1 / 55

วงจรไอน้ำพื้นฐาน

วงจรไอน้ำพื้นฐาน. Basic Steam Cycle. วัตถุประสงค์. แสดงให้รู้ถึง โครงสร้าง ส่วนประกอบ และหลักการทำงาน ของเครื่องจักรไอน้ำ ที่ใช้เป็น ระบบขับเคลื่อนของเรือ. ภาพแสดง วงจรไอน้ำพื้นฐาน. วงจรไอน้ำพื้นฐาน ( Basic Steam Cycle ).

dakota
Download Presentation

วงจรไอน้ำพื้นฐาน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. วงจรไอน้ำพื้นฐาน Basic Steam Cycle

  2. วัตถุประสงค์ แสดงให้รู้ถึง โครงสร้าง ส่วนประกอบ และหลักการทำงาน ของเครื่องจักรไอน้ำ ที่ใช้เป็น ระบบขับเคลื่อนของเรือ

  3. ภาพแสดง วงจรไอน้ำพื้นฐาน

  4. วงจรไอน้ำพื้นฐาน ( Basic Steam Cycle ) แสดง โครงสร้างหลัก 4 ส่วน ๑. ภาคทำไอน้ำ (Steam Generation Phase) ๒. ภาคไอน้ำขยายตัวทำงาน ( Steam Expansion Phase ) ๓. ภาคกลั่นตัวเป็นน้ำ (Condensation Phase) ๔. ภาคน้ำเลี้ยง (Feed Water Phase)

  5. หม้อน้ำ ( Propulsion Boiler ) ภาคทำไอน้ำ

  6. Propulsion Boiler เป็นต้นกำเนิดของพลังงานความร้อน หน้าที่ผลิตไอน้ำ เพื่อใช้งานกับ เครื่องจักรใหญ่ (Propulsion Main Engine) เครื่องไฟฟ้ากังหันไอน้ำ ( SSTG) เครื่องจักรช่วยต่าง ๆ

  7. การทำงานของ หม้อน้ำ

  8. ส่วนประกอบ หม้อน้ำเบื้องต้น หม้อพักไอ หลอดทำไอน้ำ เตาหม้อน้ำ

  9. การทำงานของหม้อน้ำ๑. ขณะที่มีการเผาไหม้ภายในเตาหม้อน้ำ พลังงานเคมีในน้ำมันเชื้อเพลิง (Chemical Energy of Fuel)เปลี่ยนเป็นพลังงานความร้อน (Thermal Energy)

  10. ๒. เมื่อพลังงานความร้อน ( ก๊าซร้อน )พัดผ่านหมู่หลอดน้ำ เกิดการถ่ายเทความร้อน ให้กับน้ำในหลอดน้ำ น้ำกลายเป็นไอน้ำ

  11. ๓. ไอน้ำ ในหลอดน้ำลอยตัวออกจากหลอดน้ำ ขึ้นไปเก็บในหม้อพักไอ

  12. ถ้าเป็น หม้อน้ำกำลังดันต่ำ ของร.ล.โพสามต้นสิ้นสุดกระบวนการผลิตไอน้ำ ส่ง ไอน้ำจากหม้อพักไอ ไปใช้งาน

  13. ถ้าเป็น หม้อน้ำกำลังดันสูงของเรือ ชุดร.ล.พุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ส่ง ไอน้ำจากหม้อพักไอ ไปเผาอีกครั้ง ในหมู่หลอดซุปเปอร์ฮีท ส่ง ไอซุปเปอร์ฮีทจากหม้อน้ำ ไปใช้งาน

  14. หม้อน้ำ ( Propulsion Boiler )

  15. หม้อพักไอ หลอดทำไอน้ำ หม้อพักน้ำ เตาหม้อน้ำ ภาพแสดง ส่วนประกอบหม้อน้ำเบื้องต้น

  16. ภาพแสดงส่วนประกอบ หม้อน้ำกำลังดันสูง

  17. ภาคไอน้ำขยายตัว (Steam Expansion Phase)

  18. หน้าที่เปลี่ยนพลังงานความร้อนของไอน้ำจากหม้อน้ำ เป็นพลังงานกลส่วนประกอบสำคัญเครื่องจักรไอน้ำ ชนิดกังหันไอน้ำ (Steam Turbine)

  19. การทำงานของเครื่องจักรไอน้ำ ชนิดกังหันไอน้ำ

  20. ภาพแสดง เครื่องจักรใหญ่กังหันไอน้ำ ( Main Engine SteamTurbine )

  21. 1. ไอน้ำกำลังดันสูงจากหม้อน้ำ ผ่านลิ้นปรับแต่งไอ (Throttle Valve) ควบคุมปริมาณไอน้ำ ให้เข้าทำงานในเครื่อง ตามความเร็วที่ต้องการ

  22. 2 . ภายในเครื่องกังหันไอน้ำ ไอน้ำที่เข้าทำงาน เป่าปีกกังหัน เปลี่ยนพลังงานความร้อนเป็นพลังงานกล

  23. 3 . ปีกหมุน ถ่ายทอดพลังงานกล ผ่านกงล้อ และเพลาเครื่องกังหัน ไปใช้งาน ( ในรูปของการหมุน )

  24. ภาพแสดง เครื่องจักรใหญ่กังหันไอน้ำ ( Main Engine SteamTurbine )

  25. ภาคกลั่นตัวเป็นน้ำ ( Condensate Phase )

  26. จุดมุ่งหมาย / หน้าที่ 1. รับไอเสียจาก เครื่องกังหันไอน้ำ ลดอุณหภูมิให้กลายเป็นน้ำ 2. ส่งน้ำ ( คอนเดนเซท ) ให้กับระบบ น้ำเลี้ยงเข้าหม้อ

  27. ภาคกลั่นตัวเป็นน้ำระบบคอนเดนเซท ( Condensate System )

  28. ส่วนประกอบของระบบ 1. หม้อดับไอ (Condenser) 2. เครื่องสูบน้ำคอนเดนเซท (Condensate Pump) 3. เครื่องสูบอากาศ (Air Ejector) 4. หม้อดับไอเครื่องสูบอากาศ (Air Ejector Condenser)

  29. หม้อดับไอเสีย (Condenser)

  30. โครงสร้างของหม้อดับไอเสีย ( Condenser )เป็นหมู่หลอดน้ำ ใช้น้ำทะเลระบายความร้อน

  31. เครื่องสูบน้ำคอนเดนเซท (Condensate Pump)

  32. เครื่องสูบน้ำคอนเดนเซท (Condensate Pump)

  33. เครื่องสูบน้ำคอนเดนเซทเครื่องสูบน้ำคอนเดนเซท หน้าที่สูบน้ำคอนเดนเซท จากหม้อดับไอเสีย ส่งไปเข้าถังน้ำเลี้ยงไล่อากาศ

  34. การขัดข้องของเครื่องสูบน้ำคอนเดนเซททำให้เกิดผลเสีย ๒ ประการ๑. น้ำท่วมหม้อดับไอ๒. น้ำแห้งหม้อ

  35. เครื่องสูบอากาศหม้อดับไอเสีย (Air Ejector)หน้าที่ดูดอากาศและไอระเหยที่ไม่สามารถดับให้กลายเป็นน้ำได้ออกไปจากหม้อดับไอ

  36. เครื่องสูบอากาศ

  37. หม้อดับไอเครื่องสูบอากาศ(Air Ejector Condenser) หน้าที่รับอากาศ ไอระเหยและไอน้ำที่ส่งมาจาก Air Ejector มาทำการลดอุณหภูมิให้เป็นน้ำ

  38. หม้อดับไอเครื่องสูบอากาศหม้อดับไอเครื่องสูบอากาศ

  39. ภาคน้ำเลี้ยง ( Feed Water Phase )

  40. ภาคน้ำเลี้ยง (Feed Water Phase)

  41. ส่วนประกอบสำคัญ 1. ถังน้ำเลี้ยงไล่อากาศ (Dearating Feed Tank - DFT.) 2. เครื่องสูบน้ำเลี้ยงช่วยกำลัง (MainFeed Booster Pump) 3. เครื่องสูบน้ำเลี้ยงใหญ่ (Main Feed Pump) 4. ลิ้นควบคุมน้ำเลี้ยงเข้าหม้อ (Feed Water Control Valve) 5. เครื่องอุ่นน้ำเข้าหม้อ (Economizer)

  42. ถังน้ำเลี้ยงไล่อากาศ (Dearating Feed Tank - DFT.)

  43. ถังน้ำเลี้ยงไล่อากาศ แสดง ส่วนประกอบภายใน

  44. การทำงาน ถังน้ำเลี้ยงไล่อากาศ 1. เพิ่มอุณหภูมิน้ำ 2. ไล่ ออ๊กซิเจน ที่ปนมากับน้ำคอนเดนเซท 3. เป็นถังเก็บน้ำเลี้ยงเข้าหม้อน้ำ ( ใช้ความร้อนจากระบบไอเสียช่วย )

  45. เครื่องสูบน้ำเลี้ยงช่วยกำลัง (Feed Booster Pump)

  46. เครื่องสูบน้ำเลี้ยงช่วยกำลัง (Feed Booster Pump) หน้าที่ สูบ น้ำเลี้ยงจากถังน้ำเลี้ยงไล่อากาศ (DFT) ส่งเข้าทางดูดของเครื่องสูบน้ำเลี้ยงใหญ่ (Main Feed Pump) เพื่อ เพิ่มกำลังดันทางดูดให้กับ เครื่องสูบน้ำเลี้ยงใหญ่

  47. เครื่องสูบน้ำเลี้ยงใหญ่(Main Feed Pump)

  48. เครื่องสูบน้ำเลี้ยงใหญ่(Main Feed Pump) หน้าที่ รับ น้ำเลี้ยงจากเครื่องสูบน้ำเลี้ยงช่วยกำลัง ส่ง เข้าหม้อพักไอ ให้ได้ปริมาณเพียงพอกับการกลายเป็นไอ ของน้ำ ในหม้อน้ำ

  49. ลิ้นควบคุมน้ำเลี้ยงเข้าหม้อ (FWCV.) FWCV.

  50. ลิ้นควบคุมน้ำเลี้ยงเข้าหม้อ (Feed Water Control Valve) • ทำงานโดยอัตโนมัติ • ใช้.....อากาศ...........เป็นตัวควบคุม • มีหน้าที่ รักษาระดับน้ำในหม้อน้ำ ให้อยู่ในระดับใช้การตลอดเวลา

More Related