ไฮไลท์
รัฐธรรมนูญ (ร.ธ.น.) (อังกฤษ: Constitution) พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ให้ความหมายดังนี้..

ในความหมายอย่างแคบ "รัฐธรรมนูญ" กฎหมายฉบับหนึ่งหรือหลายฉบับซึ่งรวบรวมกฎเกณฑ์การปกครองประเทศขึ้นไว้ และไม่ใช่สิ่งเดียวกับกฎหมายรัฐธรรมนูญ เพราะ "กฎหมายรัฐธรรมนูญ" มีความหมายกว้างกว่าและจะเป็นรูปแบบลายลักษณ์อักษรหรือจารีตประเพณีก็ได้

รัฐธรรมนูญในปัจจุบันนั้น มีทั้งเป็นลักษณะลายลักษณ์อักษร และลักษณะไม่เป็นลายลักษณ์อักษร โดยที่ลักษณะไม่เป็นลายลักษณ์อักษร นอกจากจะใช้หลักของจารีต ประเพณีการปกครองแล้ว กฎหมายทุกตัวที่เกี่ยวข้องกับการปกครอง ย่อมถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของรัฐธรรมนูญด้วย

ทุกประเทศทั่วโลกมีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญ ทั้งประเทศที่มีการปกครองระบอบประชาธิปไตย รวมถึงประเทศที่ปกครองระบอบเผด็จการ เพื่อใช้เป็นหลักหรือเป็นแนวทางในการบริหารประเทศ

อนึ่งรัฐธรรมนูญหลายขึ้นก่อนกฎหมายอื่น ๆ แต่สำหรับประเทศไทย มีการเปลี่ยนแปลงรัฐธรรมนูญอยู่บ่อยครั้ง กฎหมายอื่น ๆ จึงมีมาก่อนรัฐธรรมนูญ ดังนั้น การใช้ถ้อยคำที่ปรากฏในกฎหมายอื่นอยู่ก่อนแล้วในรัฐธรรมนูญจึงควรระมัดระวังว่าประสงค์จะให้มีความหมายอย่างเดียวกับที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญฉบับก่อนหน้านี้
ข้อมูล
น้ำหนัก
บาร์โค้ด
ลงสินค้า
อัพเดทล่าสุด
รายละเอียดสินค้า
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย  พุทธศักราช 2550
 
ปรับปรุง  พ.ศ. 2554
 
                                 มาตรา
 
หมวด ๑ บททั่วไป  ๑ - ๗
 
หมวด ๒ พระมหากษัตริย์ ๘ - ๒๕
 
หมวด ๓ สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย
  ส่วนที่ ๑ บททั่วไป ๒๖ - ๒๙
  ส่วนที่ ๒ ความเสมอภาค ๓๐ - ๓๑
  ส่วนที่ ๓ สิทธิและเสรีภาพส่วนบุคคล ๓๒ - ๓๘
  ส่วนที่ ๔ สิทธิในกระบวนการยุติธรรม ๓๙ - ๔๐
  ส่วนที่ ๕ สิทธิในทรัพย์สิน ๔๑ - ๔๒
  ส่วนที่ ๖ สิทธิและเสรีภาพในการประกอบอาชีพ ๔๓ - ๔๔
  ส่วนที่ ๗ เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นของบุคคลและสื่อมวลชน ๔๕ - ๔๘
  ส่วนที่ ๘ สิทธิและเสรีภาพในการศึกษา ๔๙ - ๕๐
  ส่วนที่ ๙ สิทธิในการได้รับบริการสาธารณสุขและสวัสดิการจากรัฐ ๕๑ - ๕๕
  ส่วนที่ ๑๐ สิทธิในข้อมูลข่าวสารและการร้องเรียน ๕๖ - ๖๒
  ส่วนที่ ๑๑ เสรีภาพในการชุมนุมและการสมาคม ๖๓ - ๖๕
  ส่วนที่ ๑๒ สิทธิชุมชน ๖๖ - ๖๗
  ส่วนที่ ๑๓ สิทธิพิทักษ์รัฐธรรมนูญ ๖๘ - ๖๙
 
หมวด ๔ หน้าที่ของชนชาวไทย ๗๐ - ๗๔
 
หมวด ๕ แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ
  ส่วนที่ ๑ บททั่วไป ๗๕ - ๗๖
  ส่วนที่ ๒ แนวนโยบายด้านความมั่นคงของรัฐ ๗๗
  ส่วนที่ ๓ แนวนโยบายด้านการบริหารราชการแผ่นดิน ๗๘
  ส่วนที่ ๔ แนวนโยบายด้านศาสนา สังคม การสาธารณสุขการศึกษา และวัฒนธรรม ๗๙ - ๘๐
  ส่วนที่ ๕ แนวนโยบายด้านกฎหมายและการยุติธรรม ๘๑
  ส่วนที่ ๖ แนวนโยบายด้านการต่างประเทศ ๘๒
  ส่วนที่ ๗ แนวนโยบายด้านเศรษฐกิจ ๘๓ - ๘๔
  ส่วนที่ ๘ แนวนโยบายด้านที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ๘๕
  ส่วนที่ ๙ แนวนโยบายด้านวิทยาศาสตร์ ทรัพย์สินทางปัญญา และพลังงาน ๘๖
  ส่วนที่ ๑๐ แนวนโยบายด้านการมีส่วนร่วมของประชาชน ๘๗
 
หมวด ๖ รัฐสภา
  ส่วนที่ ๑ บททั่วไป ๘๘ - ๙๒
  ส่วนที่ ๒ สภาผู้แทนราษฎร ๙๓ - ๑๑๐
  ส่วนที่ ๓ วุฒิสภา ๑๑๑ - ๑๒๑
  ส่วนที่ ๔ บทที่ใช้แก่สภาทั้งสอง ๑๒๒ - ๑๓๕
  ส่วนที่ ๕ การประชุมร่วมกันของรัฐสภา ๑๓๖ - ๑๓๗
  ส่วนที่ ๖ การตราพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ ๑๓๘ - ๑๔๑
  ส่วนที่ ๗ การตราพระราชบัญญัติ ๑๔๒ - ๑๕๓
  ส่วนที่ ๘ การควบคุมการตรากฎหมายที่ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญ ๑๕๔ - ๑๕๕
  ส่วนที่ ๙ การควบคุมการบริหารราชการแผ่นดิน ๑๕๖ - ๑๖๒
 
หมวด ๗ การมีส่วนร่วมทางการเมืองโดยตรงของประชาชน ๑๖๓ - ๑๖๕
 
หมวด ๘ การเงิน การคลัง และงบประมาณ ๑๖๖ - ๑๗๐
 
หมวด ๙ คณะรัฐมนตรี ๑๗๑ - ๑๙๖
 
หมวด ๑๐ ศาล
  ส่วนที่ ๑ บททั่วไป ๑๙๗ - ๒๐๓
  ส่วนที่ ๒ ศาลรัฐธรรมนูญ ๒๐๔ - ๒๑๗
  ส่วนที่ ๓ ศาลยุติธรรม ๒๑๘ - ๒๒๒
  ส่วนที่ ๔ ศาลปกครอง ๒๒๓ - ๒๒๗
  ส่วนที่ ๕ ศาลทหาร ๒๒๘
 
หมวด ๑๑ องค์กรตามรัฐธรรมนูญ
 
  ส่วนที่ ๑ องค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ
  ๑. คณะกรรมการการเลือกตั้ง ๒๒๙ - ๒๔๑
  ๒. ผู้ตรวจการแผ่นดิน ๒๔๒ - ๒๔๕
  ๓. คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ๒๔๖ - ๒๕๑
  ๔. คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ๒๕๒ - ๒๕๔
 
  ส่วนที่ ๒ องค์กรอื่นตามรัฐธรรมนูญ
  ๑. องค์กรอัยการ ๒๕๕
  ๒. คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ๒๕๖ - ๒๕๗
  ๓. สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ๒๕๘
 
หมวด ๑๒ การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ
  ส่วนที่ ๑ การตรวจสอบทรัพย์สิน ๒๕๙ - ๒๖๔
  ส่วนที่ ๒ การกระทำที่เป็นการขัดกันแห่งผลประโยชน์ ๒๖๕ - ๒๖๙
  ส่วนที่ ๓ การถอดถอนจากตำแหน่ง ๒๗๐ - ๒๗๔
  ส่วนที่ ๔ การดำเนินคดีอาญาผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง ๒๗๕ - ๒๗๘
 
หมวด ๑๓ จริยธรรมของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองและเจ้าหน้าที่ของรัฐ ๒๗๙ - ๒๘๐
 
หมวด ๑๔ การปกครองส่วนท้องถิ่น ๒๘๑ - ๒๙๐
 
หมวด ๑๕ การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ ๒๙๑
 
บทเฉพาะกาล ๒๙๒ - ๓๐๙
 
องค์ความรู้ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
เงื่อนไขอื่นๆ
Tags

วิธีการชำระเงิน

บมจ. ธนาคารกรุงไทย สาขาบางแค ออมทรัพย์
รายการสั่งซื้อของฉัน
เข้าสู่ระบบด้วย
เข้าสู่ระบบ
สมัครสมาชิก

ยังไม่มีบัญชีเทพ สร้างบัญชีใหม่ ไม่มีค่าใช้จ่าย
สมัครสมาชิก (ฟรี)
รายการสั่งซื้อของฉัน
ข้อมูลร้านค้านี้
ร้านสูตรไพศาลกฎหมายไทย
สูตรไพศาลกฎหมายไทย
สูตรไพศาลเป็นศูนย์รวมกฎหมายไทยที่มากที่สุดกว่า 2,000 รายการ เปิดดำเนินการตั้งแต่ปี พ.ศ.2509 ถึงปัจจุบัน ตัวบทกฎหมาย พ.ร.บ. ประมวลกฎหมาย คำอธิบาย ฎีกา คำพิพากษา หนังสือเตรียมสอบ กฎหมายแปล CD MP3 เสียงกฎหมาย พจนานุกรมกฎหมาย เป้าปืน หนังสือธรรมะ สวดมนต์ สมุดประจำโรงพัก อุปกรณ์พิมพ์ลายนิ้วมือ ฯลฯ
เบอร์โทร : 0866245450
อีเมล : tan9147@hotmail.com
ส่งข้อความติดต่อร้าน
เกี่ยวกับร้านค้านี้
สินค้าที่ดูล่าสุด
ดูสินค้าทั้งหมดในร้าน
สินค้าที่ดูล่าสุด
บันทึกเป็นร้านโปรด
Join เป็นสมาชิกร้าน
แชร์หน้านี้
แชร์หน้านี้

TOP เลื่อนขึ้นบนสุด
พูดคุย-สอบถาม