SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
-19304034290พิพิธภัณฑ์ บ้านจ๊างนัก<br />  ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2528 โดย สล่าเพชร วิริยะซึ่งได้รวบรวมเพื่อนฝูง ตลอดจนลูกศิษย์ลูกหา ช่างแกะสลักฝีมือดีและมีความรักในศิลปะการแกะสลัก ไม้แบบล้านนามารวมตัวกันจัดตั้ง กลุ่มแกะสลักขึ้นมา<br />2417445735965เมื่อปีพ.ศ.2531 คุณลุงประยูร จรรยาวงศ์ (2458) คอลัมน์นิสต์ชื่อดังแห่งหนังสือพิมพ์ ไทยรัฐในขณะ นั้น ได้ให้เกียรติ มา เยี่ยม เยือน พร้อมกับตั้งชื่อบ้านว่า “บ้านจ๊างนัก” อันหมายถึงบ้านที่มีช้าง เยอะแยะมากมายบ้านจ๊างนักได้มีการพัฒนารูปแบบการแกะสลักช้าง จากเดิมที่ช่างแกะจะมีการแกะสลักแบบ ตายตัว รูปแบบจะซ้ำกันมาเป็นการแกะสลักช้างที่ดูมีชีวิตชีวา มีท่าทางท่วงทำนองที่เหมือน ช้างจริง ๆ ซึ่งนับเป็นแห่งแรกที่มีการแกะสลักช้าง รูปแบบนี้  บ้านจ๊างนักยังเป็นแห่งแรกที่มีการทดลองนำวัสดุใหม่ๆที่หาได้ในท้องถิ่นมาทดแทนวัสดุเดิม ที่นับวันมีแต่จะหายากมากขึ้น เช่น มีการนำเอาไม้ขี้เหล็กมาทดแทนไม้สัก ซึ่งประโยชน์เพียงอย่างเดียวของไม้ขี้เหล็ก ในสมัยก่อน คือนำมาทำเป็นเชื้อเพลิงเท่านั้น และผลที่ได้จากการนำมาแกะสลักพบว่า ไม้ขี้เหล็กเป็นไม้เนื้อแข็งมากการแกะค่อน ข้างยากกว่าไม้สัก แต่ผลงานที่ออกมาจะสวยงาม และสีเป็นธรรมชาติ  นอกจากการทดลองเรื่องของไม้แล้ว ยังมีการนำเอาภูมิปัญญาชาวบ้านที่สืบทอด กันมามาประยุกต์ใช้ กับงานแกะสลัก นั่นก็คือ นำเอาลูกมะเกลือที่ใช้ในการย้อมผ้า มาย้อมสีไม้ซึ่งก็ให้สีที่เป็นธรรมชาติและ ไม่มีสารพิษตกค้างเป็นอันตราย ต่อมนุษย์ และสิ่งแวดล้อมเมื่อปี พ.ศ. 2546 บ้านจ๊างนัก ได้รับการบรรจุให้เป็นหนึ่งในพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น สังกัด เอกชน ยังผลให้เป็นที่รู้จัก กันอย่างแพร่หลายในหมู่นักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและ ชาวต่างประเทศ ที่มีความสนใจในศิลปะแขนงนี้นอกจากนี้ หนึ่งในความภาคภูมิใจของสล่าบ้านจ๊างนักทุกคนคือ การที่เป็นส่วนหนึ่งของการทำให้ผู้คน ได้เกิดความรัก หวงแหน และ ตระหนักถึงความสำคัญ และปัญหาของ ช้างไทยในปัจจุบัน และร่วมกันอนุรักษ์ช้างไทยให้อยู่คู่กับคนไทยอีกนานเท่านานประวัติและผลงานของ สล่าเพชร วิริยะศินปินดีเด่นจังหวัดเชียงใหม่ประจำปี2543สาขาทัศนศิลป์ด้านประติมากรม<br />ประวัติ<br />32054801243330สล่า เพชร วิริยะ เกิดเมื่อวันที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2498 สถานที่เกิด บ้านบวกค้าง อำเภอสันกำแพง จังหวัดเชียงใหม่ เป็นบุตรของ นายสิงห์ วิริยะ และ นางบัวจีน วิริยะ มีพี่น้อง 5 คน คือ1. นายเพชร วิริยะ2. นายสุภาพ วิริยะ3. นายเสน่ห์ วิริยะ4. นายพิภัคร์ วิริยะ5. นางเพลินจิต วิริยะ<br />ที่อยู่ quot;
บ้านจ๊างนักquot;
บ้านเลขที่ 56/1 หมู่ที่ 2 ตำบลบวกค้าง อำเภอสันกำแพง จังหวัดเชียงใหม่   โทรศัพท์ (053) 3446891,01-4725051ครอบครัว นายเพชร วิริยะ สมรสกับนางนงเยาว์ วิริยะ (นันไชยศิลป์) มีบุตรธิดาทั้งหมด 2 คน คือ1. นางสาววารียา วิริยะ2. นางสาวเวรุยา วิริยะการศึกษาระดับประถมศึกษาปีที่ 4 จากโรงเรียนผู้ใหญ่ 1 หอพระ จังหวัดเชียงใหม่การศึกษาผู้ใหญ่ ระดับ 4 (ม.ศ. 3) จากโรงเรียนผู้ใหญ่สันกำแพง อำเภอสันกำแพง จังหวัดเชียงใหม่<br />-393700806450ผลงาน<br />ผลงานของสล่าเพชรทำจำหน่ายในนาม quot;
บ้านจ๊างนัก” ซึ่งเขาเป็นหัวเรือใหญ่ในการรวบรวมช่างฝีมือในท้องถิ่น ต.บวกค้าง อ.สันกำแพง จ.เชียงใหม่ และผ่านการคัดเลือกให้เป็นสินค้าหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ ประเภทผลิตภัณฑ์ 5 ดาว ระดับภาค ทุกวันนี้สินค้าจากชุมชนแห่งนี้กระจายไปอยู่ทั่วโลก  กว่าจะถึงจุดนี้ สล่าเพชร ย้อนเรื่องราวในวัยหนุ่มว่า เมื่อปี 2515-2519 ได้เรียนรู้การแกะสลักไม้รูปช้าง กับ ครูคำอ้าย เดชดวงตา พร้อมกับเพื่อนร่วมรุ่นอีกหลายคน พอมีฝีมือติดตัวก็ตระเวนทำงานแกะสลักไม้ตามสถานที่ต่างๆ และตามประสาวัยรุ่นที่รักความท้าทาย หลังจากเป็นหนุ่มพเนจรอยู่หลายปี จึงหวนคืนสู่บ้านเกิดที่สันกำแพงราวปี 2528 และคิดปักหลักทำมาหากินบนผืนดินมารดา จึงรวบรวมเพื่อนสล่าและลูกศิษย์ 5-6คน ก่อตัวเป็นทีมงานแกะสลักช้างในแบบเหมือนจริงจำหน่ายจนมีผลงานออกมาเป็นที่รู้จักของคนทั่วไป quot;
ที่มาของบ้านจ๊างนัก คุณลุงประยูร จรรยาวงษ์ ราชานักเขียนการ์ตูนชื่อดัง เป็นผู้ตั้งให้ บ้านจ๊างนักเป็นภาษาถิ่นความหมายว่า มีช้างแกะสลักมากนั่นเอง ทุกวันนี้บ้านจ๊างนักมีทีมงานแกะสลักเกือบ 50 คน ซึ่งเป็นญาติพี่น้องเพื่อนลูกศิษย์และคนหนุ่มๆในหมู่บ้านทั้งสิ้นquot;
 สล่าเพชรเล่าความเป็นมา มาถึงยุคปัจจุบันงานฝีมือจากบ้านจ๊างนักยิ่งทวีความนิยมมากขึ้น -590551885315โดยเฉพาะในหมู่นักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและต่างชาติที่มีโอกาสแวะชมงานหัตถกรรมล้านนา ต่างซื้อติดมือกลับบ้านเพื่อเป็นของฝากหรือนำไปตกแต่งบ้าน แต่ถ้าเป็นช้างตัวโตๆ ทีมงานของสล่าเพชรก็จะหาหนทางจัดส่งให้ลูกค้าถึงปลายทาง งานศิลปะของบ้านจ๊างนักจึงกระจายไปทั่วทุกมุมโลก quot;
การทำช้างของบ้านจ๊างนักตอนนี้ มีทั้งงานแกะสลักไม้และปูนปั้น เดือนหนึ่งมีผลงานนับร้อยชิ้น ราคาขึ้นอยู่กับขนาดเฉลี่ยตั้งแต่ 1,000 บาท ไปจนถึงมูลค่า 7 หลัก ซึ่งผลงานที่เราภูมิใจมากคือการแกะ สลักช้างไม้ชื่อ คิริเมขล์ไตยดายุค เป็นช้างสามเศียรขนาดสูง 5 เมตร กว้าง 3 เมตร ใช้เวลาสร้างประมาณ 3 ปี ผมเตรียมส่งให้ลูกค้าราวกลางเดือนสิงหาคมนี้quot;
 สล่าเพชร กล่าว    สล่าเพชร บอกอีกว่า งานมหกรรมพืชสวนโลกเฉลิมพระเกียรติ ราชพฤกษ์ 2549 ซึ่งประเทศไทยเป็นเจ้าภาพจัดขึ้นที่ จ.เชียงใหม่ ระหว่างวันที่ 1 พฤศจิกายน 2549 ถึงวันที่ 31 มกราคม 2550 สล่าเพชรได้รับความไว้วางใจจากภาครัฐให้ทำช้างประดับทางเข้าสู่เข้างาน ประกอบด้วย บริเวณวงแหวน 5 ตัว สะพาน 4 ตัว และหัวช้างประดับเสา 44 หัว สำหรับวัตถุดิบสำคัญคือ quot;
ไม้quot;
 ใช้ได้ทั้งไม้เนื้ออ่อน และไม้เนื้อแข็ง แต่ที่นิยมกันมากและทำกันมาโดยตลอดคือ ไม้สัก ซึ่งเป็นไม้เนื้อละเอียดง่ายต่อการ นำมาแกะสลักเป็นลวดลายต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นสัตว์ หรือต้นไม้ แต่ไม้ชนิดนี้ขนาดใหญ่หายาก และราคาสูง จึงเลือกใช้ไม้ขี้เหล็ก ไม้ฉำฉาและไม้ขนุนซึ่งในอดีตเป็นเพียงไม้ทำฟืนของชาวบ้านเท่านั้น-565157013575         เครื่องมือที่ใช้แกะสลัก คือ สิ่วหมัก หรือ สิ่วตัววี (V) ใช้สลักนำเส้นตามแบบงานและใช้แต่งลาย เส้นต่างๆ สิ่วแบน ใช้ถากย้ำเส้นต่างๆ และตัดไม้ส่วนที่ไม่ต้องการออก สิ่วแกะ หรือ สิ่วตัวยู (U) ใช้ถาก เจาะ และตกแต่งรายละเอียดของชิ้นงานและค้อนอุปกรณ์ที่ต้องใช้ตอกสิ่ว<br />วิธีแกะสลัก ร่างแบบงานบนกระดาษแข็ง แล้วนำมาทาบกับไม้ที่เตรียมไว้ แกะเอาไม้ส่วนที่ไม่ต้องการออกให้เหลือแต่โครงสร้างตามแบบที่ร่างไว้ ส่วนความเว้าก็แกะออกจนเป็นรูปร่างตามแบบที่ร่างไว้เช่นกัน จากนั้นตกแต่งรายละเอียด เช่น ลายผิวหนัง หรือลายกลีบดอกไม้  ขั้นตอนสุดท้าย ทาสีและขัดตกแต่ง ใช้สีธรรมชาติทำจากผลมะเกลือ ขั้นตอนคือนำผลมะเกลือมาตำ แล้วหมักกับน้ำปูนใส ก่อนใช้น้ำที่หมักทาผลงานให้เป็นสีดำ และทาซ้ำจนกระทั่งดำจนพอใจ จึงนำไปตากให้แห้งสนิท ใช้แปลงทองเหลืองขัดกากของมะเกลือออก จะได้ชิ้นงานสีดำเทาดูเป็นธรรมชาติทั้งนี้ “บ้านจ๊างนัก” นับเป็นแหล่งศึกษาด้านการแกะสลักช้าง และการท่องเที่ยวด้านศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นที่สำคัญของ อ.สันกำแพง<br />3461385312420บ้านถวาย หมู่บ้านไม้แกะสลัก<br />                  อดีตที่ผ่านมา 40 กว่าปี บ้านถวายได้สืบสานงานไม้จากรุ่นสู่รุ่นจากการก่อกำเนิดขึ้นของปูชนยบุคคล 3 ท่าน คือพ่อหนานแดง พันธุสา, พ่อใจ๋มา อิ่นแก้ว และพ่อเฮือน พันธุศาสตร์ ที่ได้เดินทางไปทำงานและเรียนแกะสลักไม้ที่ร้านน้อมศิลป์ บ้านวัวลาย ประตูเชียงใหม่ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ เมื่อ พ.ศ. 2500-2505 และได้นำมาแพร่หลายในหมู่บ้านถวาย จนกลายเป็นหมู่บ้านหัตถกรรม ไม้แกะสลักที่มีฝีมือ และมีชื่อเสียง เป็นที่รู้จักของชาวไทยและชาวต่างประเทศ<br />ประวัติหมู่บ้าน บ้านถวาย เป็นหมู่บ้านเก่าแก่ ตั้งมาประมาณ 100 กว่าปี สาเหตุที่ชื่อบ้านถวาย ตามคำบอกเล่าของผู้เฒ่าผู้แก่ เล่าว่าบ้านถวาย ดั้งเดิมเป็นจุดถวายของให้พระนางเจ้าจามเทวีที่เสด็จผ่าน จากนครลำพูน ซึ่งเดินทางโดยทางเกวียนผ่านมาทางบ้านถวาย ชาวบ้านเมื่อทราบข่าวการจะเสด็จผ่านของพระนางฯ จึงพากันเตรียมข้าวของ หรือบางครอบครัวก็จะช่วยกันรีบตีเครื่องเงินเตรียมไว้ถวาย<br />          บ้านถวายเป็นหมู่บ้านหนึ่ง ในตำบลขุนคง  อำเภอหางดง  จังหวัดเชียงใหม่  ระยะทางห่างจากตัวเมืองเชียงใหม่   ประมาณ 18 กิโลเมตร แต่เดิมชาวบ้านประกอบอาชีพหลักทางด้านการเกษตร แต่เมื่อประสบกับภาวะขาดแคลนน้ำในฤดูแล้งทำให้ผลผลิตตกต่ำ ส่งผลให้ชาวบ้านมีรายได้น้อย   ดังนั้นหลังฤดูเก็บเกี่ยวชาวบ้านส่วนใหญ่จะเดินทางไปรับจ้างทำงานในตัว เมืองเชียงใหม่  เช่น รับจ้าง ก่อสร้าง และอื่น ๆ แต่มีบางส่วนออกไปค้าขายไม่ได้ประกอบอาชีพอยู่ในท้องถิ่นของตัวเอง<br />          จนกระทั่ง ปี พ.ศ. 2500- 2505 พ่อใจ๋มา อิ่นแก้ว พ่อหนานแดง พันธุสา และพ่อเฮือน พันธุศาสตร์ ทั้งสามท่านได้ไปรับจ้างอยู่ในตัวเมืองเชียงใหม่ เช่นเดียวกับชาวบ้านทั่วไป จนท่านได้ไปที่ร้านน้อมศิลป์   บ้านวัวลายซึ่งเป็นร้านจำหน่ายไม้แกะสลักที่โด่งดังในช่วงนั้น ทั้งสามท่านเกิดความสนใจในการรับจ้างแกะสลักไม้ จึงได้ขอทางร้านทดลองแกะดู  ปรากฏว่าฝีมือพอทำได้  ทางร้านจึงให้เริ่มทำงานรับจ้างที่ร้านน้อมศิลป์ตั้งแต่นั้นมา การทำงานแกะสลักไม้ของทั้งสามท่านปรากฏว่ามีรายได้ดีกว่าการรับจ้างก่อสร้าง และทุกวันฝีมือการแกะสลักก็พัฒนาขึ้นเรื่อย ๆ ท่านจึงเปลี่ยนอาชีพจากการับจ้างทั่วไปมาเป็นการรับจ้างแกะสลักไม้ที่ร้าน ดังกล่าว จนเมื่อเกิดความชำนาญ และเมื่อมีงานมากขึ้นทั้งสามท่านจึงได้ขอนำมาทำที่บ้าน  และถือเป็นจุดเริ่มต้นของการถ่ายทอดงานแกะสลักไม้ให้แก่ลูกหลาน  ญาติพี่น้อง  เพื่อนบ้านโดยไม่รู้ตัวและไม่หวงความรู้แม้แต่น้อย งานที่นำมาถ่ายทอดครั้งแรก เป็นการแกะสลักไม้แผ่นลวดลายต่าง ๆ เช่น ลายรามเกียรติ์ ลายครุฑ ตุ๊กตาดนตรี ต่อมาเริ่มทำเป็น ตัวพระ และรับซ่อมตกแต่งของเก่าประเภทงานไม้ และเริ่มเลียนแบบของเก่าที่มีผู้นำมาซ่อม พร้อมทั้งออกแบบงานที่เป็นเอกลักษณ์ของบ้านถวายเอง จากนั้นได้มีกลุ่มสตรีแม่บ้านของบ้านถวายเองซึ่งออกไปรับจ้างทำงานสี งานแอนติค และตกแต่งลวดลายเส้นที่ร้านในเมืองเชียงใหม่ ย่านวัวลาย และได้พัฒนาฝีมือ ทำลวดลาย ปิดทอง จนเกิดความชำนาญเช่นเดียวกัน เมื่อมีงานเพิ่มขึ้นทางร้านให้นำมาทำที่บ้านโดยคิดค่าจ้างทำเป็นชิ้น เมื่องานเสร็จก็นำไปส่งที่ร้าน ก็นับว่าเป็นโอกาสดีที่จะได้นำมาถ่ายทอดในหมู่บ้าน และโอกาสในการพบปะกับลูกค้าของทางร้าน ซึ่งลูกค้าก็ได้ติดต่อโดยตรงและเข้ามาซื้อสินค้าถึงในหมู่บ้านจึงทำให้บ้าน ถวายเริ่มกลายเป็นแหล่งซื้อหาไม้แกะสลักและเกิดธุรกิจขึ้นในหมู่บ้าน     ตั้งแต่นั้นมาแต่ละบ้านเริ่มจะปรับบริเวณบ้านของตนเอง โดยใช้บริเวณหน้าบ้านเป็นร้านค้า ส่วนหลังบ้านก็ทำงานหัตถกรรมแกะสลักไม้ ตกแต่งผลิตภัณฑ์ ในครอบครัวตั้งแต่นั้นมา<br />342675996371งานพิมพ์ลาย หรือเพ้นท์ลายลงบนประตูหน้าต่างเก่า<br />1467293453921-446405337185<br />     <br />เป็นงานที่มีการสร้างสรรค์ที่ประยุกต์จางของเก่าแล้วใส่ไอเดียเข้าไปใหม่ ถือเป็นการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับของเก่า<br />วิธีการทำ<br />นำไม้เก่ามาทำความสะอาดแล้วพึ่งให้แห้ง<br />จากนั้นร่างแบบที่ต้องการลงบนบานประตูหรือหน้าต่าง<br />ลงสีและเก็บรายละเอียดของลวดลายที่วาดไว้<br />พึ่งให้แห้ง(งานแกะสลักบานประตูและหน้าต่างเก่าก็มีจำหน่าย)<br />ราคา ขึ้นอยู่กับขนาดและลวดลายของสินค้า (สามารถต่อรองราคาได้)<br />ประโยชน์การใช้งานของวัสดุในงานภูมิทัศน์<br />ใช้ประดับตกแต่งอาคารกลางแจ้ง<br />ประดับผนังเพื่อสร้างความโดดเด่น<br />ทำเป็นแนว สกรีน ให้กับพื้นที่ได้<br />บ้านเหมืองกุง            <br />บ้านเหมืองกุงเป็นหมู่บ้านเล็ก ๆ อยู่ไม่ไกลจากตัวเมืองเชียงใหม่มากนักเดินทางสะดวกตามถนนสายเชียงใหม่-หางดงเพียง 6 กิโลเมตร ใช้เวลาเดินทางประมาณ 10นาทีและยังเป็นทางผ่านไปยังสถานที่ท่องเที่ยวสำคัญ เช่น บ้านถวาย ดอยอินทนนท์ ทั้งยังอยู่ใกล้แหล่งท่องเที่ยวใหม่ อาทิ เชียงใหม่ไนท์ซาฟารี, พืชสวนโลก เป็นต้น<br />บ้านเหมืองกุงได้รับเลือกจากพัฒนาชุมชน อ.หางดง และการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ให้เป็นหมู่บ้านโอท็อปเพื่อการท่องเที่ยวเมื่อหลายปีก่อน เพราะเป็นหมู่บ้านผลิตเครื่องปั้นดินเผาที่มีเรื่องราวประวัติศาสตร์ วิถีวัฒนธรรมที่สามารถร้อยเรียงเชื่อมโยงได้อย่างกลมกลืนกับการท่องเที่ยว<br />2732405408940โคมไฟหม้อดินเผา<br />วัสดุทำจากดินเหนียว ราคา  150 บาท<br />วิธีการทำ<br />1. นำดินเหนียวมากองไว้เตรียมใช้งานเรียกว่า กองดิน        2. ซอยดินเหนียว แล้วนำไปพรมน้ำหมักค้างคืน โดยใช้ใบตองแห้งคลุมให้ดินชุ่มน้ำพอเหมาะ                                 3. ปั้นดินที่หมักเป็นก้อนๆ ยาวประมาณ 1 ศอกนำไปวางไว้ในลานวงกลมแล้วใช้ควายย่ำให้ทั่ว เรียกว่า นวดดิน ปัจจุบันพัฒนามาเป็นการใช้เครื่องนวดแทนควาย                4. นำดินที่นวดแล้วมาตั้งเป็นกองใหญ่ แล้วเหยียบให้เป็นกองแบนลง ถ้าพบเศษวัสดุอะไรในดินก็หยิบออกมาแล้วนำผ้ามาคลุมดินไว้เพื่อรอการนำดินมาใช้ในการปั้นต่อไป                                  5. นำดินมาปั้นเป็นแท่งกลมยาวเพื่อขึ้นรูป โดยขึ้นรูปบนแป้นหมุน เรียกว่า ก่อพิมพ์ เป็นการปั้นครึ่งล่างของภาชนะที่ปั้น      6. นำครึ่งล่างที่ปั้นเสร็จแล้วไปผึ่งให้หมาดๆ แล้วนำมาปั้นต่อให้เสร็จตามรูปแบบที่ต้องการ      7. นำมาผึ่งให้หมาดๆ แล้วนำไปขัดผิวให้เรียบโดยใช้ลูกสะบ้าขัด ทำให้ผิวเรียบและมันแล้วนำไปตากให้แห้ง               8. นำภาชนะที่ปั้นเรียนร้อยแล้วและแห้งดีแล้วไปเข้าเตาเผา ซึ่งเป็นเตาก่อด้วยอิฐ<br />9. ในการเผาจะใช้เวลาประมาณ 2 คืน 3 วัน และต้องคอยใช้ฟืนในเตาเผาตลอดทั้งวันทั้งคืนเพื่อให้ได้ความร้อนสม่ำเสมอและทำให้ดินสุกได้ทั่วถึง    10. เมื่อเผาได้ตามที่กำหนดเวลาต้องงดใส่ไฟ แล้วปล่อยทิ้งไว้ในเตาเผา 2 คืน โดยค่อยๆ เปิดช่องว่างเพื่อค่อยๆระบายความร้อนเรียกว่า แย้มเตา   11. นำภาชนะที่เผาเรียนร้อยแล้วออกจากเตาคัดเลือกชิ้นที่มีสภาพดีนำไปจำหน่าย<br />ประโยชน์การใช้งานของวัสดุในงานภูมิทัศน์<br />ใช้ตกแต่งประดับสวน<br />ให้แสงสว่างในเวลากลางคืน<br />สามารถสร้างสุนทรียภาพได้ดี<br />ใช้ประดับได้ทั้ง กลางแจ้ง และในร่ม<br />นายศิวา  เหมือนฟู  รหัส 5219101329   สาขาเทคโนโลยีภูมิทัศน์ 4 ปี<br />
พิพิธภัณฑ์ บ้านจ๊างนัก  นายศิวา เหมือนฟู 5219101329
พิพิธภัณฑ์ บ้านจ๊างนัก  นายศิวา เหมือนฟู 5219101329
พิพิธภัณฑ์ บ้านจ๊างนัก  นายศิวา เหมือนฟู 5219101329
พิพิธภัณฑ์ บ้านจ๊างนัก  นายศิวา เหมือนฟู 5219101329
พิพิธภัณฑ์ บ้านจ๊างนัก  นายศิวา เหมือนฟู 5219101329
พิพิธภัณฑ์ บ้านจ๊างนัก  นายศิวา เหมือนฟู 5219101329
พิพิธภัณฑ์ บ้านจ๊างนัก  นายศิวา เหมือนฟู 5219101329
พิพิธภัณฑ์ บ้านจ๊างนัก  นายศิวา เหมือนฟู 5219101329
พิพิธภัณฑ์ บ้านจ๊างนัก  นายศิวา เหมือนฟู 5219101329
พิพิธภัณฑ์ บ้านจ๊างนัก  นายศิวา เหมือนฟู 5219101329
พิพิธภัณฑ์ บ้านจ๊างนัก  นายศิวา เหมือนฟู 5219101329
พิพิธภัณฑ์ บ้านจ๊างนัก  นายศิวา เหมือนฟู 5219101329
พิพิธภัณฑ์ บ้านจ๊างนัก  นายศิวา เหมือนฟู 5219101329

More Related Content

Similar to พิพิธภัณฑ์ บ้านจ๊างนัก นายศิวา เหมือนฟู 5219101329

บ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุง
บ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุงบ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุง
บ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุง
PN17
 
บ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนักบ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนัก
PN17
 
จางหนัก
จางหนักจางหนัก
จางหนัก
leam2531
 
ศิวกานต์+..
ศิวกานต์+..ศิวกานต์+..
ศิวกานต์+..
PN17
 
พิพิธภัณฑ์บ้านจ๊างนัก
พิพิธภัณฑ์บ้านจ๊างนักพิพิธภัณฑ์บ้านจ๊างนัก
พิพิธภัณฑ์บ้านจ๊างนัก
Artit Songsee
 
ถอดบทเรีย..
ถอดบทเรีย..ถอดบทเรีย..
ถอดบทเรีย..
pawidchaya
 
ถอดบทเรีย..
ถอดบทเรีย..ถอดบทเรีย..
ถอดบทเรีย..
pawidchaya
 
Doc3
Doc3Doc3
Doc3
PN17
 
บ้านจ
บ้านจบ้านจ
บ้านจ
PN17
 
ถอดบทเรียน บ้านจ๊างนัก
ถอดบทเรียน   บ้านจ๊างนักถอดบทเรียน   บ้านจ๊างนัก
ถอดบทเรียน บ้านจ๊างนัก
pawidchaya
 
ถอดบทเรียน บ้านจ๊างนัก
ถอดบทเรียน   บ้านจ๊างนักถอดบทเรียน   บ้านจ๊างนัก
ถอดบทเรียน บ้านจ๊างนัก
pawidchaya
 
ถอดบทเรียน บ้านจ๊างนัก
ถอดบทเรียน   บ้านจ๊างนักถอดบทเรียน   บ้านจ๊างนัก
ถอดบทเรียน บ้านจ๊างนัก
pawidchaya
 

Similar to พิพิธภัณฑ์ บ้านจ๊างนัก นายศิวา เหมือนฟู 5219101329 (20)

บ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุง
บ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุงบ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุง
บ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุง
 
บ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนักบ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนัก
 
จางหนัก
จางหนักจางหนัก
จางหนัก
 
งานบ้านถวาย
งานบ้านถวายงานบ้านถวาย
งานบ้านถวาย
 
งานบ้านถวาย
งานบ้านถวายงานบ้านถวาย
งานบ้านถวาย
 
ถอดบทเรียน
ถอดบทเรียนถอดบทเรียน
ถอดบทเรียน
 
บ้านจ๊างนัก1
บ้านจ๊างนัก1บ้านจ๊างนัก1
บ้านจ๊างนัก1
 
ศิวกานต์+..
ศิวกานต์+..ศิวกานต์+..
ศิวกานต์+..
 
พิพิธภัณฑ์บ้านจ๊างนัก
พิพิธภัณฑ์บ้านจ๊างนักพิพิธภัณฑ์บ้านจ๊างนัก
พิพิธภัณฑ์บ้านจ๊างนัก
 
ถอดบทเรียน
ถอดบทเรียนถอดบทเรียน
ถอดบทเรียน
 
ถอดบทเรียน
ถอดบทเรียนถอดบทเรียน
ถอดบทเรียน
 
ถอดบทเรีย..
ถอดบทเรีย..ถอดบทเรีย..
ถอดบทเรีย..
 
ถอดบทเรีย..
ถอดบทเรีย..ถอดบทเรีย..
ถอดบทเรีย..
 
Doc3
Doc3Doc3
Doc3
 
บ้านจ
บ้านจบ้านจ
บ้านจ
 
ถอดบทเรียน บ้านจ๊างนัก
ถอดบทเรียน   บ้านจ๊างนักถอดบทเรียน   บ้านจ๊างนัก
ถอดบทเรียน บ้านจ๊างนัก
 
ถอดบทเรียน บ้านจ๊างนัก
ถอดบทเรียน   บ้านจ๊างนักถอดบทเรียน   บ้านจ๊างนัก
ถอดบทเรียน บ้านจ๊างนัก
 
ถอดบทเรียน บ้านจ๊างนัก
ถอดบทเรียน   บ้านจ๊างนักถอดบทเรียน   บ้านจ๊างนัก
ถอดบทเรียน บ้านจ๊างนัก
 
ถอดบทเรียน นายนพประสิทธิ์ สิงห์ประเสริฐ-309
ถอดบทเรียน นายนพประสิทธิ์ สิงห์ประเสริฐ-309ถอดบทเรียน นายนพประสิทธิ์ สิงห์ประเสริฐ-309
ถอดบทเรียน นายนพประสิทธิ์ สิงห์ประเสริฐ-309
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 

พิพิธภัณฑ์ บ้านจ๊างนัก นายศิวา เหมือนฟู 5219101329

  • 1. -19304034290พิพิธภัณฑ์ บ้านจ๊างนัก<br /> ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2528 โดย สล่าเพชร วิริยะซึ่งได้รวบรวมเพื่อนฝูง ตลอดจนลูกศิษย์ลูกหา ช่างแกะสลักฝีมือดีและมีความรักในศิลปะการแกะสลัก ไม้แบบล้านนามารวมตัวกันจัดตั้ง กลุ่มแกะสลักขึ้นมา<br />2417445735965เมื่อปีพ.ศ.2531 คุณลุงประยูร จรรยาวงศ์ (2458) คอลัมน์นิสต์ชื่อดังแห่งหนังสือพิมพ์ ไทยรัฐในขณะ นั้น ได้ให้เกียรติ มา เยี่ยม เยือน พร้อมกับตั้งชื่อบ้านว่า “บ้านจ๊างนัก” อันหมายถึงบ้านที่มีช้าง เยอะแยะมากมายบ้านจ๊างนักได้มีการพัฒนารูปแบบการแกะสลักช้าง จากเดิมที่ช่างแกะจะมีการแกะสลักแบบ ตายตัว รูปแบบจะซ้ำกันมาเป็นการแกะสลักช้างที่ดูมีชีวิตชีวา มีท่าทางท่วงทำนองที่เหมือน ช้างจริง ๆ ซึ่งนับเป็นแห่งแรกที่มีการแกะสลักช้าง รูปแบบนี้ บ้านจ๊างนักยังเป็นแห่งแรกที่มีการทดลองนำวัสดุใหม่ๆที่หาได้ในท้องถิ่นมาทดแทนวัสดุเดิม ที่นับวันมีแต่จะหายากมากขึ้น เช่น มีการนำเอาไม้ขี้เหล็กมาทดแทนไม้สัก ซึ่งประโยชน์เพียงอย่างเดียวของไม้ขี้เหล็ก ในสมัยก่อน คือนำมาทำเป็นเชื้อเพลิงเท่านั้น และผลที่ได้จากการนำมาแกะสลักพบว่า ไม้ขี้เหล็กเป็นไม้เนื้อแข็งมากการแกะค่อน ข้างยากกว่าไม้สัก แต่ผลงานที่ออกมาจะสวยงาม และสีเป็นธรรมชาติ นอกจากการทดลองเรื่องของไม้แล้ว ยังมีการนำเอาภูมิปัญญาชาวบ้านที่สืบทอด กันมามาประยุกต์ใช้ กับงานแกะสลัก นั่นก็คือ นำเอาลูกมะเกลือที่ใช้ในการย้อมผ้า มาย้อมสีไม้ซึ่งก็ให้สีที่เป็นธรรมชาติและ ไม่มีสารพิษตกค้างเป็นอันตราย ต่อมนุษย์ และสิ่งแวดล้อมเมื่อปี พ.ศ. 2546 บ้านจ๊างนัก ได้รับการบรรจุให้เป็นหนึ่งในพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น สังกัด เอกชน ยังผลให้เป็นที่รู้จัก กันอย่างแพร่หลายในหมู่นักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและ ชาวต่างประเทศ ที่มีความสนใจในศิลปะแขนงนี้นอกจากนี้ หนึ่งในความภาคภูมิใจของสล่าบ้านจ๊างนักทุกคนคือ การที่เป็นส่วนหนึ่งของการทำให้ผู้คน ได้เกิดความรัก หวงแหน และ ตระหนักถึงความสำคัญ และปัญหาของ ช้างไทยในปัจจุบัน และร่วมกันอนุรักษ์ช้างไทยให้อยู่คู่กับคนไทยอีกนานเท่านานประวัติและผลงานของ สล่าเพชร วิริยะศินปินดีเด่นจังหวัดเชียงใหม่ประจำปี2543สาขาทัศนศิลป์ด้านประติมากรม<br />ประวัติ<br />32054801243330สล่า เพชร วิริยะ เกิดเมื่อวันที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2498 สถานที่เกิด บ้านบวกค้าง อำเภอสันกำแพง จังหวัดเชียงใหม่ เป็นบุตรของ นายสิงห์ วิริยะ และ นางบัวจีน วิริยะ มีพี่น้อง 5 คน คือ1. นายเพชร วิริยะ2. นายสุภาพ วิริยะ3. นายเสน่ห์ วิริยะ4. นายพิภัคร์ วิริยะ5. นางเพลินจิต วิริยะ<br />ที่อยู่ quot; บ้านจ๊างนักquot; บ้านเลขที่ 56/1 หมู่ที่ 2 ตำบลบวกค้าง อำเภอสันกำแพง จังหวัดเชียงใหม่ โทรศัพท์ (053) 3446891,01-4725051ครอบครัว นายเพชร วิริยะ สมรสกับนางนงเยาว์ วิริยะ (นันไชยศิลป์) มีบุตรธิดาทั้งหมด 2 คน คือ1. นางสาววารียา วิริยะ2. นางสาวเวรุยา วิริยะการศึกษาระดับประถมศึกษาปีที่ 4 จากโรงเรียนผู้ใหญ่ 1 หอพระ จังหวัดเชียงใหม่การศึกษาผู้ใหญ่ ระดับ 4 (ม.ศ. 3) จากโรงเรียนผู้ใหญ่สันกำแพง อำเภอสันกำแพง จังหวัดเชียงใหม่<br />-393700806450ผลงาน<br />ผลงานของสล่าเพชรทำจำหน่ายในนาม quot; บ้านจ๊างนัก” ซึ่งเขาเป็นหัวเรือใหญ่ในการรวบรวมช่างฝีมือในท้องถิ่น ต.บวกค้าง อ.สันกำแพง จ.เชียงใหม่ และผ่านการคัดเลือกให้เป็นสินค้าหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ ประเภทผลิตภัณฑ์ 5 ดาว ระดับภาค ทุกวันนี้สินค้าจากชุมชนแห่งนี้กระจายไปอยู่ทั่วโลก กว่าจะถึงจุดนี้ สล่าเพชร ย้อนเรื่องราวในวัยหนุ่มว่า เมื่อปี 2515-2519 ได้เรียนรู้การแกะสลักไม้รูปช้าง กับ ครูคำอ้าย เดชดวงตา พร้อมกับเพื่อนร่วมรุ่นอีกหลายคน พอมีฝีมือติดตัวก็ตระเวนทำงานแกะสลักไม้ตามสถานที่ต่างๆ และตามประสาวัยรุ่นที่รักความท้าทาย หลังจากเป็นหนุ่มพเนจรอยู่หลายปี จึงหวนคืนสู่บ้านเกิดที่สันกำแพงราวปี 2528 และคิดปักหลักทำมาหากินบนผืนดินมารดา จึงรวบรวมเพื่อนสล่าและลูกศิษย์ 5-6คน ก่อตัวเป็นทีมงานแกะสลักช้างในแบบเหมือนจริงจำหน่ายจนมีผลงานออกมาเป็นที่รู้จักของคนทั่วไป quot; ที่มาของบ้านจ๊างนัก คุณลุงประยูร จรรยาวงษ์ ราชานักเขียนการ์ตูนชื่อดัง เป็นผู้ตั้งให้ บ้านจ๊างนักเป็นภาษาถิ่นความหมายว่า มีช้างแกะสลักมากนั่นเอง ทุกวันนี้บ้านจ๊างนักมีทีมงานแกะสลักเกือบ 50 คน ซึ่งเป็นญาติพี่น้องเพื่อนลูกศิษย์และคนหนุ่มๆในหมู่บ้านทั้งสิ้นquot; สล่าเพชรเล่าความเป็นมา มาถึงยุคปัจจุบันงานฝีมือจากบ้านจ๊างนักยิ่งทวีความนิยมมากขึ้น -590551885315โดยเฉพาะในหมู่นักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและต่างชาติที่มีโอกาสแวะชมงานหัตถกรรมล้านนา ต่างซื้อติดมือกลับบ้านเพื่อเป็นของฝากหรือนำไปตกแต่งบ้าน แต่ถ้าเป็นช้างตัวโตๆ ทีมงานของสล่าเพชรก็จะหาหนทางจัดส่งให้ลูกค้าถึงปลายทาง งานศิลปะของบ้านจ๊างนักจึงกระจายไปทั่วทุกมุมโลก quot; การทำช้างของบ้านจ๊างนักตอนนี้ มีทั้งงานแกะสลักไม้และปูนปั้น เดือนหนึ่งมีผลงานนับร้อยชิ้น ราคาขึ้นอยู่กับขนาดเฉลี่ยตั้งแต่ 1,000 บาท ไปจนถึงมูลค่า 7 หลัก ซึ่งผลงานที่เราภูมิใจมากคือการแกะ สลักช้างไม้ชื่อ คิริเมขล์ไตยดายุค เป็นช้างสามเศียรขนาดสูง 5 เมตร กว้าง 3 เมตร ใช้เวลาสร้างประมาณ 3 ปี ผมเตรียมส่งให้ลูกค้าราวกลางเดือนสิงหาคมนี้quot; สล่าเพชร กล่าว สล่าเพชร บอกอีกว่า งานมหกรรมพืชสวนโลกเฉลิมพระเกียรติ ราชพฤกษ์ 2549 ซึ่งประเทศไทยเป็นเจ้าภาพจัดขึ้นที่ จ.เชียงใหม่ ระหว่างวันที่ 1 พฤศจิกายน 2549 ถึงวันที่ 31 มกราคม 2550 สล่าเพชรได้รับความไว้วางใจจากภาครัฐให้ทำช้างประดับทางเข้าสู่เข้างาน ประกอบด้วย บริเวณวงแหวน 5 ตัว สะพาน 4 ตัว และหัวช้างประดับเสา 44 หัว สำหรับวัตถุดิบสำคัญคือ quot; ไม้quot; ใช้ได้ทั้งไม้เนื้ออ่อน และไม้เนื้อแข็ง แต่ที่นิยมกันมากและทำกันมาโดยตลอดคือ ไม้สัก ซึ่งเป็นไม้เนื้อละเอียดง่ายต่อการ นำมาแกะสลักเป็นลวดลายต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นสัตว์ หรือต้นไม้ แต่ไม้ชนิดนี้ขนาดใหญ่หายาก และราคาสูง จึงเลือกใช้ไม้ขี้เหล็ก ไม้ฉำฉาและไม้ขนุนซึ่งในอดีตเป็นเพียงไม้ทำฟืนของชาวบ้านเท่านั้น-565157013575 เครื่องมือที่ใช้แกะสลัก คือ สิ่วหมัก หรือ สิ่วตัววี (V) ใช้สลักนำเส้นตามแบบงานและใช้แต่งลาย เส้นต่างๆ สิ่วแบน ใช้ถากย้ำเส้นต่างๆ และตัดไม้ส่วนที่ไม่ต้องการออก สิ่วแกะ หรือ สิ่วตัวยู (U) ใช้ถาก เจาะ และตกแต่งรายละเอียดของชิ้นงานและค้อนอุปกรณ์ที่ต้องใช้ตอกสิ่ว<br />วิธีแกะสลัก ร่างแบบงานบนกระดาษแข็ง แล้วนำมาทาบกับไม้ที่เตรียมไว้ แกะเอาไม้ส่วนที่ไม่ต้องการออกให้เหลือแต่โครงสร้างตามแบบที่ร่างไว้ ส่วนความเว้าก็แกะออกจนเป็นรูปร่างตามแบบที่ร่างไว้เช่นกัน จากนั้นตกแต่งรายละเอียด เช่น ลายผิวหนัง หรือลายกลีบดอกไม้ ขั้นตอนสุดท้าย ทาสีและขัดตกแต่ง ใช้สีธรรมชาติทำจากผลมะเกลือ ขั้นตอนคือนำผลมะเกลือมาตำ แล้วหมักกับน้ำปูนใส ก่อนใช้น้ำที่หมักทาผลงานให้เป็นสีดำ และทาซ้ำจนกระทั่งดำจนพอใจ จึงนำไปตากให้แห้งสนิท ใช้แปลงทองเหลืองขัดกากของมะเกลือออก จะได้ชิ้นงานสีดำเทาดูเป็นธรรมชาติทั้งนี้ “บ้านจ๊างนัก” นับเป็นแหล่งศึกษาด้านการแกะสลักช้าง และการท่องเที่ยวด้านศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นที่สำคัญของ อ.สันกำแพง<br />3461385312420บ้านถวาย หมู่บ้านไม้แกะสลัก<br />                  อดีตที่ผ่านมา 40 กว่าปี บ้านถวายได้สืบสานงานไม้จากรุ่นสู่รุ่นจากการก่อกำเนิดขึ้นของปูชนยบุคคล 3 ท่าน คือพ่อหนานแดง พันธุสา, พ่อใจ๋มา อิ่นแก้ว และพ่อเฮือน พันธุศาสตร์ ที่ได้เดินทางไปทำงานและเรียนแกะสลักไม้ที่ร้านน้อมศิลป์ บ้านวัวลาย ประตูเชียงใหม่ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ เมื่อ พ.ศ. 2500-2505 และได้นำมาแพร่หลายในหมู่บ้านถวาย จนกลายเป็นหมู่บ้านหัตถกรรม ไม้แกะสลักที่มีฝีมือ และมีชื่อเสียง เป็นที่รู้จักของชาวไทยและชาวต่างประเทศ<br />ประวัติหมู่บ้าน บ้านถวาย เป็นหมู่บ้านเก่าแก่ ตั้งมาประมาณ 100 กว่าปี สาเหตุที่ชื่อบ้านถวาย ตามคำบอกเล่าของผู้เฒ่าผู้แก่ เล่าว่าบ้านถวาย ดั้งเดิมเป็นจุดถวายของให้พระนางเจ้าจามเทวีที่เสด็จผ่าน จากนครลำพูน ซึ่งเดินทางโดยทางเกวียนผ่านมาทางบ้านถวาย ชาวบ้านเมื่อทราบข่าวการจะเสด็จผ่านของพระนางฯ จึงพากันเตรียมข้าวของ หรือบางครอบครัวก็จะช่วยกันรีบตีเครื่องเงินเตรียมไว้ถวาย<br />          บ้านถวายเป็นหมู่บ้านหนึ่ง ในตำบลขุนคง  อำเภอหางดง  จังหวัดเชียงใหม่  ระยะทางห่างจากตัวเมืองเชียงใหม่   ประมาณ 18 กิโลเมตร แต่เดิมชาวบ้านประกอบอาชีพหลักทางด้านการเกษตร แต่เมื่อประสบกับภาวะขาดแคลนน้ำในฤดูแล้งทำให้ผลผลิตตกต่ำ ส่งผลให้ชาวบ้านมีรายได้น้อย   ดังนั้นหลังฤดูเก็บเกี่ยวชาวบ้านส่วนใหญ่จะเดินทางไปรับจ้างทำงานในตัว เมืองเชียงใหม่  เช่น รับจ้าง ก่อสร้าง และอื่น ๆ แต่มีบางส่วนออกไปค้าขายไม่ได้ประกอบอาชีพอยู่ในท้องถิ่นของตัวเอง<br />          จนกระทั่ง ปี พ.ศ. 2500- 2505 พ่อใจ๋มา อิ่นแก้ว พ่อหนานแดง พันธุสา และพ่อเฮือน พันธุศาสตร์ ทั้งสามท่านได้ไปรับจ้างอยู่ในตัวเมืองเชียงใหม่ เช่นเดียวกับชาวบ้านทั่วไป จนท่านได้ไปที่ร้านน้อมศิลป์   บ้านวัวลายซึ่งเป็นร้านจำหน่ายไม้แกะสลักที่โด่งดังในช่วงนั้น ทั้งสามท่านเกิดความสนใจในการรับจ้างแกะสลักไม้ จึงได้ขอทางร้านทดลองแกะดู  ปรากฏว่าฝีมือพอทำได้  ทางร้านจึงให้เริ่มทำงานรับจ้างที่ร้านน้อมศิลป์ตั้งแต่นั้นมา การทำงานแกะสลักไม้ของทั้งสามท่านปรากฏว่ามีรายได้ดีกว่าการรับจ้างก่อสร้าง และทุกวันฝีมือการแกะสลักก็พัฒนาขึ้นเรื่อย ๆ ท่านจึงเปลี่ยนอาชีพจากการับจ้างทั่วไปมาเป็นการรับจ้างแกะสลักไม้ที่ร้าน ดังกล่าว จนเมื่อเกิดความชำนาญ และเมื่อมีงานมากขึ้นทั้งสามท่านจึงได้ขอนำมาทำที่บ้าน  และถือเป็นจุดเริ่มต้นของการถ่ายทอดงานแกะสลักไม้ให้แก่ลูกหลาน  ญาติพี่น้อง  เพื่อนบ้านโดยไม่รู้ตัวและไม่หวงความรู้แม้แต่น้อย งานที่นำมาถ่ายทอดครั้งแรก เป็นการแกะสลักไม้แผ่นลวดลายต่าง ๆ เช่น ลายรามเกียรติ์ ลายครุฑ ตุ๊กตาดนตรี ต่อมาเริ่มทำเป็น ตัวพระ และรับซ่อมตกแต่งของเก่าประเภทงานไม้ และเริ่มเลียนแบบของเก่าที่มีผู้นำมาซ่อม พร้อมทั้งออกแบบงานที่เป็นเอกลักษณ์ของบ้านถวายเอง จากนั้นได้มีกลุ่มสตรีแม่บ้านของบ้านถวายเองซึ่งออกไปรับจ้างทำงานสี งานแอนติค และตกแต่งลวดลายเส้นที่ร้านในเมืองเชียงใหม่ ย่านวัวลาย และได้พัฒนาฝีมือ ทำลวดลาย ปิดทอง จนเกิดความชำนาญเช่นเดียวกัน เมื่อมีงานเพิ่มขึ้นทางร้านให้นำมาทำที่บ้านโดยคิดค่าจ้างทำเป็นชิ้น เมื่องานเสร็จก็นำไปส่งที่ร้าน ก็นับว่าเป็นโอกาสดีที่จะได้นำมาถ่ายทอดในหมู่บ้าน และโอกาสในการพบปะกับลูกค้าของทางร้าน ซึ่งลูกค้าก็ได้ติดต่อโดยตรงและเข้ามาซื้อสินค้าถึงในหมู่บ้านจึงทำให้บ้าน ถวายเริ่มกลายเป็นแหล่งซื้อหาไม้แกะสลักและเกิดธุรกิจขึ้นในหมู่บ้าน     ตั้งแต่นั้นมาแต่ละบ้านเริ่มจะปรับบริเวณบ้านของตนเอง โดยใช้บริเวณหน้าบ้านเป็นร้านค้า ส่วนหลังบ้านก็ทำงานหัตถกรรมแกะสลักไม้ ตกแต่งผลิตภัณฑ์ ในครอบครัวตั้งแต่นั้นมา<br />342675996371งานพิมพ์ลาย หรือเพ้นท์ลายลงบนประตูหน้าต่างเก่า<br />1467293453921-446405337185<br />     <br />เป็นงานที่มีการสร้างสรรค์ที่ประยุกต์จางของเก่าแล้วใส่ไอเดียเข้าไปใหม่ ถือเป็นการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับของเก่า<br />วิธีการทำ<br />นำไม้เก่ามาทำความสะอาดแล้วพึ่งให้แห้ง<br />จากนั้นร่างแบบที่ต้องการลงบนบานประตูหรือหน้าต่าง<br />ลงสีและเก็บรายละเอียดของลวดลายที่วาดไว้<br />พึ่งให้แห้ง(งานแกะสลักบานประตูและหน้าต่างเก่าก็มีจำหน่าย)<br />ราคา ขึ้นอยู่กับขนาดและลวดลายของสินค้า (สามารถต่อรองราคาได้)<br />ประโยชน์การใช้งานของวัสดุในงานภูมิทัศน์<br />ใช้ประดับตกแต่งอาคารกลางแจ้ง<br />ประดับผนังเพื่อสร้างความโดดเด่น<br />ทำเป็นแนว สกรีน ให้กับพื้นที่ได้<br />บ้านเหมืองกุง <br />บ้านเหมืองกุงเป็นหมู่บ้านเล็ก ๆ อยู่ไม่ไกลจากตัวเมืองเชียงใหม่มากนักเดินทางสะดวกตามถนนสายเชียงใหม่-หางดงเพียง 6 กิโลเมตร ใช้เวลาเดินทางประมาณ 10นาทีและยังเป็นทางผ่านไปยังสถานที่ท่องเที่ยวสำคัญ เช่น บ้านถวาย ดอยอินทนนท์ ทั้งยังอยู่ใกล้แหล่งท่องเที่ยวใหม่ อาทิ เชียงใหม่ไนท์ซาฟารี, พืชสวนโลก เป็นต้น<br />บ้านเหมืองกุงได้รับเลือกจากพัฒนาชุมชน อ.หางดง และการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ให้เป็นหมู่บ้านโอท็อปเพื่อการท่องเที่ยวเมื่อหลายปีก่อน เพราะเป็นหมู่บ้านผลิตเครื่องปั้นดินเผาที่มีเรื่องราวประวัติศาสตร์ วิถีวัฒนธรรมที่สามารถร้อยเรียงเชื่อมโยงได้อย่างกลมกลืนกับการท่องเที่ยว<br />2732405408940โคมไฟหม้อดินเผา<br />วัสดุทำจากดินเหนียว ราคา 150 บาท<br />วิธีการทำ<br />1. นำดินเหนียวมากองไว้เตรียมใช้งานเรียกว่า กองดิน 2. ซอยดินเหนียว แล้วนำไปพรมน้ำหมักค้างคืน โดยใช้ใบตองแห้งคลุมให้ดินชุ่มน้ำพอเหมาะ 3. ปั้นดินที่หมักเป็นก้อนๆ ยาวประมาณ 1 ศอกนำไปวางไว้ในลานวงกลมแล้วใช้ควายย่ำให้ทั่ว เรียกว่า นวดดิน ปัจจุบันพัฒนามาเป็นการใช้เครื่องนวดแทนควาย 4. นำดินที่นวดแล้วมาตั้งเป็นกองใหญ่ แล้วเหยียบให้เป็นกองแบนลง ถ้าพบเศษวัสดุอะไรในดินก็หยิบออกมาแล้วนำผ้ามาคลุมดินไว้เพื่อรอการนำดินมาใช้ในการปั้นต่อไป 5. นำดินมาปั้นเป็นแท่งกลมยาวเพื่อขึ้นรูป โดยขึ้นรูปบนแป้นหมุน เรียกว่า ก่อพิมพ์ เป็นการปั้นครึ่งล่างของภาชนะที่ปั้น 6. นำครึ่งล่างที่ปั้นเสร็จแล้วไปผึ่งให้หมาดๆ แล้วนำมาปั้นต่อให้เสร็จตามรูปแบบที่ต้องการ 7. นำมาผึ่งให้หมาดๆ แล้วนำไปขัดผิวให้เรียบโดยใช้ลูกสะบ้าขัด ทำให้ผิวเรียบและมันแล้วนำไปตากให้แห้ง 8. นำภาชนะที่ปั้นเรียนร้อยแล้วและแห้งดีแล้วไปเข้าเตาเผา ซึ่งเป็นเตาก่อด้วยอิฐ<br />9. ในการเผาจะใช้เวลาประมาณ 2 คืน 3 วัน และต้องคอยใช้ฟืนในเตาเผาตลอดทั้งวันทั้งคืนเพื่อให้ได้ความร้อนสม่ำเสมอและทำให้ดินสุกได้ทั่วถึง 10. เมื่อเผาได้ตามที่กำหนดเวลาต้องงดใส่ไฟ แล้วปล่อยทิ้งไว้ในเตาเผา 2 คืน โดยค่อยๆ เปิดช่องว่างเพื่อค่อยๆระบายความร้อนเรียกว่า แย้มเตา 11. นำภาชนะที่เผาเรียนร้อยแล้วออกจากเตาคัดเลือกชิ้นที่มีสภาพดีนำไปจำหน่าย<br />ประโยชน์การใช้งานของวัสดุในงานภูมิทัศน์<br />ใช้ตกแต่งประดับสวน<br />ให้แสงสว่างในเวลากลางคืน<br />สามารถสร้างสุนทรียภาพได้ดี<br />ใช้ประดับได้ทั้ง กลางแจ้ง และในร่ม<br />นายศิวา เหมือนฟู รหัส 5219101329 สาขาเทคโนโลยีภูมิทัศน์ 4 ปี<br />