SlideShare a Scribd company logo
1 of 21
Download to read offline
ระบำโบรำณคดี
ระบำโบรำณคดี
เพลงระบำโบรำณคดีเกิดจำกแนวคิดของนำยธนิต อยู่โพธิ์ อดีตอธิบดีกรมศิลปำกร ซึ่งได้พบ
ภำพเขียน ภำพปั้น และภำพจำหลักตำมโบรำณสถำน และโบรำณวัตถุสมัยต่ำงๆ ทั้งที่พบในประเทศ
ไทย และประเทศใกล้เคียง จึงได้นำมำประกอบแนวคิดประดิษฐ์สร้ำงเครื่องดนตรี และท่ำนำฏศิลป์
แต่ละสมัยขึ้น เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๑๐ โดยขอให้นำยมนตรี ตรำโมท ผู้เชี่ยวชำญดนตรีไทย และศิลปิน
แห่งชำติ แต่งทำนองขึ้นตำมแนวคิดนั้น โดยมอบให้นำงลมุล ยมะคุปต์นำงเฉลย ศุขะวณิชและท่ำน
ผู้หญิงแผ้ว สนิทวงศ์เสนี ผู้เชี่ยวชำญกำรสอนนำฏศิลป์ไทย และศิลปินแห่งชำติ เป็นผู้ประดิษฐ์ท่ำรำ
ระบำโบรำณคดี 5 ชุดโดยประกอบไปด้วย
๑.ระบำทวำรำวดี
๒.ระบำศรีวิชัย
๓.ระบำลพบุรี
๔.ระบำเชียงแสน
๕.ระบำสุโขทัย
๖.ระบำศรีชัยสิงห์
ระบำทวำรวดี
ระบำทวำรวดี เป็นระบำชุดที่ ๑ ในระบำโบรำณคดีที่เกิดขึ้นจำกแนวควำมคิดของนำยธนิตอยู่โพธิ์ (อดีตอธิบดีกรม
ศิลปำกร) ซึ่งต้องกำรศึกษำ และเรียนรู้เรื่องเครื่องแต่งกำยของมนุษย์ เพื่อประโยชน์แก่วิชำประวัตศำสตร์ และ
โบรำณคดี โดยทูลขอร้องให้หม่อมเจ้ำยำใจ จิตรพงศ์ ซึ่งขณะนั้นดำรงตำแหน่งสถำปนิกพิเศษของกรมศิลปำกร ทำง
ศึกษำแบบอย่ำง และเขียนเลียนแบบเครื่องแต่งกำรสมัยทวำรวดีบำงรูป โดยในครั้งแรกคิดจะจัดสร้ำงเครื่องแต่งกำยตำมสมัย
โบรำณคดี ถวำยทอดพระเนตรในงำนเสด็จพระรำชดำเนินทรงเปิดกำรแสดงศิลปะโบรำณวัตถุในอำคำร สร้ำงใหม่ ใน
พิพิธภัณฑสถำนแห่งชำติ พระนคร แต่หลังจำกได้ภำพตำมต้องกำรแล้ว จึงเปลี่ยนแนวควำมคิดใหม่ในกำรจัดแสดงระบำ
โบรำณคดีชุดต่ำง ๆ ถวำยพระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระนำงเจ้ำสิริกิติ์ พระบรมรำชินีนำถ
ทอดพระเนตรแทนกำรจัดแสดงเครื่องแต่งกำย
ระบำนี้ประดิษฐ์ขึ้นจำกกำรนค้นคว้ำหลักฐำนทำงโบรำณคำดีสมัยทวำรวดี ท่ำรำและ เครื่องแต่งกำยได้แนวคิดจำก
ภำพสลัก ภำพปั้นที่ขุดค้นพบ ณ โบรำณสถำนที่ตำบลคูบัว อำเภอ อู่ทอง จังหวัดนครปฐมและที่ตำบลโคกไม้เดน จังหวัด
นครสวรรค์ ฯลฯ นักโบรำณคดี สันนิฐำนว่ำชำวทวำรวดีเป็นต้นเชื้อสำยพวกมอญ ดังนั้นลีลำท่ำรำ รวมทั้งเนียงทำนองเพลง จึง
เป็นแบบมอญ ท่ำรำบำงท่ำได้ควำมคิดมำจำกภำพสลัก และภำพปูนปั้นที่ค้นพบโบรำณสถำนที่สำคัญ
กำรแต่งกำย
เครื่องแต่งกำยชุดระบำทวำรวดี ได้แบบอย่ำงมำจำกภำพปูนปั้น ที่ค้นพบตำมสถำนที่
สำคัญต่ำงๆ สมัยทวำรวดี และได้นำมำประดิษฐ์ให้เหมำะสมกับกำรแสดง ซึ่งมีดังนี้
๑. ผมเกล้ำสูงกลำงศีรษะในลักษณะคล้ำยลูกจันแบน สวมเกี้ยวรัดผม
๒. สวมกระบังหน้ำ
๓. สวมต่ำงหูเป็นห่วงกลมใหญ่
๔. สวมเสื้อในสีเนื้อ ( แทนกำรเปลือยอกตำมภำพปั้น )
๕. นุ่งผ้ำลักษณะคล้ำยจีบหน้ำนำงสีน้ำตำลแถวหนึ่ง
และสีเหลืองอ่อนแถวหนึ่ง มีตำลสีทองตกแต่งเป็นลำย
พำดขวำงลำตัว
๖. ห่มสไบเฉียง ปล่อยชำยไว้ด้ำนหน้ำ และด้ำนหลัง
๗. สวมกำไลข้อมือ ต้นแขนโลหะ และแผงข้อเท้ำผ้ำติดลูกกระพรวน
๘. สวมจี้นำง
๙. คำดเข็มขัดผ้ำตำดเงิน หรือเข็มขัดโลหะ
เครื่องดนตรีที่ใช้ประกอบกำรแสดงมีดังนี้
๑.พิณ ๕ สำย ๒.จะเข้ ๓.ระนำดตัด
๔.ตะโพนมอญ ๕.ฉิ่ง ๖.ฉำบ ๗.กรับ
ระบำศรีวิชัย
ระบำศรีวิชัยเป็นระบำโบรำณคดี เกิดขึ้นเมื่อกลำงปี พ.ศ. ๒๕๐๙ โดยได้รับแจ้งจำกคุณประสงค์ บุญเจิม
เอกอัครรำชทูตไทย ประจำกรุงกัวลำลัมเปอร์ ประเทศมำเลเซีย ว่ำท่ำนตนกู อับดุลรำห์มำน นำยกรัฐมนตรีแห่งมำเลเซีย
ต้องกำรจะได้นำฏศิลป์จำกประเทศไทยไปถ่ำยทำเป็นภำพยนตร์เรื่อง Raja Bersiyong ซึ่งเป็นเรื่องรำวเกี่ยวกับอำณำจักรศรี
วิชัยที่ท่ำนตนกูแต่งขึ้น จึงขอให้กรมศิลปำกรจัดระบำให้ ๒ ชุด คือ รำซัดชำตรี และระบำศรีวิชัย สำหรับระบำศรีวิชัยเป็น
กำรศึกษำค้นคว้ำขึ้นใหม่ โดยควำมคิดริเริ่มของนำยธนิต อยู่โพธิ์ อดีตอธิบดีกรมศิลปำกร
เมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๐ มีนำงลมุล ยมะคุปต์ ผู้เชี่ยวชำญกำรสอนนำฏศิลป์ วิทยำลัยนำฏศิลป์ กรมศิลปำกร และนำงเฉลย
ศุขะวนิช ผู้เชี่ยวชำญกำรสอนนำฏศิลป์ วิทยำลัยนำฏศิลป์ กรมศิลปำกร และศิลปินแห่งชำติ เป็นผู้ประดิษฐ์ท่ำรำ โดยอำศัย
ท่ำทำงของนำฏศิลป์ชวำมำผสมผสำนเข้ำด้วยกัน และมีนำยมนตรี ตรำโมท ผู้เชี่ยวชำญด้ำนดุริยำงค์ไทย กรมศิลปำกรและ
ศิลปินแห่งชำติ เป็นผู้ประดิษฐ์ทำนองเพลง
โดยหำแบบอย่ำงเครื่องดนตรี เช่น เครื่องดีด เครื่องสี เครื่องตี เครื่องเป่ำ จำกภำพจำหลักที่พระสถูปบุโรพุทโธ ใน
เกำะชวำ และ เลือกเครื่องดนตรีของไทยที่มีลักษณะใกล้เคียงกันบ้ำง นำมำผสมปรับปรุงเล่นเพลงประกอบจังหวะระบำขึ้น มี
นำยสนิท ดิษฐ์พันธ์ เป็นผู้ออกแบบเครื่องแต่งกำย ตำมหลักฐำนศิลปกรรมภำพจำหลักที่พระสถูปบุโรพุทโธ ในเกำะชวำ
ท่ำรำระบำศรีวิชัยประดิษฐ์ขึ้นจำกภำพจำหลักและภำพปูนปั้นสมัยศรีวิชัย ประสมกับท่ำรำชวำและบำหลี สอดแทรก
ลีลำทำงนำฏศิลป์ ลักษณะรำบำงท่ำคล้ำยท่ำรำของชวำ และบำหลี เช่น กำรตั้งวงกันศอก ออกเป็นวงโค้ง กำรทำมือ กำรใช้คอ
ยักคอเหมือนนำฏศิลป์ชวำและบำหลี กำรตั้งท่ำนิ่ง ท่ำบิดสะโพกคล้ำยท่ำรำของบำหลี
กำรแต่งกำย
๑.เสื้อในนำง
๒.ผ้ำนุ่ง เป็นผ้ำโสร่งบำติค เย็บเป็นจีบหน้ำนำงเล็กๆ อยู่ตรงกลำงด้ำนหน้ำ ไม่มีชำยพก
๓.ผ้ำคำดรอบสะโพก ใช้ผ้ำแพรเนื้อบำง มี ๒ สี คือ สีเขียว และสีแดง
๔.เข็มขัด ทำด้วยโลหะชุบทอง ลำยโปร่งเป็นข้อๆต่อกัน หัวเข็มขัดทำด้วยหนังลงรักปิดทอง
ประดับพลอยสี
๕.ต่ำงหู เป็นต่ำงหูแบบห้อย ตรงส่วนแป้นหูทำด้วยหนังลงรักปิดทอง ประดับด้วยพลอยสี
๖.สร้อยคอ เป็นห่วงๆ ต่อกัน ประดับด้วยพลอยสีแดงและสีเขียว
๗.สร้อยสะโพก เป็นห่วงๆ ต่อกัน ทำด้วยหนังลงรักปิดทอง ประดับด้วยพลอยสีเขียวหรือสีแดง
๘.กำไลต้นแขน มีลักษณะโปร่งตรงกลำง ด้ำนหน้ำของกำไลเป็นรูปกลมเรียงสูงขึ้นไป ๓ ชั้น
๙.กำไลมือ มีลักษณะกลม ประดับด้วยพลอยสีขำว
๑๐.กำไลข้อเท้ำ ลักษณะกลมแต่ด้ำนในทึบ ตัวกำไลสลับลวดลำยทำด้วยหนังลงรักปิดทอง ประดับพลอย
๑๑.โบ โบเส้นเล็กๆ สำหรับสอดใต้เข็มขัด
๑๒.ผ้ำสไบ มีแผ่นโค้งเหนือไหล่ตอดสร้อยตัว ๒ เส้น ประกอบด้วยผ้ำแพรบำง ควำมยำวเท่ำกับสร้อย ชำย ผ้ำและสร้อยตัวทั้งสองข้ำงติดอยู่กับ
เครื่องประดับสีทอง ที่ใช้คล้องไว้บนไหล่เครื่องประดับนี้ ทำด้วยหนังลงรักปิดทอง ประดับด้วยพลอยสีเขียว สีแดง ส่วนสร้อยตัวเป็นโซ่ห่วง
ทองเล็กๆ ต่อให้ติดกัน ทำด้วยโลหะชุบทอง
๑๓.กะบังหน้ำ มีลักษณะคล้ำยกะบังหน้ำธรรมดำ ตรงกลำงด้ำนหน้ำเป็นรูปกลมและต่อยอดกลมให้แหลมถึงตรงปลำย ประดับด้วยพลอยสีขำว
๑๔.ปิ่นปักผม ตรงโคนที่ใช้ปักผมนั้นเรียวแหลม ส่วนตอนปลำยกลึงจนมีลักษณะกลม ประดิษฐ์ขึ้นด้วยไม้
เครื่องดนตรีที่ใช้ประกอบกำรแสดงมีดังนี้
๑.พิณ ๔ สำย ๒.ซอสำมสำย ๓.ตะโพน ๔.กลองแขก
๕.ฆ้อง ๓ ลูก ๖.ฉิ่ง ๗.กรับ ๘.ฉำบ๙.ขลุ่ย
ระบำลพบุรี
ระบำลพบุรี เป็นระบำชุดที่ ๓ ในระบำโบรำณคดีที่เกิดขึ้นจำกแนวควำมคิดของนำยธนิต อยู่โพธิ์ (อดีต
อธิบดีกรมศิลปำกร) เช่นเดียวกับระบำทวำรวดี อยู่ในระหว่ำงพุทธศตวรรษที่ ๑๖ – ๑๙ ประดิษฐ์ขึ้น โดยอำศัย
หลักฐำนจำกโบรำณวัตถุ และภำพจำหลักตำมโบรำณสถำน ซึ่งสร้ำงขึ้นตำมแบบศิลปะของขอม ที่อยู่ในประเทศ
กัมพูชำ และประเทศไทย อำทิ พระปรำงค์สำมยอดในจังหวัดลพบุรี ทับหลังประตูระเบียงตะวันตกของปรำสำท
หินพิมำยในจังหวัดนครรำชสีมำ ปรำสำทหินพนมรุ้งในจังหวัดบุรีรัมย์ เป็นต้น กำรแต่งทำนองเพลง กระบวนท่ำรำ
และเครื่องแต่งกำย จึงมัลักษณะคล้ำยเขมรเป็นส่วนใหญ่ ระบำลพบุรีแสดงครั้งแรกเพื่อถวำยพระบำทสมเด็จพระ
เจ้ำอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระนำงเจ้ำสิริกิติ์ พระบรมรำชินีนำถ ทอดพระเนตรในงำนเสด็จพระรำช
ดำเนินทำงเปิดกำรแสดงศิลปะโบรำณวัตถุในอำคำรสร้ำงใหม่ในพิพิธภัณฑสถำนแห่งชำติ พระนคร เมื่อวันที่ ๒๕
พฤษภำคม พ.ศ.๒๕๑๐ และภำยหลังได้นำออกแสดงในโรงละครแห่งชำติและที่อื่น ๆ เพื่อให้ประชำชนชม
นำยมนตรี ตรำโมท ผู้เชี่ยวชำญดุริยำงค์ไทย กรมศิลปำกร ศิลปินแห่งชำติ สำขำศิลปะกำรแสดง (ดนตรี
ไทย) ปีพุทธศักรำช ๒๕๒๘ เป็นผู้แต่งทำนองเพลง โดยมีสำเนียงออกไปทำงเขมร
นำงลมุล ยมะคุปต์ ผู้เชี่ยวชำญกำรสอนนำฏศิลป์ไทย วิทยำลัยนำฏศิลป กรมศิลปำกร และนำงเฉลย ศุขะ
วณิช ผู้เชี่ยวชำญกำรสอนนำฏศิลป์ไทย วิทยำลัยนำฏศิลป กรมศิลปำกร ศิลปินแห่งชำติ สำขำศิลปะกำรแสดง
(นำฏศิลป์) ปีพุทธศักรำช ๒๕๓๐ เป็นผู้ประดิษฐ์ท่ำรำ
นำยสนิท ดิษฐพันธ์ ออกแบบเครื่องแต่งกำย นำงชนำนันท์ ช่ำงเรียน สร้ำงเครื่องแต่งกำย นำยชิต แก้วดวง
ใหญ่ สร้ำงศิรำภรณ์ และเครื่องประดับ
เครื่องแต่งกำย
๑.เสื้อ ใช้ผ้ำยืดสีเนื้อ คอกลม แขนสั้นเหนือศอก ติดแถบสีทองโอบรอบคอตลอด หว่ำงอกและรอบเอว ตัวเอกปักดิ้น
เป็นลำยดอกประจำยำมหนึ่งดอกตรงระหว่ำงอก
๒.ผ้ำนุ่ง เย็บสำเร็จแบบซ้อนหน้ำ ชำยล่ำงโค้งมน ยำวคลุมเข่ำ ปักดิ้นลำย ประจำยำม
๓.ระปรำย มีผ้ำตำลสีทองทำบชำยกระโปรง ตัวเอกนุ่งผ้ำสีส้มแสด หมู่ระบำสีฟ้ำอมม่วง
๔.ผ้ำคลุมสะโพก สีม่วงอ่อน ชำยแหลมมนแยกเป็น ๒ ชิ้น หมู่ระบำริมผ้ำทำบ ด้วยผ้ำตำดสีทองตัวเอกทำบริมด้วยผ้ำ
ตำลสีเงิน
๕.ศีรษะของระบำชุดนี้ ประกอบด้วย
- กระบังหน้ำ หมู่ระบำใช้กระบังหน้ำประดับดอกไม้ไหว ตัวเอกกระบังหน้ำรูปดอกดำวกระจำย ๖ ดอก
- เกี้ยว
- พู่ไหมแซมเงิน
- ที่ครอบผม
๖.รัดต้นแขน ประดับกระจกสีต่ำง ๆ
๗.สร้อยคอ ประดับด้วยแก้ว หรือพลอย
๘.เข็มขัด
๙.กำไลข้อมือ ประดับด้วยแก้วหรือพลอย
๑๐.กำไลข้อเท้ำ ประดับกระจกต่ำง ๆ
เครื่องดนตรีที่ใช้ประกอบกำรแสดงมีดังนี้
๑.ซอสำมสำย ๒.พิณน้ำเต้ำ ๓.ปี่ใน ๔.กระจับปี่ ๑ ๕.กระจับปี่๒
๖.โทน ๒ ลูก ๗.ฉิ่ง ๘.ฉำบ ๙.กรับคู่ ๑ ๑๐.กรับคู่ ๒
ระบำเชียงแสน
ระบำเชียงแสน เป็นระบำชุดที่ ๔ ประดิษฐ์ขึ้นตำมแบบศิลปะ และโบรำณวัตถุสถำนเชียงแสน นักโบรำณคดี
กำหนดสมัยเชียงแสน อยู่ในระหว่ำงพุทธศตวรรษที่ ๑๗ – ๒๕ ซึ่งได้เผยแพร่ไปทั่วดินแดนภำคเหนือของประเทศไทย
ในสมัยโบรำณเรียกว่ำอำณำจักรลำนนำ ต่อมำมีนครเชียงใหม่เป็นนครหลวงของอำณำจักร และเป็นศูนย์กลำงแห่ง
กำรศึกษำพระพุทธศำสนำฝ่ำยหินยำนอันเจริญรุ่งเรือง จนถึงมีพระเถระไทยผู้เป็นนักปรำชญ์สำมำรถแต่งตำนำน และ
คัมภีร์พระพุทธศำสนำเป็นภำษำบำลีขึ้นไว้หลำยคัมภีร์ อำทิ คัมภีร์ชินกำลมำลีปกรณ์ และมังคลัตถทีปนี เป็นต้น ศิลปะ
แบบเชียงแสนได้แพร่หลำยลงมำตำมลุ่มแม่น้ำโขงเข้ำไปในพระรำชอำณำจักรลำว สมัยที่เรียกว่ำลำนช้ำง หรือกรุงศรี
สัตนำคนหุต แล้วแพร่หลำยเข้ำในประเทศไทยทำงภำคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนด้วย เช่น พระพุทธรูปบำงชนิดที่
นักโบรำณคดีบำงท่ำน บัญญัติเรียกว่ำ พระพุทธรูปเชียงแสนแบบลำว หรือพระลำวพุงขำว ด้วยเหตุนี้ระบำเชียงแสน
จึงมีลีลำท่ำรำ และกระบวนเพลงแบบสำเนียงไทยภำคเหนือ ลำว และแบบไทยภำตะวันออกเฉียงเหนือปนอยู่ด้วย
ระบำเชียงแสน จัดแสดงครั้งแรก เมื่อวันที่ ๒๔ พฤษภำคม พ.ศ.๒๕๑๐ และภำยหลังได้นำออกแสดงในโรงละคร
แห่งชำติ และที่อื่น ๆ เพื่อให้ประชำชนชม
นำยมนตรี ตรำโมท ผู้เชี่ยวชำญดุริยำงค์ไทย กรมศิลปำกร ศิลปินแห่งชำติ สำขำศิลปะกำรแสดง (ดนตรีไทย)
ปีพุทธศักรำช ๒๕๒๘ เป็นผู้แต่งทำนองเพลง
นำงลมุล ยมะคุปต์ ผู้เชี่ยวชำญกำรสอนนำฏศิลป์ไทย วิทยำลัยนำฏศิลป กรมศิลปำกร
และนำงเฉลย ศุขะวณิช ผู้เชี่ยวชำญกำรสอนนำฏศิลป์ไทย วิทยำลัยนำฏศิลป กรมศิลปำกร ศิลปินแห่งชำติ สำขำ
ศิลปะกำรแสดง (นำฏศิลป์) ปีพุทธศักรำช ๒๕๓๐ เป็นผู้ประดิษฐ์ท่ำรำ
นำยสนิท ดิษฐพันธ์ ออกแบบเครื่องแต่งกำย นำงชนำนันท์ ช่ำงเรียน สร้ำงเครื่องแต่งกำย นำยชิต แก้วดวง
ใหญ่ สร้ำงศิรำภรณ์ และเครื่องประดับ
เครื่องแต่งกำย
๑.เสื้อรัดอกสีเนื้อ
๒. เสื้อลูกไม้สีเหลือง ติดริมด้วยแถบผ้ำตำดสีทอง
๓. ซิ่นเชิงแบบป้ำยข้ำงแถวหนึ่งสีแดง อีกแถวหนึ่งสีตอง
๔. เครื่องประดับประกอบด้วยเข็มขัดมีเชือกห้อยทิ้งชำยพู่ลงมำด้ำนหน้ำทั้งสองข้ำง สร้อยคอ ต่ำงหู
กำไลข้อมือ และกำไลข้อเท้ำ
๕. แต่งทรงผมตั้งกระบังหน้ำประดับขดโลหะสีเงิน เกล้ำผมมวย ไว้ด้ำนหลัง ติดดอกกล้วยไม้ข้ำงหู
ซ้ำย
เครื่องดนตรีที่ใช้ประกอบกำรแสดงมีดังนี้
๑.ปี่จุ่ม ๑ ๒.ปี่จุ่ม ๒ ๓.ปี่จุ่ม ๓ ๔.แคน ๕.สะล้อ
๖.ซึง ๗.ตะโพน ๘.ฉิ่ง ๙.ฉำบใหญ่ ๑๐.ฆ้องหุ่ย
ระบำสุโขทัย
ระบำสุโขทัย เป็นระบำชุดที่ ๕ อยู่ในระหว่ำงพุทธศตวรรษที่ ๑๙ - ๒๐ นับเป็นยุคสมัยที่
ชนชำติไทย เริ่มสร้ำงสรรค์ศิลปะด้ำนนำฏศิลป์ และดนตรีในเป็นสมบัติประจำชำติ โดยอำศัย
หลักฐำนอ้ำงอิงที่กล่ำวไว้ในเอกสำร และหลักศิลำจำรึก ประกอบศิลปกรรมอื่น ๆ กำรแต่ง
ทำนอง กระบวนท่ำรำ และเครื่องแต่งกำย ประดิษฐ์ขึ้นให้มีลักษณะที่อ่อนช้อยงดงำม ตำม
แบบอย่ำงของศิลปะสมัยสุโขทัย
ระบำชุดสุโขทัย จัดแสดงครั้งแรกเมื่อวันที่ ๒๕ พฤษภำคม พ.ศ.๒๕๑๐ และภำยหลังได้
นำออกแสดง ในโรงละครแห่งชำติ และที่อื่น ๆ เพื่อให้ประชำชนชม
นำยมนตรี ตรำโมท ผู้เชี่ยวชำญดุริยำงค์ไทย กรมศิลปำกร ศิลปินแห่งชำติ สำขำ
ศิลปะกำรแสดง (ดนตรีไทย) ปีพุทธศักรำช ๒๕๒๘ เป็นผู้แต่งทำนองเพลง โดยนำทำนองเพลง
เก่ำของสุโขทัยมำดัดแปลง
ท่ำนผู้หญิงแผ้ว สนิทวงศ์เสนี ผู้เชี่ยวชำญนำฏศิลป์ไทย กรมศิลปำกร ศิลปินแห่งชำติ
สำจำศิลปะกำรแสดง (นำฏศิลป์ไทย) ปีพุทธศักรำช ๒๕๒๘ เป็นผู้ประดิษฐ์ท่ำรำ
นำยสนิท ดิษฐพันธ์ ออกแบบเครื่องแต่งกำย นำงชนำนันท์ ช่ำงเรียน สร้ำงเครื่องแต่ง
กำย นำยชิต แก้วดวงใหญ่ สร้ำงศิรำภร
เครื่องแต่งกำย
๑.ศีรษะ ทรงยอดรัศมีสำหรับตัวเอก และทรงระฆังคว่ำสำหรับตัวรอง
๒.ต่ำงหู เป็นดอกกลม
๓.เสื้อในนำง สีชมพูอ่อน
๔.กรองคอ สีดำ ปักดิ้นและเลื่อม
๕.ต้นแขน ตัวรองพื้นสีดำ ปักดิ้นและเลื่อม
ตัวเอกทำด้วยหนังลงรักปิดทอง
๖.กำไลข้อมือ ตัวรองพื้นสีดำ ปักดิ้นและเลื่อม
ตัวเอกทำด้วยหนังลงรักปิดทอง
๗.ข้อเท้ำ ตัวรองพื้นสีดำ ปักดิ้นและเลื่อม ตัวเอกทำด้วยหนังลงรักปิดทอง
๘.ผ้ำรัดเอว ทำด้วยผ้ำสีดำ มีลวดลำยเป็นดอกไม้ประดับและห้อยที่ชำยเป็นรูปสี่เหลี่ยม
ขนมเปียกปูน มีริบบิ้นสีเขียวห้อยมำทั้งสองข้ำง
๙.ผ้ำนุ่ง เป็นกระโปรงบำนจีบหน้ำสีส้ม มีลูกไม้สีขำวระบำยเป็นชั้น ๆ
๑๐.ทรงผม เกล้ำผม ครอบด้วยที่รัดผม
เครื่องดนตรีที่ใช้ประกอบกำรแสดงมีดังนี้
๑.ปี่ใน ๒.ซอสำมสำย ๓.กระจับปี่ ๑ ๔.กระจับปี่ ๒ ๕.ตะโพน
๖.ฆ้องวง ๗.ฉิ่ง ๘.โหม่ง ๙.กรับคู่ ๑ ๑๐.กรับคู่ ๒
ระบำศรีชัยสิงห์
“ระบำศรีชัยสิงห์” เป็นระบำโบรำณคดีที่วิทยำลัยนำฏศิลป กรมศิลปำกร ได้
สร้ำงสรรค์ประดิษฐ์ท่ำรำขึ้นใหม่จำกจินตนำกำรศิลปกรรมภำพจำหลัก ซึ่งภำพจำหลักนี้ ได้
ลอกเลียนแบบมำจำกปรำสำทเมืองสิงห์ เป็นโบรำณสถำนที่มีอำยุรำวพุทธศตวรรษที่ ๑๘
ดัดแปลงมำจำกท่ำรำของนำงอัปสรบำยน ในสมัยขอมบำยน มำเป็นหมู่ระบำนำงอัปสร
ฟ้อนรำถวำยพระนำงปรัชญำปำรมิตำ ซึ่งเป็นพระมำรดำแห่งพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร
สำเหตุที่ตั้งชื่อว่ำศรีชัยสิงห์ คิดว่ำ น่ำจะนำมำจำก ในสมัยพระเจ้ำชัยวรมันที่ ๗
เรียกเมืองกำญจน์ ว่ำ ศรีชัยยะสิงหปุระ
ประดิษฐ์ท่ำรำโดย นำงเฉลย ศุขวนิช ผู้เชี่ยวชำญทำงด้ำนนำฏศิลป์ไทย ของ
วิทยำลัยนำฏศิลปกรมศิลปำกร กำรแต่งกำยเลียนแบบภำพจำหลักนำงอัปสร ปรำสำทเมือง
สิงห์ บรรเลงโดยเพลงเขมรชมจันทร์และเพลงเขมรเร็ว
กำรแสดงเพื่อสงเสริมแหล่งท่องเที่ยวของไทย โดยกำรแสดงชุดนี้มีที่มำจำกแหล่ง
โบรำณคดีที่จังหวัดกำญจนบุรี คือปรำสำทเมืองสิงห์
เครื่องแต่งกำย
๑.เครื่องแต่งกำยตัวเอก
- เสื้อ รัดรูปสีน้ำตำลอ่อน คอกลม แขนสั้นเหนือศอก
- ผ้ำ นุ่ง เป็นกระโปรงสำเร็จรูปแบบป้ำย ทบซ้อนหน้ำ สีเหลืองทอง ยำวคลุมเข่ำ มีลูกไม้แถบสีทอง
เดินลำยและปักเลื่อมดอกสีทองตัดเย็บด้วยผ้ำผำดไทยชนิดมีลวดลำยในตัว
๒.ศีรษะของตัวเอก ประกอบด้วย
- กะบังหน้ำ - ยี่ก่ำ - เกี้ยว
- พู่หนัง - สำแหรก - ปลียอด
- ดอกไม้ไห; - ลำยท้ำย
๓.เครื่องประดับ
- รัดต้นแขน
- สร้อยคอ ๑ เส้น
- กำไลมือ
- กำไลเท้ำ
- กรองคอ
- สังวำล ๒ เส้น (ทำด้วยหนัง ลงลำยรักปิดทอง ประดับกระจก และพลอยหลำกสี)
เครื่องดนตรีที่ใช้ประกอบกำรแสดงมีดังนี้
๑. ระนำดเอก ๒. ระนำดทุ้ม ๓. ระนำดเอกเหล็ก ๔. ระนำดทุ้มเหล็ก
๕. ฆ้องวงใหญ่ ๖. ฆ้องวงเล็ก ๗. ปี่นอก ๘. โทน ๙. ฉิ่ง
๑๐. ฉำบเล็ก ๑๑. กรับ ๑๒. โหม่ง

More Related Content

What's hot

โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์ธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)Guntima NaLove
 
โครงงานคณิตศาสตร์ (1)
โครงงานคณิตศาสตร์ (1)โครงงานคณิตศาสตร์ (1)
โครงงานคณิตศาสตร์ (1)Nomjeab Nook
 
การจัดทัพของอิเหนา
การจัดทัพของอิเหนาการจัดทัพของอิเหนา
การจัดทัพของอิเหนาenksodsoon
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมniralai
 
โครงงานศิลปะ การเชิดหนังใหญ่วัดบ้านดอน เรื่อง รามเกียรติ์ ตอน พระรามตามกวาง
โครงงานศิลปะ การเชิดหนังใหญ่วัดบ้านดอน เรื่อง รามเกียรติ์ ตอน พระรามตามกวางโครงงานศิลปะ การเชิดหนังใหญ่วัดบ้านดอน เรื่อง รามเกียรติ์ ตอน พระรามตามกวาง
โครงงานศิลปะ การเชิดหนังใหญ่วัดบ้านดอน เรื่อง รามเกียรติ์ ตอน พระรามตามกวางธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล
 
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นNattha Namm
 
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิงคำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิงWan Wan
 
โครงงานน้ำยาล้างมือ
โครงงานน้ำยาล้างมือโครงงานน้ำยาล้างมือ
โครงงานน้ำยาล้างมือkitkit1974
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานRawinnipha Joy
 
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51Krusupharat
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การประดิษฐ์ท่ารำ รำคุ่ รำหมู่
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การประดิษฐ์ท่ารำ  รำคุ่  รำหมู่เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การประดิษฐ์ท่ารำ  รำคุ่  รำหมู่
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การประดิษฐ์ท่ารำ รำคุ่ รำหมู่Panomporn Chinchana
 

What's hot (20)

โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
 
หน่วย 1
หน่วย 1หน่วย 1
หน่วย 1
 
โครงงานคณิตศาสตร์ (1)
โครงงานคณิตศาสตร์ (1)โครงงานคณิตศาสตร์ (1)
โครงงานคณิตศาสตร์ (1)
 
การจัดทัพของอิเหนา
การจัดทัพของอิเหนาการจัดทัพของอิเหนา
การจัดทัพของอิเหนา
 
คำนำ2527895555
คำนำ2527895555คำนำ2527895555
คำนำ2527895555
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
 
ศิลปะตะวันตก
ศิลปะตะวันตกศิลปะตะวันตก
ศิลปะตะวันตก
 
โครงงานศิลปะ การเชิดหนังใหญ่วัดบ้านดอน เรื่อง รามเกียรติ์ ตอน พระรามตามกวาง
โครงงานศิลปะ การเชิดหนังใหญ่วัดบ้านดอน เรื่อง รามเกียรติ์ ตอน พระรามตามกวางโครงงานศิลปะ การเชิดหนังใหญ่วัดบ้านดอน เรื่อง รามเกียรติ์ ตอน พระรามตามกวาง
โครงงานศิลปะ การเชิดหนังใหญ่วัดบ้านดอน เรื่อง รามเกียรติ์ ตอน พระรามตามกวาง
 
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิงคำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
 
โครงงาน 5 บท
โครงงาน  5 บทโครงงาน  5 บท
โครงงาน 5 บท
 
ประเภทของนาฏศิลป์
ประเภทของนาฏศิลป์ประเภทของนาฏศิลป์
ประเภทของนาฏศิลป์
 
โครงงานน้ำยาล้างมือ
โครงงานน้ำยาล้างมือโครงงานน้ำยาล้างมือ
โครงงานน้ำยาล้างมือ
 
อิเหนา
อิเหนาอิเหนา
อิเหนา
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
 
โครงงานการบำบัดน้ำเสียด้วยต้นธูปฤาษี
โครงงานการบำบัดน้ำเสียด้วยต้นธูปฤาษีโครงงานการบำบัดน้ำเสียด้วยต้นธูปฤาษี
โครงงานการบำบัดน้ำเสียด้วยต้นธูปฤาษี
 
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การประดิษฐ์ท่ารำ รำคุ่ รำหมู่
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การประดิษฐ์ท่ารำ  รำคุ่  รำหมู่เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การประดิษฐ์ท่ารำ  รำคุ่  รำหมู่
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การประดิษฐ์ท่ารำ รำคุ่ รำหมู่
 

Similar to ระบำโบราณคดี

ศิลปินในดวงใจ
ศิลปินในดวงใจศิลปินในดวงใจ
ศิลปินในดวงใจPata_tuo
 
มอญศึกษา
มอญศึกษามอญศึกษา
มอญศึกษาengtivaporn
 
แพท ๖
แพท ๖แพท ๖
แพท ๖snitcher
 
รหัสวิชา 76 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร์ (PAT 6)
รหัสวิชา 76 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร์ (PAT 6)รหัสวิชา 76 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร์ (PAT 6)
รหัสวิชา 76 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร์ (PAT 6)woottipol2
 
Pat6 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร์
Pat6 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร์Pat6 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร์
Pat6 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร์Theyok Tanya
 
ศิลาจารึกหลักที่ ๑
ศิลาจารึกหลักที่ ๑ศิลาจารึกหลักที่ ๑
ศิลาจารึกหลักที่ ๑krunoree.wordpress.com
 
ประวัติวรรณคดี สมัยรัตนโกสินทร์
ประวัติวรรณคดี สมัยรัตนโกสินทร์ ประวัติวรรณคดี สมัยรัตนโกสินทร์
ประวัติวรรณคดี สมัยรัตนโกสินทร์ vanichar
 
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมวรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมOrapan Chamnan
 
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมวรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมmayavee16
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนwarintorntip
 

Similar to ระบำโบราณคดี (20)

มอญศึกษา
มอญศึกษามอญศึกษา
มอญศึกษา
 
ศิลปินในดวงใจ
ศิลปินในดวงใจศิลปินในดวงใจ
ศิลปินในดวงใจ
 
มอญศึกษา
มอญศึกษามอญศึกษา
มอญศึกษา
 
Generation
GenerationGeneration
Generation
 
Sukhothai
SukhothaiSukhothai
Sukhothai
 
ประวัติดนตรีไทย 56
ประวัติดนตรีไทย 56ประวัติดนตรีไทย 56
ประวัติดนตรีไทย 56
 
แพท ๖
แพท ๖แพท ๖
แพท ๖
 
รหัสวิชา 76 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร์ (PAT 6)
รหัสวิชา 76 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร์ (PAT 6)รหัสวิชา 76 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร์ (PAT 6)
รหัสวิชา 76 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร์ (PAT 6)
 
Pat6 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร์
Pat6 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร์Pat6 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร์
Pat6 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร์
 
Pat6 2
Pat6 2Pat6 2
Pat6 2
 
Thai Fresh Wreath
Thai Fresh WreathThai Fresh Wreath
Thai Fresh Wreath
 
ศิลาจารึกหลักที่ ๑
ศิลาจารึกหลักที่ ๑ศิลาจารึกหลักที่ ๑
ศิลาจารึกหลักที่ ๑
 
ประวัติวรรณคดี สมัยรัตนโกสินทร์
ประวัติวรรณคดี สมัยรัตนโกสินทร์ ประวัติวรรณคดี สมัยรัตนโกสินทร์
ประวัติวรรณคดี สมัยรัตนโกสินทร์
 
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมวรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
 
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมวรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
Art
ArtArt
Art
 
Art
ArtArt
Art
 
Ppt1
Ppt1Ppt1
Ppt1
 
เครื่องดนตรีไทย ม.2ปี 56
เครื่องดนตรีไทย ม.2ปี 56เครื่องดนตรีไทย ม.2ปี 56
เครื่องดนตรีไทย ม.2ปี 56
 

More from พัน พัน

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการพัน พัน
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีพัน พัน
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรพัน พัน
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยพัน พัน
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศพัน พัน
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้พัน พัน
 

More from พัน พัน (20)

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 

ระบำโบราณคดี

  • 2. ระบำโบรำณคดี เพลงระบำโบรำณคดีเกิดจำกแนวคิดของนำยธนิต อยู่โพธิ์ อดีตอธิบดีกรมศิลปำกร ซึ่งได้พบ ภำพเขียน ภำพปั้น และภำพจำหลักตำมโบรำณสถำน และโบรำณวัตถุสมัยต่ำงๆ ทั้งที่พบในประเทศ ไทย และประเทศใกล้เคียง จึงได้นำมำประกอบแนวคิดประดิษฐ์สร้ำงเครื่องดนตรี และท่ำนำฏศิลป์ แต่ละสมัยขึ้น เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๑๐ โดยขอให้นำยมนตรี ตรำโมท ผู้เชี่ยวชำญดนตรีไทย และศิลปิน แห่งชำติ แต่งทำนองขึ้นตำมแนวคิดนั้น โดยมอบให้นำงลมุล ยมะคุปต์นำงเฉลย ศุขะวณิชและท่ำน ผู้หญิงแผ้ว สนิทวงศ์เสนี ผู้เชี่ยวชำญกำรสอนนำฏศิลป์ไทย และศิลปินแห่งชำติ เป็นผู้ประดิษฐ์ท่ำรำ
  • 4. ระบำทวำรวดี ระบำทวำรวดี เป็นระบำชุดที่ ๑ ในระบำโบรำณคดีที่เกิดขึ้นจำกแนวควำมคิดของนำยธนิตอยู่โพธิ์ (อดีตอธิบดีกรม ศิลปำกร) ซึ่งต้องกำรศึกษำ และเรียนรู้เรื่องเครื่องแต่งกำยของมนุษย์ เพื่อประโยชน์แก่วิชำประวัตศำสตร์ และ โบรำณคดี โดยทูลขอร้องให้หม่อมเจ้ำยำใจ จิตรพงศ์ ซึ่งขณะนั้นดำรงตำแหน่งสถำปนิกพิเศษของกรมศิลปำกร ทำง ศึกษำแบบอย่ำง และเขียนเลียนแบบเครื่องแต่งกำรสมัยทวำรวดีบำงรูป โดยในครั้งแรกคิดจะจัดสร้ำงเครื่องแต่งกำยตำมสมัย โบรำณคดี ถวำยทอดพระเนตรในงำนเสด็จพระรำชดำเนินทรงเปิดกำรแสดงศิลปะโบรำณวัตถุในอำคำร สร้ำงใหม่ ใน พิพิธภัณฑสถำนแห่งชำติ พระนคร แต่หลังจำกได้ภำพตำมต้องกำรแล้ว จึงเปลี่ยนแนวควำมคิดใหม่ในกำรจัดแสดงระบำ โบรำณคดีชุดต่ำง ๆ ถวำยพระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระนำงเจ้ำสิริกิติ์ พระบรมรำชินีนำถ ทอดพระเนตรแทนกำรจัดแสดงเครื่องแต่งกำย ระบำนี้ประดิษฐ์ขึ้นจำกกำรนค้นคว้ำหลักฐำนทำงโบรำณคำดีสมัยทวำรวดี ท่ำรำและ เครื่องแต่งกำยได้แนวคิดจำก ภำพสลัก ภำพปั้นที่ขุดค้นพบ ณ โบรำณสถำนที่ตำบลคูบัว อำเภอ อู่ทอง จังหวัดนครปฐมและที่ตำบลโคกไม้เดน จังหวัด นครสวรรค์ ฯลฯ นักโบรำณคดี สันนิฐำนว่ำชำวทวำรวดีเป็นต้นเชื้อสำยพวกมอญ ดังนั้นลีลำท่ำรำ รวมทั้งเนียงทำนองเพลง จึง เป็นแบบมอญ ท่ำรำบำงท่ำได้ควำมคิดมำจำกภำพสลัก และภำพปูนปั้นที่ค้นพบโบรำณสถำนที่สำคัญ
  • 5. กำรแต่งกำย เครื่องแต่งกำยชุดระบำทวำรวดี ได้แบบอย่ำงมำจำกภำพปูนปั้น ที่ค้นพบตำมสถำนที่ สำคัญต่ำงๆ สมัยทวำรวดี และได้นำมำประดิษฐ์ให้เหมำะสมกับกำรแสดง ซึ่งมีดังนี้ ๑. ผมเกล้ำสูงกลำงศีรษะในลักษณะคล้ำยลูกจันแบน สวมเกี้ยวรัดผม ๒. สวมกระบังหน้ำ ๓. สวมต่ำงหูเป็นห่วงกลมใหญ่ ๔. สวมเสื้อในสีเนื้อ ( แทนกำรเปลือยอกตำมภำพปั้น ) ๕. นุ่งผ้ำลักษณะคล้ำยจีบหน้ำนำงสีน้ำตำลแถวหนึ่ง และสีเหลืองอ่อนแถวหนึ่ง มีตำลสีทองตกแต่งเป็นลำย พำดขวำงลำตัว ๖. ห่มสไบเฉียง ปล่อยชำยไว้ด้ำนหน้ำ และด้ำนหลัง ๗. สวมกำไลข้อมือ ต้นแขนโลหะ และแผงข้อเท้ำผ้ำติดลูกกระพรวน ๘. สวมจี้นำง ๙. คำดเข็มขัดผ้ำตำดเงิน หรือเข็มขัดโลหะ
  • 6. เครื่องดนตรีที่ใช้ประกอบกำรแสดงมีดังนี้ ๑.พิณ ๕ สำย ๒.จะเข้ ๓.ระนำดตัด ๔.ตะโพนมอญ ๕.ฉิ่ง ๖.ฉำบ ๗.กรับ
  • 7. ระบำศรีวิชัย ระบำศรีวิชัยเป็นระบำโบรำณคดี เกิดขึ้นเมื่อกลำงปี พ.ศ. ๒๕๐๙ โดยได้รับแจ้งจำกคุณประสงค์ บุญเจิม เอกอัครรำชทูตไทย ประจำกรุงกัวลำลัมเปอร์ ประเทศมำเลเซีย ว่ำท่ำนตนกู อับดุลรำห์มำน นำยกรัฐมนตรีแห่งมำเลเซีย ต้องกำรจะได้นำฏศิลป์จำกประเทศไทยไปถ่ำยทำเป็นภำพยนตร์เรื่อง Raja Bersiyong ซึ่งเป็นเรื่องรำวเกี่ยวกับอำณำจักรศรี วิชัยที่ท่ำนตนกูแต่งขึ้น จึงขอให้กรมศิลปำกรจัดระบำให้ ๒ ชุด คือ รำซัดชำตรี และระบำศรีวิชัย สำหรับระบำศรีวิชัยเป็น กำรศึกษำค้นคว้ำขึ้นใหม่ โดยควำมคิดริเริ่มของนำยธนิต อยู่โพธิ์ อดีตอธิบดีกรมศิลปำกร เมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๐ มีนำงลมุล ยมะคุปต์ ผู้เชี่ยวชำญกำรสอนนำฏศิลป์ วิทยำลัยนำฏศิลป์ กรมศิลปำกร และนำงเฉลย ศุขะวนิช ผู้เชี่ยวชำญกำรสอนนำฏศิลป์ วิทยำลัยนำฏศิลป์ กรมศิลปำกร และศิลปินแห่งชำติ เป็นผู้ประดิษฐ์ท่ำรำ โดยอำศัย ท่ำทำงของนำฏศิลป์ชวำมำผสมผสำนเข้ำด้วยกัน และมีนำยมนตรี ตรำโมท ผู้เชี่ยวชำญด้ำนดุริยำงค์ไทย กรมศิลปำกรและ ศิลปินแห่งชำติ เป็นผู้ประดิษฐ์ทำนองเพลง โดยหำแบบอย่ำงเครื่องดนตรี เช่น เครื่องดีด เครื่องสี เครื่องตี เครื่องเป่ำ จำกภำพจำหลักที่พระสถูปบุโรพุทโธ ใน เกำะชวำ และ เลือกเครื่องดนตรีของไทยที่มีลักษณะใกล้เคียงกันบ้ำง นำมำผสมปรับปรุงเล่นเพลงประกอบจังหวะระบำขึ้น มี นำยสนิท ดิษฐ์พันธ์ เป็นผู้ออกแบบเครื่องแต่งกำย ตำมหลักฐำนศิลปกรรมภำพจำหลักที่พระสถูปบุโรพุทโธ ในเกำะชวำ ท่ำรำระบำศรีวิชัยประดิษฐ์ขึ้นจำกภำพจำหลักและภำพปูนปั้นสมัยศรีวิชัย ประสมกับท่ำรำชวำและบำหลี สอดแทรก ลีลำทำงนำฏศิลป์ ลักษณะรำบำงท่ำคล้ำยท่ำรำของชวำ และบำหลี เช่น กำรตั้งวงกันศอก ออกเป็นวงโค้ง กำรทำมือ กำรใช้คอ ยักคอเหมือนนำฏศิลป์ชวำและบำหลี กำรตั้งท่ำนิ่ง ท่ำบิดสะโพกคล้ำยท่ำรำของบำหลี
  • 8. กำรแต่งกำย ๑.เสื้อในนำง ๒.ผ้ำนุ่ง เป็นผ้ำโสร่งบำติค เย็บเป็นจีบหน้ำนำงเล็กๆ อยู่ตรงกลำงด้ำนหน้ำ ไม่มีชำยพก ๓.ผ้ำคำดรอบสะโพก ใช้ผ้ำแพรเนื้อบำง มี ๒ สี คือ สีเขียว และสีแดง ๔.เข็มขัด ทำด้วยโลหะชุบทอง ลำยโปร่งเป็นข้อๆต่อกัน หัวเข็มขัดทำด้วยหนังลงรักปิดทอง ประดับพลอยสี ๕.ต่ำงหู เป็นต่ำงหูแบบห้อย ตรงส่วนแป้นหูทำด้วยหนังลงรักปิดทอง ประดับด้วยพลอยสี ๖.สร้อยคอ เป็นห่วงๆ ต่อกัน ประดับด้วยพลอยสีแดงและสีเขียว ๗.สร้อยสะโพก เป็นห่วงๆ ต่อกัน ทำด้วยหนังลงรักปิดทอง ประดับด้วยพลอยสีเขียวหรือสีแดง ๘.กำไลต้นแขน มีลักษณะโปร่งตรงกลำง ด้ำนหน้ำของกำไลเป็นรูปกลมเรียงสูงขึ้นไป ๓ ชั้น ๙.กำไลมือ มีลักษณะกลม ประดับด้วยพลอยสีขำว ๑๐.กำไลข้อเท้ำ ลักษณะกลมแต่ด้ำนในทึบ ตัวกำไลสลับลวดลำยทำด้วยหนังลงรักปิดทอง ประดับพลอย ๑๑.โบ โบเส้นเล็กๆ สำหรับสอดใต้เข็มขัด ๑๒.ผ้ำสไบ มีแผ่นโค้งเหนือไหล่ตอดสร้อยตัว ๒ เส้น ประกอบด้วยผ้ำแพรบำง ควำมยำวเท่ำกับสร้อย ชำย ผ้ำและสร้อยตัวทั้งสองข้ำงติดอยู่กับ เครื่องประดับสีทอง ที่ใช้คล้องไว้บนไหล่เครื่องประดับนี้ ทำด้วยหนังลงรักปิดทอง ประดับด้วยพลอยสีเขียว สีแดง ส่วนสร้อยตัวเป็นโซ่ห่วง ทองเล็กๆ ต่อให้ติดกัน ทำด้วยโลหะชุบทอง ๑๓.กะบังหน้ำ มีลักษณะคล้ำยกะบังหน้ำธรรมดำ ตรงกลำงด้ำนหน้ำเป็นรูปกลมและต่อยอดกลมให้แหลมถึงตรงปลำย ประดับด้วยพลอยสีขำว ๑๔.ปิ่นปักผม ตรงโคนที่ใช้ปักผมนั้นเรียวแหลม ส่วนตอนปลำยกลึงจนมีลักษณะกลม ประดิษฐ์ขึ้นด้วยไม้
  • 9. เครื่องดนตรีที่ใช้ประกอบกำรแสดงมีดังนี้ ๑.พิณ ๔ สำย ๒.ซอสำมสำย ๓.ตะโพน ๔.กลองแขก ๕.ฆ้อง ๓ ลูก ๖.ฉิ่ง ๗.กรับ ๘.ฉำบ๙.ขลุ่ย
  • 10. ระบำลพบุรี ระบำลพบุรี เป็นระบำชุดที่ ๓ ในระบำโบรำณคดีที่เกิดขึ้นจำกแนวควำมคิดของนำยธนิต อยู่โพธิ์ (อดีต อธิบดีกรมศิลปำกร) เช่นเดียวกับระบำทวำรวดี อยู่ในระหว่ำงพุทธศตวรรษที่ ๑๖ – ๑๙ ประดิษฐ์ขึ้น โดยอำศัย หลักฐำนจำกโบรำณวัตถุ และภำพจำหลักตำมโบรำณสถำน ซึ่งสร้ำงขึ้นตำมแบบศิลปะของขอม ที่อยู่ในประเทศ กัมพูชำ และประเทศไทย อำทิ พระปรำงค์สำมยอดในจังหวัดลพบุรี ทับหลังประตูระเบียงตะวันตกของปรำสำท หินพิมำยในจังหวัดนครรำชสีมำ ปรำสำทหินพนมรุ้งในจังหวัดบุรีรัมย์ เป็นต้น กำรแต่งทำนองเพลง กระบวนท่ำรำ และเครื่องแต่งกำย จึงมัลักษณะคล้ำยเขมรเป็นส่วนใหญ่ ระบำลพบุรีแสดงครั้งแรกเพื่อถวำยพระบำทสมเด็จพระ เจ้ำอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระนำงเจ้ำสิริกิติ์ พระบรมรำชินีนำถ ทอดพระเนตรในงำนเสด็จพระรำช ดำเนินทำงเปิดกำรแสดงศิลปะโบรำณวัตถุในอำคำรสร้ำงใหม่ในพิพิธภัณฑสถำนแห่งชำติ พระนคร เมื่อวันที่ ๒๕ พฤษภำคม พ.ศ.๒๕๑๐ และภำยหลังได้นำออกแสดงในโรงละครแห่งชำติและที่อื่น ๆ เพื่อให้ประชำชนชม นำยมนตรี ตรำโมท ผู้เชี่ยวชำญดุริยำงค์ไทย กรมศิลปำกร ศิลปินแห่งชำติ สำขำศิลปะกำรแสดง (ดนตรี ไทย) ปีพุทธศักรำช ๒๕๒๘ เป็นผู้แต่งทำนองเพลง โดยมีสำเนียงออกไปทำงเขมร นำงลมุล ยมะคุปต์ ผู้เชี่ยวชำญกำรสอนนำฏศิลป์ไทย วิทยำลัยนำฏศิลป กรมศิลปำกร และนำงเฉลย ศุขะ วณิช ผู้เชี่ยวชำญกำรสอนนำฏศิลป์ไทย วิทยำลัยนำฏศิลป กรมศิลปำกร ศิลปินแห่งชำติ สำขำศิลปะกำรแสดง (นำฏศิลป์) ปีพุทธศักรำช ๒๕๓๐ เป็นผู้ประดิษฐ์ท่ำรำ นำยสนิท ดิษฐพันธ์ ออกแบบเครื่องแต่งกำย นำงชนำนันท์ ช่ำงเรียน สร้ำงเครื่องแต่งกำย นำยชิต แก้วดวง ใหญ่ สร้ำงศิรำภรณ์ และเครื่องประดับ
  • 11. เครื่องแต่งกำย ๑.เสื้อ ใช้ผ้ำยืดสีเนื้อ คอกลม แขนสั้นเหนือศอก ติดแถบสีทองโอบรอบคอตลอด หว่ำงอกและรอบเอว ตัวเอกปักดิ้น เป็นลำยดอกประจำยำมหนึ่งดอกตรงระหว่ำงอก ๒.ผ้ำนุ่ง เย็บสำเร็จแบบซ้อนหน้ำ ชำยล่ำงโค้งมน ยำวคลุมเข่ำ ปักดิ้นลำย ประจำยำม ๓.ระปรำย มีผ้ำตำลสีทองทำบชำยกระโปรง ตัวเอกนุ่งผ้ำสีส้มแสด หมู่ระบำสีฟ้ำอมม่วง ๔.ผ้ำคลุมสะโพก สีม่วงอ่อน ชำยแหลมมนแยกเป็น ๒ ชิ้น หมู่ระบำริมผ้ำทำบ ด้วยผ้ำตำดสีทองตัวเอกทำบริมด้วยผ้ำ ตำลสีเงิน ๕.ศีรษะของระบำชุดนี้ ประกอบด้วย - กระบังหน้ำ หมู่ระบำใช้กระบังหน้ำประดับดอกไม้ไหว ตัวเอกกระบังหน้ำรูปดอกดำวกระจำย ๖ ดอก - เกี้ยว - พู่ไหมแซมเงิน - ที่ครอบผม ๖.รัดต้นแขน ประดับกระจกสีต่ำง ๆ ๗.สร้อยคอ ประดับด้วยแก้ว หรือพลอย ๘.เข็มขัด ๙.กำไลข้อมือ ประดับด้วยแก้วหรือพลอย ๑๐.กำไลข้อเท้ำ ประดับกระจกต่ำง ๆ
  • 12. เครื่องดนตรีที่ใช้ประกอบกำรแสดงมีดังนี้ ๑.ซอสำมสำย ๒.พิณน้ำเต้ำ ๓.ปี่ใน ๔.กระจับปี่ ๑ ๕.กระจับปี่๒ ๖.โทน ๒ ลูก ๗.ฉิ่ง ๘.ฉำบ ๙.กรับคู่ ๑ ๑๐.กรับคู่ ๒
  • 13. ระบำเชียงแสน ระบำเชียงแสน เป็นระบำชุดที่ ๔ ประดิษฐ์ขึ้นตำมแบบศิลปะ และโบรำณวัตถุสถำนเชียงแสน นักโบรำณคดี กำหนดสมัยเชียงแสน อยู่ในระหว่ำงพุทธศตวรรษที่ ๑๗ – ๒๕ ซึ่งได้เผยแพร่ไปทั่วดินแดนภำคเหนือของประเทศไทย ในสมัยโบรำณเรียกว่ำอำณำจักรลำนนำ ต่อมำมีนครเชียงใหม่เป็นนครหลวงของอำณำจักร และเป็นศูนย์กลำงแห่ง กำรศึกษำพระพุทธศำสนำฝ่ำยหินยำนอันเจริญรุ่งเรือง จนถึงมีพระเถระไทยผู้เป็นนักปรำชญ์สำมำรถแต่งตำนำน และ คัมภีร์พระพุทธศำสนำเป็นภำษำบำลีขึ้นไว้หลำยคัมภีร์ อำทิ คัมภีร์ชินกำลมำลีปกรณ์ และมังคลัตถทีปนี เป็นต้น ศิลปะ แบบเชียงแสนได้แพร่หลำยลงมำตำมลุ่มแม่น้ำโขงเข้ำไปในพระรำชอำณำจักรลำว สมัยที่เรียกว่ำลำนช้ำง หรือกรุงศรี สัตนำคนหุต แล้วแพร่หลำยเข้ำในประเทศไทยทำงภำคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนด้วย เช่น พระพุทธรูปบำงชนิดที่ นักโบรำณคดีบำงท่ำน บัญญัติเรียกว่ำ พระพุทธรูปเชียงแสนแบบลำว หรือพระลำวพุงขำว ด้วยเหตุนี้ระบำเชียงแสน จึงมีลีลำท่ำรำ และกระบวนเพลงแบบสำเนียงไทยภำคเหนือ ลำว และแบบไทยภำตะวันออกเฉียงเหนือปนอยู่ด้วย ระบำเชียงแสน จัดแสดงครั้งแรก เมื่อวันที่ ๒๔ พฤษภำคม พ.ศ.๒๕๑๐ และภำยหลังได้นำออกแสดงในโรงละคร แห่งชำติ และที่อื่น ๆ เพื่อให้ประชำชนชม นำยมนตรี ตรำโมท ผู้เชี่ยวชำญดุริยำงค์ไทย กรมศิลปำกร ศิลปินแห่งชำติ สำขำศิลปะกำรแสดง (ดนตรีไทย) ปีพุทธศักรำช ๒๕๒๘ เป็นผู้แต่งทำนองเพลง นำงลมุล ยมะคุปต์ ผู้เชี่ยวชำญกำรสอนนำฏศิลป์ไทย วิทยำลัยนำฏศิลป กรมศิลปำกร และนำงเฉลย ศุขะวณิช ผู้เชี่ยวชำญกำรสอนนำฏศิลป์ไทย วิทยำลัยนำฏศิลป กรมศิลปำกร ศิลปินแห่งชำติ สำขำ ศิลปะกำรแสดง (นำฏศิลป์) ปีพุทธศักรำช ๒๕๓๐ เป็นผู้ประดิษฐ์ท่ำรำ นำยสนิท ดิษฐพันธ์ ออกแบบเครื่องแต่งกำย นำงชนำนันท์ ช่ำงเรียน สร้ำงเครื่องแต่งกำย นำยชิต แก้วดวง ใหญ่ สร้ำงศิรำภรณ์ และเครื่องประดับ
  • 14. เครื่องแต่งกำย ๑.เสื้อรัดอกสีเนื้อ ๒. เสื้อลูกไม้สีเหลือง ติดริมด้วยแถบผ้ำตำดสีทอง ๓. ซิ่นเชิงแบบป้ำยข้ำงแถวหนึ่งสีแดง อีกแถวหนึ่งสีตอง ๔. เครื่องประดับประกอบด้วยเข็มขัดมีเชือกห้อยทิ้งชำยพู่ลงมำด้ำนหน้ำทั้งสองข้ำง สร้อยคอ ต่ำงหู กำไลข้อมือ และกำไลข้อเท้ำ ๕. แต่งทรงผมตั้งกระบังหน้ำประดับขดโลหะสีเงิน เกล้ำผมมวย ไว้ด้ำนหลัง ติดดอกกล้วยไม้ข้ำงหู ซ้ำย
  • 15. เครื่องดนตรีที่ใช้ประกอบกำรแสดงมีดังนี้ ๑.ปี่จุ่ม ๑ ๒.ปี่จุ่ม ๒ ๓.ปี่จุ่ม ๓ ๔.แคน ๕.สะล้อ ๖.ซึง ๗.ตะโพน ๘.ฉิ่ง ๙.ฉำบใหญ่ ๑๐.ฆ้องหุ่ย
  • 16. ระบำสุโขทัย ระบำสุโขทัย เป็นระบำชุดที่ ๕ อยู่ในระหว่ำงพุทธศตวรรษที่ ๑๙ - ๒๐ นับเป็นยุคสมัยที่ ชนชำติไทย เริ่มสร้ำงสรรค์ศิลปะด้ำนนำฏศิลป์ และดนตรีในเป็นสมบัติประจำชำติ โดยอำศัย หลักฐำนอ้ำงอิงที่กล่ำวไว้ในเอกสำร และหลักศิลำจำรึก ประกอบศิลปกรรมอื่น ๆ กำรแต่ง ทำนอง กระบวนท่ำรำ และเครื่องแต่งกำย ประดิษฐ์ขึ้นให้มีลักษณะที่อ่อนช้อยงดงำม ตำม แบบอย่ำงของศิลปะสมัยสุโขทัย ระบำชุดสุโขทัย จัดแสดงครั้งแรกเมื่อวันที่ ๒๕ พฤษภำคม พ.ศ.๒๕๑๐ และภำยหลังได้ นำออกแสดง ในโรงละครแห่งชำติ และที่อื่น ๆ เพื่อให้ประชำชนชม นำยมนตรี ตรำโมท ผู้เชี่ยวชำญดุริยำงค์ไทย กรมศิลปำกร ศิลปินแห่งชำติ สำขำ ศิลปะกำรแสดง (ดนตรีไทย) ปีพุทธศักรำช ๒๕๒๘ เป็นผู้แต่งทำนองเพลง โดยนำทำนองเพลง เก่ำของสุโขทัยมำดัดแปลง ท่ำนผู้หญิงแผ้ว สนิทวงศ์เสนี ผู้เชี่ยวชำญนำฏศิลป์ไทย กรมศิลปำกร ศิลปินแห่งชำติ สำจำศิลปะกำรแสดง (นำฏศิลป์ไทย) ปีพุทธศักรำช ๒๕๒๘ เป็นผู้ประดิษฐ์ท่ำรำ นำยสนิท ดิษฐพันธ์ ออกแบบเครื่องแต่งกำย นำงชนำนันท์ ช่ำงเรียน สร้ำงเครื่องแต่ง กำย นำยชิต แก้วดวงใหญ่ สร้ำงศิรำภร
  • 17. เครื่องแต่งกำย ๑.ศีรษะ ทรงยอดรัศมีสำหรับตัวเอก และทรงระฆังคว่ำสำหรับตัวรอง ๒.ต่ำงหู เป็นดอกกลม ๓.เสื้อในนำง สีชมพูอ่อน ๔.กรองคอ สีดำ ปักดิ้นและเลื่อม ๕.ต้นแขน ตัวรองพื้นสีดำ ปักดิ้นและเลื่อม ตัวเอกทำด้วยหนังลงรักปิดทอง ๖.กำไลข้อมือ ตัวรองพื้นสีดำ ปักดิ้นและเลื่อม ตัวเอกทำด้วยหนังลงรักปิดทอง ๗.ข้อเท้ำ ตัวรองพื้นสีดำ ปักดิ้นและเลื่อม ตัวเอกทำด้วยหนังลงรักปิดทอง ๘.ผ้ำรัดเอว ทำด้วยผ้ำสีดำ มีลวดลำยเป็นดอกไม้ประดับและห้อยที่ชำยเป็นรูปสี่เหลี่ยม ขนมเปียกปูน มีริบบิ้นสีเขียวห้อยมำทั้งสองข้ำง ๙.ผ้ำนุ่ง เป็นกระโปรงบำนจีบหน้ำสีส้ม มีลูกไม้สีขำวระบำยเป็นชั้น ๆ ๑๐.ทรงผม เกล้ำผม ครอบด้วยที่รัดผม
  • 18. เครื่องดนตรีที่ใช้ประกอบกำรแสดงมีดังนี้ ๑.ปี่ใน ๒.ซอสำมสำย ๓.กระจับปี่ ๑ ๔.กระจับปี่ ๒ ๕.ตะโพน ๖.ฆ้องวง ๗.ฉิ่ง ๘.โหม่ง ๙.กรับคู่ ๑ ๑๐.กรับคู่ ๒
  • 19. ระบำศรีชัยสิงห์ “ระบำศรีชัยสิงห์” เป็นระบำโบรำณคดีที่วิทยำลัยนำฏศิลป กรมศิลปำกร ได้ สร้ำงสรรค์ประดิษฐ์ท่ำรำขึ้นใหม่จำกจินตนำกำรศิลปกรรมภำพจำหลัก ซึ่งภำพจำหลักนี้ ได้ ลอกเลียนแบบมำจำกปรำสำทเมืองสิงห์ เป็นโบรำณสถำนที่มีอำยุรำวพุทธศตวรรษที่ ๑๘ ดัดแปลงมำจำกท่ำรำของนำงอัปสรบำยน ในสมัยขอมบำยน มำเป็นหมู่ระบำนำงอัปสร ฟ้อนรำถวำยพระนำงปรัชญำปำรมิตำ ซึ่งเป็นพระมำรดำแห่งพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร สำเหตุที่ตั้งชื่อว่ำศรีชัยสิงห์ คิดว่ำ น่ำจะนำมำจำก ในสมัยพระเจ้ำชัยวรมันที่ ๗ เรียกเมืองกำญจน์ ว่ำ ศรีชัยยะสิงหปุระ ประดิษฐ์ท่ำรำโดย นำงเฉลย ศุขวนิช ผู้เชี่ยวชำญทำงด้ำนนำฏศิลป์ไทย ของ วิทยำลัยนำฏศิลปกรมศิลปำกร กำรแต่งกำยเลียนแบบภำพจำหลักนำงอัปสร ปรำสำทเมือง สิงห์ บรรเลงโดยเพลงเขมรชมจันทร์และเพลงเขมรเร็ว กำรแสดงเพื่อสงเสริมแหล่งท่องเที่ยวของไทย โดยกำรแสดงชุดนี้มีที่มำจำกแหล่ง โบรำณคดีที่จังหวัดกำญจนบุรี คือปรำสำทเมืองสิงห์
  • 20. เครื่องแต่งกำย ๑.เครื่องแต่งกำยตัวเอก - เสื้อ รัดรูปสีน้ำตำลอ่อน คอกลม แขนสั้นเหนือศอก - ผ้ำ นุ่ง เป็นกระโปรงสำเร็จรูปแบบป้ำย ทบซ้อนหน้ำ สีเหลืองทอง ยำวคลุมเข่ำ มีลูกไม้แถบสีทอง เดินลำยและปักเลื่อมดอกสีทองตัดเย็บด้วยผ้ำผำดไทยชนิดมีลวดลำยในตัว ๒.ศีรษะของตัวเอก ประกอบด้วย - กะบังหน้ำ - ยี่ก่ำ - เกี้ยว - พู่หนัง - สำแหรก - ปลียอด - ดอกไม้ไห; - ลำยท้ำย ๓.เครื่องประดับ - รัดต้นแขน - สร้อยคอ ๑ เส้น - กำไลมือ - กำไลเท้ำ - กรองคอ - สังวำล ๒ เส้น (ทำด้วยหนัง ลงลำยรักปิดทอง ประดับกระจก และพลอยหลำกสี)
  • 21. เครื่องดนตรีที่ใช้ประกอบกำรแสดงมีดังนี้ ๑. ระนำดเอก ๒. ระนำดทุ้ม ๓. ระนำดเอกเหล็ก ๔. ระนำดทุ้มเหล็ก ๕. ฆ้องวงใหญ่ ๖. ฆ้องวงเล็ก ๗. ปี่นอก ๘. โทน ๙. ฉิ่ง ๑๐. ฉำบเล็ก ๑๑. กรับ ๑๒. โหม่ง