่อ)
4.6 โรงอาหารและโรงครัว
โรงอาหารและโรงครัว ควรจัดให้เป็นไปตามข้อกาหนดของกอง
สุขาภิบาลอาหาร กรมอนามัย เพื่อให้ถูกสุขลักษณะ แต่ก็มีหลักเกณฑ์การ
พิจารณาโดยทั่วไป ดังนี้
การจดห้องเรียนและอาคารเฉพาะกิจ (ต่อ)
โรงอาหาร
• ควรจัดให้มีจานวนโต๊ะและที่นั่งให้เพียงพอกับจานวนนักเรียน ถ้าทาได้ควรให้มีเนื้อ
ที่เฉลี่ย ประมาณ 1 ตารางเมตรต่อนักเรียน 1 คน
• จัดให้มีอ่างน้าพุสาหรับดื่ม ก็อกน้าใช้ อ่างล้างมือ และอ่างล้างจาน
• จัดให้มีภาชนะรองรับเศษอาหารที่ถูกสุขลักษณะ และจานวนเพียงพอ
• ควรทาเป็นระบบปิด มีมุ้งลวดป้ องกันแมลงวันเข้าไป ถ้าไม่สามารถทาได้ ควรทาเป็น
แนวรั้วป้ องกันสัตว์เลี้ยงเข้าไปรบกวน
• ควรมีเคาท์เตอร์สาหรับจ่ายอาหาร
การจดห้องเรียนและอาคารเฉพาะกิจ (ต่อ)
โรงครัว
• ควรตั้งอยู่ห่างจากสิ่งโสโครกหรือสิ่งปฏิกูลต่าง ๆ
• พื้นห้อง ต้องทึบเรียบ และสร้างด้วยวัสดุที่ทาความสะอาดง่าย ทนไฟ
• ประตู หน้าต่าง ควรใส่ลวดตาข่ายเพื่อป้ องกันแมลงวัน แมลงสาบ และหนู
• การระบายอากาศ เป็นไปด้วยดี และมีแสงสว่างที่พอเพียง
• ควรจัดเตาไฟให้สูงพอประมาณ ขนาดยืนปรุงอาหารได้ และมีปล่องไฟดูด
ควนออกไปจากโรงครัว
การจดห้องเรียนและอาคารเฉพาะกิจ (ต่อ)
โรงครัว (ต่อ)
• ที่เก็บอาหาร ตู้เก็บอาหาร ควรโปร่งและป้ องกันแมลงได้ หรือมีตู้แช่เย็น
โดยเฉพาะ สาหรับเก็บอาหารสด และอาหารที่เสียง่าย
• ภาชนะใส่อาหาร และเครื่องครัว ควรล้างด้วยผงซักฟอก และน้าสะอาด 2-3
ครั้ง แล้วผึ่งให้แห้งเองบนตะแกรงสูงเหนือเข่า โดยไม่ต้องใช้ผ้าเช็ดซ้า
การจดห้องเรียนและอาคารเฉพาะกิจ (ต่อ)
โรงครัว (ต่อ)
• ถังรองรับมูลฝอย และเศษอาหาร ควรมีความคงทน แข็งแรง มีฝาปิดมิดชิด
ง่ายต่อการทาความสะอาด ขนาดกะทัดรัด มีขารองตั้ง
• น้าที่ใช้ในการประกอบอาหาร และน้าใช้ในการล้างสิ่งต่างๆ ควรเป็นน้าสะอาด
ถ้าเป็นน้าฝนหรือน้าประปาได้ จะปลอดภัยมากขึ้น
• ควรมีรางระบายน้าทิ้ง มีบ่อดักไขมัน บ่อเกราะ บ่อซึม เพื่อกาจัดน้าเสีย
5. น้าดื่ม น้าใช้
น้าดื่ม น้าใช้
โรงเรียนควรจัดให้มีน้าสะอาดไว้สาหรับดื่มและใช้ให้พอเพียงด้วย โดย
คานวณน้าดื่มได้ประมาณ 5 ลิตร/คน/วัน ส่วนน้าใช้ ประมาณ 10 ลิตร/
คน/วัน แหล่งน้าที่สามารถจัดหามาได้มี 3 ทางเลือก คือ
น้าประปา
น้าฝนที่สะอาด
และน้าจากบ่อที่ถูกสุขลักษณะ
น้าดื่ม น้าใช้ (ต่อ)
• น้าประปา เป็ นน้าที่ผ่านการกรองและฆ่าเชื้อโรคแล้ว จึงเป็ นน้าที่
ปลอดภัยอาจได้แหล่งน้าดิบมาจากน้าผิวดินหรือน้าใต้ดินอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือใช้จาก
ทั้งสองแหล่ง ขึ้นกับความต้องการปริมาณน้าให้พอเพียง
น้าดื่ม น้าใช้ (ต่อ)
• น้าฝน เป็ นน้าสะอาดที่สุด ที่ได้จากธรรมชาติ แต่ต้องมีภาชนะรองรบ
เก็บกักไว้อาจเป็นถังเก็บน้าฝน ตุ่มน้า หรือภาชนะอื่นใดก็ตาม แต่ควรมีขนาดใหญ่หรือมี
ความจุที่เพียงพอที่จะเก็บน้าฝนไว้ดื่มไว้ใช้ได้ตลอดปี หรืออย่างน้อยต้องสามารถใช้
ต่อไปได้อีกตลอด 8 เดือน หลังจากหมดฝนไปแล้ว และเพื่อความมั่นใจในความสะอาด
ของน้า ควรล้างทาความสะอาดภาชนะที่เก็บกักน้าฝน อย่างน้อยปีละครั้ง และก่อน
รองรับน้าฝนใหม่ ควรปล่อยให้น้าฝนได้ชะล้างสิ่งสกปรกบนหลังคาให้สะอาดเสียก่อน
หากโรงเรียนมีหลายทางเลือก ควรแยกน้าฝนไว้ใช้ดื่ม และน้าประปาหรือน้าจากบ่อ
เอาไว้เป็นน้าใช้
น้าดื่ม น้าใช้ (ต่อ)
• น้าบ่อหรือน้าใต้ดิน เป็นน้าฝนที่ตกลงบนดินแล้วซึมลงไปเป็นน้าใต้
ดิน น้าบ่อลึกหรือน้าบาดาลเป็นน้าที่มีความสะอาดพอ แต่ควรจะลึกเกินกว่า 3 เมตร
ตั้งอยู่ห่างจากแหล่งโสโครกไม่น้อยกว่า 30 เมตร เพื่อให้ถูกสุขลักษณะ ควรทาเป็นบ่อ
คอนกรีต ขอบบ่อสูงจากระดับพื้นดินไม่น้อยกว่า 50 เซนติเมตร เทลานซีเมนต์รอบ
ปากบ่อ โดยมีขอบลาน ไม่น้อยกว่า 1 เมตร ปากบ่อมีฝาปิดครอบ ติดตั้งเครื่องสูบน้า
หรือติดคันสูบมือโยก
ประเภทโรงเรียน อ่างน้าพุสาหรับดื่ม อ่างล้างมือ
จานวน ความสูง (ซม.) จานวน ความสูง (ซม.)
นักเรียนอนุบาล 1 ที่ /75 คน 55 1 ที่ /50 คน 50
ประถมศึกษา
- ตอนต้น
- ตอนปลาย
1 ที่ /75 คน
1 ที่ /75 คน
60
75
1 ที่ /50 คน
1 ที่ /50 คน
50
60
มัธยมศึกษา *
- ตอนต้น
- ตอนปลาย
1 ที่ /75 คน
1 ที่ /75 คน
90
100
1 ที่ /50 คน
1 ที่ /50 คน
75
90
จานวนและระดับความสูงที่เหมาะสมของอ่างน้าพุและอ่างล้างมือ แยกตามระดับชั้นเรียน
น้าดื่ม น้าใช้ (ต่อ)
หมายเหตุ * เฉพาะนักเรียนมัธยมชาย ควรจัดให้มีจานวนอ่างน้าพุ 1 ที่ /50 คน และอ่างล้างมือ 1 ที่ /30 คน
6. ส้วมและที่ปสสาวะ
ส้วมและที่ปัสสาวะ
ส้วม
• อยู่ห่างจากโรงครัว โรงอาหาร ไม่น้อยกว่า 30 เมตร
• พื้นที่อย่างน้อย 0.9 ตารางเมตร / 1 ที่
• กว้างอย่างน้อย 0.9 เมตร / 1 ที่
• หัวส้วมและพื้นทาด้วยวัสดุแข็งแรง ทนทาน ทาความสะอาดง่าย
• เป็นส้วมราดน้าและมีน้าราดพอเพียง
• มีช่องระบายอากาศ อย่างน้อย 10 % ของพื้นที่ส้วม
• มีแสงสว่างอย่างน้อย 50 ลักซ์
• ควรแยกห้องส้วมชายหญิงออกจากกัน
ส้วมและที่ปัสสาวะ (ต่อ)
ที่ปัสสาวะ
• เป็นโถหรือรางปัสสาวะสาหรับห้องน้าชาย มีปุ่ มกดราดน้าหรือก๊อกน้า
ไหล
• มีผนังกั้นระหว่างช่องและความกว้างแต่ละช่อง อย่างน้อย 60 cm.
• ทาด้วยวัสดุทาความสะอาดง่าย แข็งแรง คงทนไม่ดูดซึมน้า
จานวนที่เหมาะสมของส้วม และที่ปัสสาวะ
แยกตามระดับชั้นเรียนและเพศ
ประเภทโรงเรียน / เพศ ส้วม ที่ปัสสาวะ
ประถมศึกษา
- หญิง
- ชาย
1 ที่ /30 คน
1 ที่ /60 คน
-
1 ที่ /50 คน
มัธยมศึกษา
- หญิง
- ชาย
1 ที่ /50 คน
1 ที่ /90 คน
-
1 ที่ /50 คน
หมายเหตุ 1) ให้มีถังรองรับมูลฝอยที่ถูกสุขลักษณะประจาห้องส้วมหญิง 1 ที่ /1 ห้อง
2) บ่อเกรอะ ควรมีความจุอย่างน้อย 2 ลูกบาศก์เมตร / นักเรียน 50 คน และให้เพิ่มขึ้น 0.5 ลูกบาศก์เมตร /
นักเรียนที่เพิ่มขึ้น 50 คน
7. การจดการมูลฝอย การบาบดน้าเสีย
การควบคุมป้ องกนสตว์และแมลงนาโรค และ
การดูแลรกษาความสะอาดท่วไป
การจัดการมูลฝอย
• ถังรองรับมูลฝอย ควรมีอย่างน้อย 1 ที่ / ห้องและจุดที่พัก
ทางเดิน ควรมีถัง 1 ที่ / ระยะทาง 50 เมตร ลักษณะถัง มีฝาปิด ทาด้วย
วัสดุแข็งแรงทนทาน ไม่รั่วซึม ทาความสะอาดง่าย
• ที่พักมูลฝอยรวม ควรมีอย่างน้อย 1 ที่ / โรงเรียน อยู่ห่างจาก
โรงครัว 30 เมตร
การจัดการมูลฝอย (ต่อ)
• เตาเผามูลฝอย ให้เลือกใช้เตาเผามูลฝอย อัตราการเผา 1 ลูกบาศก์เมตร 1
เตา / วัน / นักเรียน 200 คน ลักษณะตามแบบของกองสุขาภิบาล
• ที่กาจัดมูลฝอยโดยวิธีหมัก ขึ้นกับความต้องการและเหมาะสมของโรงเรียน
ลักษณะตามแบบของกองสุขาภิบาล
• หากโรงเรียนตั้งอยู่ในเขตเทศบาลหรือองค์การบริหารส่วนตาบลที่
ให้บริการในการกาจัดขยะ โรงเรียนสามารถใช้บริการนั้นได้ โดยรวบรวมมูลฝอยไปไว้ที่
จุดกาหนด
การบาบัดน้าเสีย
• มีรางระบายน้าเสียที่ไม่ชารุด สะอาด ไม่อุดตัน
• มีบ่อดักไขมันรับน้าเสียจากโรงอาหาร โรงครัว
• มีบ่อเกรอะรับน้าเสียจากห้องส้วม ที่ปัสสาวะ อ่างล้างมือ
• มีการบาบัดน้าเสียด้วยระบบท่อซึม หลุมซึมหรือระบบบ่อซึม
(tile field) สาหรับโรงเรียนในชนบทส่วนโรงเรียนในเขตเทศบาลควรระบายน้า
เสียลงสู่ท่อระบายน้าสาธารณะ
การควบคุมป้ องกันสัตว์ และแมลงนาโรค
• กาจัดมูลฝอยทุกวัน เพื่อไม่ให้เหลือตกค้างเป็นแหล่งเพาะพันธุ์
สัตว์และแมลงนาโรค
• มีถังรองรับมูลฝอยและที่พักมูลฝอยรวมที่ถูกสุขลักษณะ
• โรงอาหาร โรงครัวมีการจัดเก็บและปกปิดอาหารที่ถูกต้องตาม
หลักสุขาภิบาลอาหาร
• มีการจัดระบบบาบัดน้าเสียที่ดี
L/O/G/O
Thank You!
สะบายดี
วิเคราะห์ปัญหา
• 1 ขยะ
• 2 สิ่งแวดล้อมทั่วไป
• 3 โรงอาหาร โรงครัว
• 4 ห้องน้า
การแก้ปัญหา
• 1 แก้ด้วยเงิน ทรัพยากรที่เพิ่มเข้ามา
• 2 แก้เชิงระบบ กระบวนการ วิธีการ
• 3 แก้ด้วยคน จิตสานึก ความรับผิดชอบ
• ***หาสาเหตุต้นตอจริงๆ ของปัญหาให้เจอ
แล้วเราจะแก้ปัญหาที่แท้จริงได้

More Related Content

What's hot

โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560Aphisit Aunbusdumberdor
 
คู่มือ ลดพุง ลดโรค ฉบับประชาชน
คู่มือ ลดพุง ลดโรค ฉบับประชาชนคู่มือ ลดพุง ลดโรค ฉบับประชาชน
คู่มือ ลดพุง ลดโรค ฉบับประชาชนUtai Sukviwatsirikul
 
Ppt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPpt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPrachaya Sriswang
 
เอกสารประกอบการสอนงานประดิษฐ์ดอกไม้
เอกสารประกอบการสอนงานประดิษฐ์ดอกไม้เอกสารประกอบการสอนงานประดิษฐ์ดอกไม้
เอกสารประกอบการสอนงานประดิษฐ์ดอกไม้Ploykarn Lamdual
 
คู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตคู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตsivapong klongpanich
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)Guntima NaLove
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)pueniiz
 
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูงคู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูงUtai Sukviwatsirikul
 
การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการ
การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการ
การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการVorawut Wongumpornpinit
 
อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการพัน พัน
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจtechno UCH
 
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...Dr.Suradet Chawadet
 
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)Aom S
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตUtai Sukviwatsirikul
 
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัยตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัยrubtumproject.com
 
ตัวอย่างคำกล่าวรายงาน
ตัวอย่างคำกล่าวรายงานตัวอย่างคำกล่าวรายงาน
ตัวอย่างคำกล่าวรายงานJitiya Purksametanan
 

What's hot (20)

โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560
 
ภาวะซีด
ภาวะซีดภาวะซีด
ภาวะซีด
 
คู่มือนักโภชนาการ
คู่มือนักโภชนาการคู่มือนักโภชนาการ
คู่มือนักโภชนาการ
 
คู่มือ ลดพุง ลดโรค ฉบับประชาชน
คู่มือ ลดพุง ลดโรค ฉบับประชาชนคู่มือ ลดพุง ลดโรค ฉบับประชาชน
คู่มือ ลดพุง ลดโรค ฉบับประชาชน
 
Ppt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPpt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใส
 
เอกสารประกอบการสอนงานประดิษฐ์ดอกไม้
เอกสารประกอบการสอนงานประดิษฐ์ดอกไม้เอกสารประกอบการสอนงานประดิษฐ์ดอกไม้
เอกสารประกอบการสอนงานประดิษฐ์ดอกไม้
 
คู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตคู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสต
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)
 
สารบัญ.
สารบัญ.สารบัญ.
สารบัญ.
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
 
Ppt.เพศ
Ppt.เพศPpt.เพศ
Ppt.เพศ
 
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูงคู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
 
การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการ
การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการ
การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการ
 
อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการ
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
 
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
 
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
 
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัยตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
 
ตัวอย่างคำกล่าวรายงาน
ตัวอย่างคำกล่าวรายงานตัวอย่างคำกล่าวรายงาน
ตัวอย่างคำกล่าวรายงาน
 

Similar to มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน

การจัดสภาพแวดล้อม
การจัดสภาพแวดล้อมการจัดสภาพแวดล้อม
การจัดสภาพแวดล้อมJit Khasana
 
9789740336006
97897403360069789740336006
9789740336006CUPress
 
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้องPochchara Tiamwong
 
ตัวอย่างบทคัดย่อวิทยานิพนธ์
ตัวอย่างบทคัดย่อวิทยานิพนธ์ตัวอย่างบทคัดย่อวิทยานิพนธ์
ตัวอย่างบทคัดย่อวิทยานิพนธ์joyzazaz
 
จุดเน้นที่ 4 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 4 ภาค1 ปี55จุดเน้นที่ 4 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 4 ภาค1 ปี55tassanee chaicharoen
 
การพัฒนารูปแบบการส่งเสริมความร่วมมือในการจัดการศึกษาภาคปฏิบัติในชุมชน
การพัฒนารูปแบบการส่งเสริมความร่วมมือในการจัดการศึกษาภาคปฏิบัติในชุมชนการพัฒนารูปแบบการส่งเสริมความร่วมมือในการจัดการศึกษาภาคปฏิบัติในชุมชน
การพัฒนารูปแบบการส่งเสริมความร่วมมือในการจัดการศึกษาภาคปฏิบัติในชุมชนYumisnow Manoratch
 
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาแผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาtassanee chaicharoen
 
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนNatmol Thedsanabun
 
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนNatmol Thedsanabun
 
R บทที่ 1
R บทที่  1R บทที่  1
R บทที่ 1khuwawa
 
ประวัติมนตรี
ประวัติมนตรีประวัติมนตรี
ประวัติมนตรีMontree Jareeyanuwat
 
แผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เพศศึกษาแผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เพศศึกษาtassanee chaicharoen
 
ภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำruathai
 
ความรู้ด้านเทคนิควิธีสอน
ความรู้ด้านเทคนิควิธีสอนความรู้ด้านเทคนิควิธีสอน
ความรู้ด้านเทคนิควิธีสอนMonthon Sorakraikitikul
 
Panpattana
PanpattanaPanpattana
Panpattanasakeenan
 

Similar to มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน (20)

การจัดสภาพแวดล้อม
การจัดสภาพแวดล้อมการจัดสภาพแวดล้อม
การจัดสภาพแวดล้อม
 
9789740336006
97897403360069789740336006
9789740336006
 
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
 
ส่วนที่ 1
ส่วนที่ 1ส่วนที่ 1
ส่วนที่ 1
 
ตัวอย่างบทคัดย่อวิทยานิพนธ์
ตัวอย่างบทคัดย่อวิทยานิพนธ์ตัวอย่างบทคัดย่อวิทยานิพนธ์
ตัวอย่างบทคัดย่อวิทยานิพนธ์
 
นำเสนองานโรงเรียนดี
นำเสนองานโรงเรียนดี นำเสนองานโรงเรียนดี
นำเสนองานโรงเรียนดี
 
จุดเน้นที่ 4 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 4 ภาค1 ปี55จุดเน้นที่ 4 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 4 ภาค1 ปี55
 
การพัฒนารูปแบบการส่งเสริมความร่วมมือในการจัดการศึกษาภาคปฏิบัติในชุมชน
การพัฒนารูปแบบการส่งเสริมความร่วมมือในการจัดการศึกษาภาคปฏิบัติในชุมชนการพัฒนารูปแบบการส่งเสริมความร่วมมือในการจัดการศึกษาภาคปฏิบัติในชุมชน
การพัฒนารูปแบบการส่งเสริมความร่วมมือในการจัดการศึกษาภาคปฏิบัติในชุมชน
 
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาแผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
 
จุดเน้นที่ 4
จุดเน้นที่ 4จุดเน้นที่ 4
จุดเน้นที่ 4
 
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
R บทที่ 1
R บทที่  1R บทที่  1
R บทที่ 1
 
ประวัติมนตรี
ประวัติมนตรีประวัติมนตรี
ประวัติมนตรี
 
5บทที่1
5บทที่1 5บทที่1
5บทที่1
 
แผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เพศศึกษาแผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เพศศึกษา
 
ภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำ
 
ความรู้ด้านเทคนิควิธีสอน
ความรู้ด้านเทคนิควิธีสอนความรู้ด้านเทคนิควิธีสอน
ความรู้ด้านเทคนิควิธีสอน
 
Panpattana
PanpattanaPanpattana
Panpattana
 
01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word
 

มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน