SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อน (Thermal Power Plant) 
ณัฐวุฒิ ค่าไทยสง 
สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ 
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก
โรงไฟฟ้าที่ใช้พลังความร้อนจากเชือ้เพลิงชนิดต่าง ๆ เช่น ถ่านหิน นา้มันเตา ก๊าซธรรมชาติและนิวเคลียร์ 
มาต้มนา้ให้เป็นไอความดันสูงไปขับดันกังหันให้หมุนเป็นพลังงานกล และต่อเพลาเข้ากับเครื่องกาเนิดไฟฟ้า ทาให้เกิด 
กระแสไฟฟ้าซึ่งมีแรงดันและความถี่ตามที่กาหนดไว้ หรือใช้ความร้อนจากการสันดาปภายในของนา้มันดีเซลของ 
เครื่องยนต์ดีเซลไปฉุดเครื่องกาเนิดไฟฟ้าให้กาเนิดไฟฟ้าได้เช่นกัน โรงไฟฟ้าพลังความร้อนอาจแยกออกได้เป็นแบบต่าง ๆ 
ได้ดังนี้ 
1. โรงไฟฟ้าพลังความร้อนกังหันไอน้า 
2. โรงไฟฟ้ากังหันก๊าซ 
3. โรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วม 
4. โรงไฟฟ้าดีเซล 
5. โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์
โรงไฟฟ้าพลังความร้อน 
เป็นโรงไฟฟ้าที่ใช้น้า มันเตา หรือถ่านหิน เป็นเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้า อาศัยความร้อนจากการ 
เผาไหม้เชื้อเพลิงไปต้มน้า ให้เป็นไอน้า ที่มีแรงดันและมี อุณหภูมิสูง เพื่อไปขับดันกังหันไอน้า ซึ่ง 
จะมีเพลาต่อเชื่อมกับเครื่องกา เนิดไฟฟ้า จากนั้นไอน้า จะผ่านไปกลั่นตัวเป็นน้า ที่เครื่องควบแน่น 
และถูกส่งกลับมารับความร้อนในหม้อน้า (Boiler) อีกครั้ง
โรงไฟฟ้าพลังความร้อนหรือพลังไอน้า Thermal/Steam Power 
• อุปกรณ์หลักในโรงไฟฟ้าพลังความร้อนกังหันไอน้า ได้แก่ 
 หม้อไอน้า (Boiler )  เครื่องกา เนิดไฟฟ้า (Generator) 
 กังหันไอน้า (Steam Turbine)
หม้อไอน้า Boiler 
• ผลิตไอน้าที่มีความดันและอุณหภูมิสูง 
หม้อไอน้าประกอบด้วย 
• ระบบป้อนน้าเลี้ยง 
• ระบบเผาไหม้เชื้อเพลิง 
• ระบบไอน้า
กังหันไอน้า (Stream Turbine) 
ใช้ไอน้าไปดันใบพัด ทา ให้วงล้อ 
และ เพลาหมุน 
กังหันไอน้า แบบแรง 
กระแทก (Impulse Steam Turbine) 
กังหันไอน้า แบบแรงปฏิกิริยา 
(Reaction Steam Turbine)
แผนภูมิของโรงไฟฟ้าที่ใช้พลังงานความร้อนกังหันไอน้า
น้ามันเตา 
เป็นน้า มันที่ใช้เป็นเชื้อเพลิงในอุตสาหกรรม โดยน้า มันเตาของไทยออยด์แบ่ง เป็น 3 เกรด คือ 
1. น้า มันเตาชนิดที่ 1 หรือ น้า มันเตา A (FOA) เป็นน้า มันเตาใส ที่มีความหนืดต่า ไม่เกิน 
80 เซนติสโตกส์ที่อุณหภูมิ 50℃และมีปริมาณกา มะถันต่า จึงเหมาะกับอุปกรณ์เผาไหม้สะอาด 
ไม่มีเขม่า ควันดา ละออง ถ่าน หรือ กา มะถันสูง เช่น อุตสาหกรรมทา กระเบี้อง 
2. น้า มันเตาชนิดที่ 2 หรือ น้า มันเตา C (FOC) เป็นน้า มันเตาที่มีความหนืดปานกลาง 
คือ ไม่เกิน 180 เซนติสโตกส์ที่อุณหภูมิ 50℃และมีปริมาณกา มะถัน ไม่เกิน 2% โดยน้า หนัก 
มักใช้เป็นเชื้อเพลิงในโรงงานขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ เช่น ใช้เป็นพลังงานในการขับเครื่องจักร 
หรือกังหันไอน้า (Steam Turbine) เพื่อผลิตไฟฟ้า และใช้เป็นเชื้อเพลิงในเตาเผาและเตาหลอม เช่น 
ในการหลอมโลหะ และ การผลิตปูนซิเมนต์ 
3. น้า มันเตาชนิดที่ 3 หรือ (Bunker Fuel) เป็นน้า มันเตาที่มีความหนืดสูง คือ 
ไม่เกิน 380 เซนติสโตกส์ซึ่งใช้เป็นเชื้อเพลิงสา หรับเรือเดินสมุทร มีทั้งที่มีกา มะถันไม่เกิน 3.5% 
และ 4.0% โดยน้า หนัก
ถ่านหิน 
ถ่านหินสามารถแยกประเภทตามลา ดับชั้นได้เป็น ๕ ประเภท คือ 
1. พีต (Peat) เป็นขั้นแรกในกระบวนการเกิดถ่านหิน ประกอบด้วยซากพืชซึ่ง 
บางส่วนได้สลายตัวไปแล้วสามารถใช้เป็นเชื้อเพลิงได้ 
2. ลิกไนต์ (Lignite) มีซากพืชหลงเหลืออยู่เล็กน้อย มีความชื้นมาก เป็นถ่าน 
หินที่ใช้เป็นเชื้อเพลิง 
3. ซับบิทูมินัส (Subbituminous) มีสีดา เป็นเชื้อเพลิงที่มีคุณภาพเหมาะสมใน 
การผลิตกระแสไฟฟ้า 
4. บทิูมินัส (Bituminous) เป็นถ่านหินเนื้อแน่น แข็ง ประกอบด้วยชั้นถ่านหิน 
สีดา มันวาว ใช้เป็นเชื้อเพลิงเพื่อการถลุงโลหะ 
5. แอนทราไซต์(Anthracite) เป็นถ่านหินที่มีลักษณะดา เป็นเงา มันวาวมาก 
มีรอยแตกเว้าแบบก้นหอย ติดไฟยาก
สรุป
สรุปข้อดี ข้อเสียของโรงไฟฟ้าพลังความร้อน(กังหันไอน้า) 
• ข้อดี 
• เชือ้เพลิง (ถ่านหิน) มีราคาถูกและมีปริมาณมากเพียงพอสา หรับโรงไฟฟ้า 
• ต้นทุนในการเดินเครื่องต่า 
• กาลังผลิตสูง สามารถจ่ายเสริมเข้าระบบไฟฟ้ าของประเทศได้อย่างมี 
ประสิทธิภาพ 
• ประหยัดการใช้น้ามัน
สรุปข้อดี ข้อเสียของโรงไฟฟ้าพลังความร้อนกังหันไอน้า 
• ข้อเสีย 
• การเริ่มเดินเครื่องใช้เวลานาน 
• มีมลภาวะของก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ 
• กากขเี้ถ้าจากถ่านหิน ต้องใช้ที่เก็บจา นวนมาก
โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อน Thermal power plant

More Related Content

What's hot

แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้าdnavaroj
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกพัน พัน
 
บทที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับพลังงาน (2)
บทที่  1 ความรู้เกี่ยวกับพลังงาน (2)บทที่  1 ความรู้เกี่ยวกับพลังงาน (2)
บทที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับพลังงาน (2)อัจฉรา นาคอ้าย
 
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้thanapisit marakul na ayudhya
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่Supaluk Juntap
 
หลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏีหลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏีsukanya5729
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกTa Lattapol
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมdnavaroj
 
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพyangclang22
 
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมีการคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมีพัน พัน
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1Chok Ke
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์Jiraporn
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1dnavaroj
 
แผนผังความคิดเรื่องพลังงาน
แผนผังความคิดเรื่องพลังงานแผนผังความคิดเรื่องพลังงาน
แผนผังความคิดเรื่องพลังงานWuttipong Tubkrathok
 
Chapter 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้า
Chapter 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้าChapter 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้า
Chapter 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้าNapasorn Juiin
 
โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติ
โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติโครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติ
โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติbeauntp
 
แรงลัพธ์
แรงลัพธ์แรงลัพธ์
แรงลัพธ์Kan Pan
 

What's hot (20)

แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
 
บทที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับพลังงาน (2)
บทที่  1 ความรู้เกี่ยวกับพลังงาน (2)บทที่  1 ความรู้เกี่ยวกับพลังงาน (2)
บทที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับพลังงาน (2)
 
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
 
การต่อตัวเก็บประจุไฟฟ้า
การต่อตัวเก็บประจุไฟฟ้าการต่อตัวเก็บประจุไฟฟ้า
การต่อตัวเก็บประจุไฟฟ้า
 
หลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏีหลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏี
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
 
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมีการคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
 
แผนผังความคิดเรื่องพลังงาน
แผนผังความคิดเรื่องพลังงานแผนผังความคิดเรื่องพลังงาน
แผนผังความคิดเรื่องพลังงาน
 
Chapter 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้า
Chapter 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้าChapter 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้า
Chapter 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้า
 
โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติ
โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติโครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติ
โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติ
 
ความร้อน
ความร้อนความร้อน
ความร้อน
 
ไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแสไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแส
 
แรงลัพธ์
แรงลัพธ์แรงลัพธ์
แรงลัพธ์
 

Viewers also liked

ไฟฟ้าพลังงานน้ำ Present
ไฟฟ้าพลังงานน้ำ Presentไฟฟ้าพลังงานน้ำ Present
ไฟฟ้าพลังงานน้ำ PresentKasetsart University
 
เศรษฐศาสตร์โรงจักรต้นกำลัง
เศรษฐศาสตร์โรงจักรต้นกำลังเศรษฐศาสตร์โรงจักรต้นกำลัง
เศรษฐศาสตร์โรงจักรต้นกำลังnuchida suwapaet
 
วิชาป่าหรือเขื่อน 101 บทสุดท้าย 4 มูลค่าของเขื่อน มูลค่าของป่า
วิชาป่าหรือเขื่อน 101 บทสุดท้าย 4 มูลค่าของเขื่อน มูลค่าของป่าวิชาป่าหรือเขื่อน 101 บทสุดท้าย 4 มูลค่าของเขื่อน มูลค่าของป่า
วิชาป่าหรือเขื่อน 101 บทสุดท้าย 4 มูลค่าของเขื่อน มูลค่าของป่าBlackRider Asa
 
พลังงานทดแทนและโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทน
พลังงานทดแทนและโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนพลังงานทดแทนและโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทน
พลังงานทดแทนและโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนnuchida suwapaet
 
วิชาป่าหรือเขื่อน 101 บทที่ 1 ป่า ที่เก็บน้ำถาวร เขื่อน ที่เก็บน้ำชั่วคราว
วิชาป่าหรือเขื่อน 101 บทที่ 1 ป่า ที่เก็บน้ำถาวร เขื่อน ที่เก็บน้ำชั่วคราววิชาป่าหรือเขื่อน 101 บทที่ 1 ป่า ที่เก็บน้ำถาวร เขื่อน ที่เก็บน้ำชั่วคราว
วิชาป่าหรือเขื่อน 101 บทที่ 1 ป่า ที่เก็บน้ำถาวร เขื่อน ที่เก็บน้ำชั่วคราวBlackRider Asa
 
พลังงานจากแสงอาทิตย์
พลังงานจากแสงอาทิตย์พลังงานจากแสงอาทิตย์
พลังงานจากแสงอาทิตย์Nan's Tippawan
 
บทที่ 9 โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ (2/57)
บทที่ 9 โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ (2/57)บทที่ 9 โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ (2/57)
บทที่ 9 โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ (2/57)nuchida suwapaet
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมPongsakorn Poosankam
 
พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์
พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์
พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์Ponpirun Homsuwan
 
เรื่องที่ 4 มาตราส่วนและการกำหนดขนาด
เรื่องที่ 4  มาตราส่วนและการกำหนดขนาดเรื่องที่ 4  มาตราส่วนและการกำหนดขนาด
เรื่องที่ 4 มาตราส่วนและการกำหนดขนาดkruood
 
บทที่ 1 การป้องกันอุบัติภัยเกี่ยวกับการปฏิบัติงานทางไฟฟ้า
บทที่ 1 การป้องกันอุบัติภัยเกี่ยวกับการปฏิบัติงานทางไฟฟ้าบทที่ 1 การป้องกันอุบัติภัยเกี่ยวกับการปฏิบัติงานทางไฟฟ้า
บทที่ 1 การป้องกันอุบัติภัยเกี่ยวกับการปฏิบัติงานทางไฟฟ้าNattawut Kathaisong
 
เรื่องที่ 1 เครื่องมือและอุปกรณ์ในงานเขียนแบบ
เรื่องที่ 1 เครื่องมือและอุปกรณ์ในงานเขียนแบบเรื่องที่ 1 เครื่องมือและอุปกรณ์ในงานเขียนแบบ
เรื่องที่ 1 เครื่องมือและอุปกรณ์ในงานเขียนแบบkruood
 
ใบความรู้ เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้า
ใบความรู้ เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้าใบความรู้ เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้า
ใบความรู้ เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้าพัน พัน
 
มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย บทที่5
มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย บทที่5มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย บทที่5
มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย บทที่5พอใจ พลายงาม
 
บทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้า
บทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้าบทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้า
บทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้าNattawut Kathaisong
 

Viewers also liked (20)

ไฟฟ้าพลังงานน้ำ Present
ไฟฟ้าพลังงานน้ำ Presentไฟฟ้าพลังงานน้ำ Present
ไฟฟ้าพลังงานน้ำ Present
 
เศรษฐศาสตร์โรงจักรต้นกำลัง
เศรษฐศาสตร์โรงจักรต้นกำลังเศรษฐศาสตร์โรงจักรต้นกำลัง
เศรษฐศาสตร์โรงจักรต้นกำลัง
 
วิชาป่าหรือเขื่อน 101 บทสุดท้าย 4 มูลค่าของเขื่อน มูลค่าของป่า
วิชาป่าหรือเขื่อน 101 บทสุดท้าย 4 มูลค่าของเขื่อน มูลค่าของป่าวิชาป่าหรือเขื่อน 101 บทสุดท้าย 4 มูลค่าของเขื่อน มูลค่าของป่า
วิชาป่าหรือเขื่อน 101 บทสุดท้าย 4 มูลค่าของเขื่อน มูลค่าของป่า
 
พลังงานทดแทนและโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทน
พลังงานทดแทนและโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนพลังงานทดแทนและโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทน
พลังงานทดแทนและโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทน
 
Sample space
Sample spaceSample space
Sample space
 
วิชาป่าหรือเขื่อน 101 บทที่ 1 ป่า ที่เก็บน้ำถาวร เขื่อน ที่เก็บน้ำชั่วคราว
วิชาป่าหรือเขื่อน 101 บทที่ 1 ป่า ที่เก็บน้ำถาวร เขื่อน ที่เก็บน้ำชั่วคราววิชาป่าหรือเขื่อน 101 บทที่ 1 ป่า ที่เก็บน้ำถาวร เขื่อน ที่เก็บน้ำชั่วคราว
วิชาป่าหรือเขื่อน 101 บทที่ 1 ป่า ที่เก็บน้ำถาวร เขื่อน ที่เก็บน้ำชั่วคราว
 
พลังงานจากแสงอาทิตย์
พลังงานจากแสงอาทิตย์พลังงานจากแสงอาทิตย์
พลังงานจากแสงอาทิตย์
 
บทที่ 9 โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ (2/57)
บทที่ 9 โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ (2/57)บทที่ 9 โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ (2/57)
บทที่ 9 โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ (2/57)
 
Slump test
Slump testSlump test
Slump test
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์
พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์
พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์
 
Counting theorem
Counting theoremCounting theorem
Counting theorem
 
ไฟฟ้าและวงจร
ไฟฟ้าและวงจรไฟฟ้าและวงจร
ไฟฟ้าและวงจร
 
เรื่องที่ 4 มาตราส่วนและการกำหนดขนาด
เรื่องที่ 4  มาตราส่วนและการกำหนดขนาดเรื่องที่ 4  มาตราส่วนและการกำหนดขนาด
เรื่องที่ 4 มาตราส่วนและการกำหนดขนาด
 
บทที่ 1 การป้องกันอุบัติภัยเกี่ยวกับการปฏิบัติงานทางไฟฟ้า
บทที่ 1 การป้องกันอุบัติภัยเกี่ยวกับการปฏิบัติงานทางไฟฟ้าบทที่ 1 การป้องกันอุบัติภัยเกี่ยวกับการปฏิบัติงานทางไฟฟ้า
บทที่ 1 การป้องกันอุบัติภัยเกี่ยวกับการปฏิบัติงานทางไฟฟ้า
 
แบบฝึกหัดที่ 3 การฉายภาพออโธกราฟิก
แบบฝึกหัดที่ 3 การฉายภาพออโธกราฟิกแบบฝึกหัดที่ 3 การฉายภาพออโธกราฟิก
แบบฝึกหัดที่ 3 การฉายภาพออโธกราฟิก
 
เรื่องที่ 1 เครื่องมือและอุปกรณ์ในงานเขียนแบบ
เรื่องที่ 1 เครื่องมือและอุปกรณ์ในงานเขียนแบบเรื่องที่ 1 เครื่องมือและอุปกรณ์ในงานเขียนแบบ
เรื่องที่ 1 เครื่องมือและอุปกรณ์ในงานเขียนแบบ
 
ใบความรู้ เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้า
ใบความรู้ เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้าใบความรู้ เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้า
ใบความรู้ เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้า
 
มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย บทที่5
มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย บทที่5มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย บทที่5
มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย บทที่5
 
บทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้า
บทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้าบทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้า
บทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้า
 

More from Nattawut Kathaisong

บทที่ 12 หุ่นยนต์ 6 ขา
บทที่ 12 หุ่นยนต์ 6 ขาบทที่ 12 หุ่นยนต์ 6 ขา
บทที่ 12 หุ่นยนต์ 6 ขาNattawut Kathaisong
 
บทที่ 11 การควบคุมจอแสดงผล lcd
บทที่ 11 การควบคุมจอแสดงผล lcdบทที่ 11 การควบคุมจอแสดงผล lcd
บทที่ 11 การควบคุมจอแสดงผล lcdNattawut Kathaisong
 
บทที่ 10 อินเทอร์รัปต์และวงจรจับเวลา
บทที่ 10 อินเทอร์รัปต์และวงจรจับเวลาบทที่ 10 อินเทอร์รัปต์และวงจรจับเวลา
บทที่ 10 อินเทอร์รัปต์และวงจรจับเวลาNattawut Kathaisong
 
บทที่ 9 หุ่นยนต์ขนาดเล็กควบคุมด้วยไมโครคอนดทรเลอร์
บทที่ 9 หุ่นยนต์ขนาดเล็กควบคุมด้วยไมโครคอนดทรเลอร์บทที่ 9 หุ่นยนต์ขนาดเล็กควบคุมด้วยไมโครคอนดทรเลอร์
บทที่ 9 หุ่นยนต์ขนาดเล็กควบคุมด้วยไมโครคอนดทรเลอร์Nattawut Kathaisong
 
บทที่ 8 การรับข้อมูลจากสวิตซ์
บทที่ 8 การรับข้อมูลจากสวิตซ์บทที่ 8 การรับข้อมูลจากสวิตซ์
บทที่ 8 การรับข้อมูลจากสวิตซ์Nattawut Kathaisong
 
บทที่ 7 การควบคุมแสดงผล
บทที่ 7 การควบคุมแสดงผลบทที่ 7 การควบคุมแสดงผล
บทที่ 7 การควบคุมแสดงผลNattawut Kathaisong
 
บทที่ 6 การพัฒนาไมโครคอนดทรเลอร์ด้วยโปรแกรม keil pk51
บทที่ 6 การพัฒนาไมโครคอนดทรเลอร์ด้วยโปรแกรม keil pk51บทที่ 6 การพัฒนาไมโครคอนดทรเลอร์ด้วยโปรแกรม keil pk51
บทที่ 6 การพัฒนาไมโครคอนดทรเลอร์ด้วยโปรแกรม keil pk51Nattawut Kathaisong
 
บทที่ 5 พื้นฐานภาษาซี
บทที่ 5 พื้นฐานภาษาซีบทที่ 5 พื้นฐานภาษาซี
บทที่ 5 พื้นฐานภาษาซีNattawut Kathaisong
 
บทที่ 4 การเขียนโปรแกรมภาษาแอสแซมบลี
บทที่ 4 การเขียนโปรแกรมภาษาแอสแซมบลีบทที่ 4 การเขียนโปรแกรมภาษาแอสแซมบลี
บทที่ 4 การเขียนโปรแกรมภาษาแอสแซมบลีNattawut Kathaisong
 
บทที่ 3 ชุดคำสั่งของไมโครคอนโทรเลอร์
บทที่ 3 ชุดคำสั่งของไมโครคอนโทรเลอร์บทที่ 3 ชุดคำสั่งของไมโครคอนโทรเลอร์
บทที่ 3 ชุดคำสั่งของไมโครคอนโทรเลอร์Nattawut Kathaisong
 
บทที่ 2 หน่วยความจำและรีจิสเตอร์
บทที่ 2 หน่วยความจำและรีจิสเตอร์บทที่ 2 หน่วยความจำและรีจิสเตอร์
บทที่ 2 หน่วยความจำและรีจิสเตอร์Nattawut Kathaisong
 
บทที่ 1 พื้นฐานไมโครโปรเซสเซอร์และไมโครคอนโทรลเลอร์
บทที่ 1 พื้นฐานไมโครโปรเซสเซอร์และไมโครคอนโทรลเลอร์บทที่ 1 พื้นฐานไมโครโปรเซสเซอร์และไมโครคอนโทรลเลอร์
บทที่ 1 พื้นฐานไมโครโปรเซสเซอร์และไมโครคอนโทรลเลอร์Nattawut Kathaisong
 
การเชื่อมต่อสายกราวด์ กับ แท่งกราวด์ (Ground)
การเชื่อมต่อสายกราวด์ กับ แท่งกราวด์ (Ground)การเชื่อมต่อสายกราวด์ กับ แท่งกราวด์ (Ground)
การเชื่อมต่อสายกราวด์ กับ แท่งกราวด์ (Ground)Nattawut Kathaisong
 

More from Nattawut Kathaisong (13)

บทที่ 12 หุ่นยนต์ 6 ขา
บทที่ 12 หุ่นยนต์ 6 ขาบทที่ 12 หุ่นยนต์ 6 ขา
บทที่ 12 หุ่นยนต์ 6 ขา
 
บทที่ 11 การควบคุมจอแสดงผล lcd
บทที่ 11 การควบคุมจอแสดงผล lcdบทที่ 11 การควบคุมจอแสดงผล lcd
บทที่ 11 การควบคุมจอแสดงผล lcd
 
บทที่ 10 อินเทอร์รัปต์และวงจรจับเวลา
บทที่ 10 อินเทอร์รัปต์และวงจรจับเวลาบทที่ 10 อินเทอร์รัปต์และวงจรจับเวลา
บทที่ 10 อินเทอร์รัปต์และวงจรจับเวลา
 
บทที่ 9 หุ่นยนต์ขนาดเล็กควบคุมด้วยไมโครคอนดทรเลอร์
บทที่ 9 หุ่นยนต์ขนาดเล็กควบคุมด้วยไมโครคอนดทรเลอร์บทที่ 9 หุ่นยนต์ขนาดเล็กควบคุมด้วยไมโครคอนดทรเลอร์
บทที่ 9 หุ่นยนต์ขนาดเล็กควบคุมด้วยไมโครคอนดทรเลอร์
 
บทที่ 8 การรับข้อมูลจากสวิตซ์
บทที่ 8 การรับข้อมูลจากสวิตซ์บทที่ 8 การรับข้อมูลจากสวิตซ์
บทที่ 8 การรับข้อมูลจากสวิตซ์
 
บทที่ 7 การควบคุมแสดงผล
บทที่ 7 การควบคุมแสดงผลบทที่ 7 การควบคุมแสดงผล
บทที่ 7 การควบคุมแสดงผล
 
บทที่ 6 การพัฒนาไมโครคอนดทรเลอร์ด้วยโปรแกรม keil pk51
บทที่ 6 การพัฒนาไมโครคอนดทรเลอร์ด้วยโปรแกรม keil pk51บทที่ 6 การพัฒนาไมโครคอนดทรเลอร์ด้วยโปรแกรม keil pk51
บทที่ 6 การพัฒนาไมโครคอนดทรเลอร์ด้วยโปรแกรม keil pk51
 
บทที่ 5 พื้นฐานภาษาซี
บทที่ 5 พื้นฐานภาษาซีบทที่ 5 พื้นฐานภาษาซี
บทที่ 5 พื้นฐานภาษาซี
 
บทที่ 4 การเขียนโปรแกรมภาษาแอสแซมบลี
บทที่ 4 การเขียนโปรแกรมภาษาแอสแซมบลีบทที่ 4 การเขียนโปรแกรมภาษาแอสแซมบลี
บทที่ 4 การเขียนโปรแกรมภาษาแอสแซมบลี
 
บทที่ 3 ชุดคำสั่งของไมโครคอนโทรเลอร์
บทที่ 3 ชุดคำสั่งของไมโครคอนโทรเลอร์บทที่ 3 ชุดคำสั่งของไมโครคอนโทรเลอร์
บทที่ 3 ชุดคำสั่งของไมโครคอนโทรเลอร์
 
บทที่ 2 หน่วยความจำและรีจิสเตอร์
บทที่ 2 หน่วยความจำและรีจิสเตอร์บทที่ 2 หน่วยความจำและรีจิสเตอร์
บทที่ 2 หน่วยความจำและรีจิสเตอร์
 
บทที่ 1 พื้นฐานไมโครโปรเซสเซอร์และไมโครคอนโทรลเลอร์
บทที่ 1 พื้นฐานไมโครโปรเซสเซอร์และไมโครคอนโทรลเลอร์บทที่ 1 พื้นฐานไมโครโปรเซสเซอร์และไมโครคอนโทรลเลอร์
บทที่ 1 พื้นฐานไมโครโปรเซสเซอร์และไมโครคอนโทรลเลอร์
 
การเชื่อมต่อสายกราวด์ กับ แท่งกราวด์ (Ground)
การเชื่อมต่อสายกราวด์ กับ แท่งกราวด์ (Ground)การเชื่อมต่อสายกราวด์ กับ แท่งกราวด์ (Ground)
การเชื่อมต่อสายกราวด์ กับ แท่งกราวด์ (Ground)
 

โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อน Thermal power plant

  • 1. โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อน (Thermal Power Plant) ณัฐวุฒิ ค่าไทยสง สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก
  • 2. โรงไฟฟ้าที่ใช้พลังความร้อนจากเชือ้เพลิงชนิดต่าง ๆ เช่น ถ่านหิน นา้มันเตา ก๊าซธรรมชาติและนิวเคลียร์ มาต้มนา้ให้เป็นไอความดันสูงไปขับดันกังหันให้หมุนเป็นพลังงานกล และต่อเพลาเข้ากับเครื่องกาเนิดไฟฟ้า ทาให้เกิด กระแสไฟฟ้าซึ่งมีแรงดันและความถี่ตามที่กาหนดไว้ หรือใช้ความร้อนจากการสันดาปภายในของนา้มันดีเซลของ เครื่องยนต์ดีเซลไปฉุดเครื่องกาเนิดไฟฟ้าให้กาเนิดไฟฟ้าได้เช่นกัน โรงไฟฟ้าพลังความร้อนอาจแยกออกได้เป็นแบบต่าง ๆ ได้ดังนี้ 1. โรงไฟฟ้าพลังความร้อนกังหันไอน้า 2. โรงไฟฟ้ากังหันก๊าซ 3. โรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วม 4. โรงไฟฟ้าดีเซล 5. โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์
  • 3. โรงไฟฟ้าพลังความร้อน เป็นโรงไฟฟ้าที่ใช้น้า มันเตา หรือถ่านหิน เป็นเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้า อาศัยความร้อนจากการ เผาไหม้เชื้อเพลิงไปต้มน้า ให้เป็นไอน้า ที่มีแรงดันและมี อุณหภูมิสูง เพื่อไปขับดันกังหันไอน้า ซึ่ง จะมีเพลาต่อเชื่อมกับเครื่องกา เนิดไฟฟ้า จากนั้นไอน้า จะผ่านไปกลั่นตัวเป็นน้า ที่เครื่องควบแน่น และถูกส่งกลับมารับความร้อนในหม้อน้า (Boiler) อีกครั้ง
  • 4. โรงไฟฟ้าพลังความร้อนหรือพลังไอน้า Thermal/Steam Power • อุปกรณ์หลักในโรงไฟฟ้าพลังความร้อนกังหันไอน้า ได้แก่  หม้อไอน้า (Boiler )  เครื่องกา เนิดไฟฟ้า (Generator)  กังหันไอน้า (Steam Turbine)
  • 5. หม้อไอน้า Boiler • ผลิตไอน้าที่มีความดันและอุณหภูมิสูง หม้อไอน้าประกอบด้วย • ระบบป้อนน้าเลี้ยง • ระบบเผาไหม้เชื้อเพลิง • ระบบไอน้า
  • 6. กังหันไอน้า (Stream Turbine) ใช้ไอน้าไปดันใบพัด ทา ให้วงล้อ และ เพลาหมุน กังหันไอน้า แบบแรง กระแทก (Impulse Steam Turbine) กังหันไอน้า แบบแรงปฏิกิริยา (Reaction Steam Turbine)
  • 8.
  • 9. น้ามันเตา เป็นน้า มันที่ใช้เป็นเชื้อเพลิงในอุตสาหกรรม โดยน้า มันเตาของไทยออยด์แบ่ง เป็น 3 เกรด คือ 1. น้า มันเตาชนิดที่ 1 หรือ น้า มันเตา A (FOA) เป็นน้า มันเตาใส ที่มีความหนืดต่า ไม่เกิน 80 เซนติสโตกส์ที่อุณหภูมิ 50℃และมีปริมาณกา มะถันต่า จึงเหมาะกับอุปกรณ์เผาไหม้สะอาด ไม่มีเขม่า ควันดา ละออง ถ่าน หรือ กา มะถันสูง เช่น อุตสาหกรรมทา กระเบี้อง 2. น้า มันเตาชนิดที่ 2 หรือ น้า มันเตา C (FOC) เป็นน้า มันเตาที่มีความหนืดปานกลาง คือ ไม่เกิน 180 เซนติสโตกส์ที่อุณหภูมิ 50℃และมีปริมาณกา มะถัน ไม่เกิน 2% โดยน้า หนัก มักใช้เป็นเชื้อเพลิงในโรงงานขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ เช่น ใช้เป็นพลังงานในการขับเครื่องจักร หรือกังหันไอน้า (Steam Turbine) เพื่อผลิตไฟฟ้า และใช้เป็นเชื้อเพลิงในเตาเผาและเตาหลอม เช่น ในการหลอมโลหะ และ การผลิตปูนซิเมนต์ 3. น้า มันเตาชนิดที่ 3 หรือ (Bunker Fuel) เป็นน้า มันเตาที่มีความหนืดสูง คือ ไม่เกิน 380 เซนติสโตกส์ซึ่งใช้เป็นเชื้อเพลิงสา หรับเรือเดินสมุทร มีทั้งที่มีกา มะถันไม่เกิน 3.5% และ 4.0% โดยน้า หนัก
  • 10. ถ่านหิน ถ่านหินสามารถแยกประเภทตามลา ดับชั้นได้เป็น ๕ ประเภท คือ 1. พีต (Peat) เป็นขั้นแรกในกระบวนการเกิดถ่านหิน ประกอบด้วยซากพืชซึ่ง บางส่วนได้สลายตัวไปแล้วสามารถใช้เป็นเชื้อเพลิงได้ 2. ลิกไนต์ (Lignite) มีซากพืชหลงเหลืออยู่เล็กน้อย มีความชื้นมาก เป็นถ่าน หินที่ใช้เป็นเชื้อเพลิง 3. ซับบิทูมินัส (Subbituminous) มีสีดา เป็นเชื้อเพลิงที่มีคุณภาพเหมาะสมใน การผลิตกระแสไฟฟ้า 4. บทิูมินัส (Bituminous) เป็นถ่านหินเนื้อแน่น แข็ง ประกอบด้วยชั้นถ่านหิน สีดา มันวาว ใช้เป็นเชื้อเพลิงเพื่อการถลุงโลหะ 5. แอนทราไซต์(Anthracite) เป็นถ่านหินที่มีลักษณะดา เป็นเงา มันวาวมาก มีรอยแตกเว้าแบบก้นหอย ติดไฟยาก
  • 12. สรุปข้อดี ข้อเสียของโรงไฟฟ้าพลังความร้อน(กังหันไอน้า) • ข้อดี • เชือ้เพลิง (ถ่านหิน) มีราคาถูกและมีปริมาณมากเพียงพอสา หรับโรงไฟฟ้า • ต้นทุนในการเดินเครื่องต่า • กาลังผลิตสูง สามารถจ่ายเสริมเข้าระบบไฟฟ้ าของประเทศได้อย่างมี ประสิทธิภาพ • ประหยัดการใช้น้ามัน
  • 13. สรุปข้อดี ข้อเสียของโรงไฟฟ้าพลังความร้อนกังหันไอน้า • ข้อเสีย • การเริ่มเดินเครื่องใช้เวลานาน • มีมลภาวะของก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ • กากขเี้ถ้าจากถ่านหิน ต้องใช้ที่เก็บจา นวนมาก

Editor's Notes

  1. 1. โรงไฟฟ้าพลังความร้อนกังหันไอน้ำ คือ โรงไฟฟ้าที่ใช้ความร้อนจากเชื้อเพลิงชนิดต่าง ๆ ทำให้น้ำ กลายเป็นไอน้ำไปขับเครื่องกังหันให้หมุนและให้พลังงานกลออกมาหมุนเครื่องกำเนิดไฟฟ้าเป็นพลังงานไฟฟ้า 2. โรงไฟฟ้ากังหันก๊าซ คือโรงไฟฟ้าที่ใช้เครื่องกังหันก๊าซเป็นเครื่องยนต์สันดาปภายในโดยอัดอากาศให้มีความดันสูง 8 – 10 เท่า ส่งเข้าห้องเผาไหม้ที่มีก๊าซเป็นเชื้อเพลิง ทำให้เกิดการขยายตัวมีความดันและอุณหภูมิสูงไปดันกังหันให้หมุน โดยกังหันจะอยู่บนแกนเดี่ยวกับเครื่องกำเนิดไฟฟ้า ผลิตไฟฟ้าออกมา 3. โรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วม คือโรงไฟฟ้าที่ประกอบด้วยโรงไฟฟ้า 2 ระบบร่วมกัน คือ โรงไฟฟ้ากังหันก๊าซ และโรงไฟฟ้ากังหันไอน้ำโดยนำความร้อนจากไอเสียที่ออกจากเครื่องกังหันก๊าซซึ่งมีอุณหภูมิสูงถึง 550 องศา มาใช้แทนเชื้อเพลิงในการต้นน้ำ มาต้มน้ำให้เป็นไอไปดันกังหันไอน้ำให้หมุนและต่ออยู่กับแกนเดียวกันของเครื่องกำเนิดไฟฟ้า ผลิตไฟฟ้าออกมา 4. โรงไฟฟ้าดีเซล คือโรงไฟฟ้าพลังความร้อนอีกประเภทหนึ่ง ใช้น้ำมันดีเซลเป็นเชื้อเพลิง สันดาปภายในร่วมกับการอัดของอากาศเกิดความร้อนและจุดระเบิดต่อเนื่องกันทำ ให้เครื่องยนต์หมุนไปขับเครื่องกำเนิดไฟฟ้าผลิตไฟฟ้าออกมา 5. โรงไฟฟ้าพลังนิวเคลียร์ ใช้ความร้อนจากปฏิกิริยานิวเคลียร์เป็นเชื้อเพลิงให้ความร้อนแก้น้ำ เกิดเป็นไอน้ำความดันสูง ไปขับกังหันไอน้ำให้หมุน และไปขับเครื่องกำเนิดไฟฟ้า