อบรมอับอากาศ 4 ผู้ ความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศผู้อนุญาต ผู้ช่วยเหลือ ผู้ควบคุมงาน ผู้ปฏิบัติงาน 30 ท่าน/รุ่น อบรมด่วน ราคาเริ่มต้นที่ 80,000 บาท

อบรมอับอากาศ 4 ผู้ ความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศผู้อนุญาต ผู้ช่วยเหลือ ผู้ควบคุมงาน ผู้ปฏิบัติงาน 30 ท่าน/รุ่น อบรมด่วน ราคาเริ่มต้นที่ 80,000 บาท
อบรมอับอากาศ 4 ผู้ ความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศผู้อนุญาต ผู้ช่วยเหลือ ผู้ควบคุมงาน ผู้ปฏิบัติงาน 30 ท่าน/รุ่น อบรมด่วน ราคาเริ่มต้นที่ 80,000 บาทอบรมอับอากาศ 4 ผู้ ความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศผู้อนุญาต ผู้ช่วยเหลือ ผู้ควบคุมงาน ผู้ปฏิบัติงาน 30 ท่าน/รุ่น อบรมด่วน ราคาเริ่มต้นที่ 80,000 บาทอบรมอับอากาศ 4 ผู้ ความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศผู้อนุญาต ผู้ช่วยเหลือ ผู้ควบคุมงาน ผู้ปฏิบัติงาน 30 ท่าน/รุ่น อบรมด่วน ราคาเริ่มต้นที่ 80,000 บาทอบรมอับอากาศ 4 ผู้ ความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศผู้อนุญาต ผู้ช่วยเหลือ ผู้ควบคุมงาน ผู้ปฏิบัติงาน 30 ท่าน/รุ่น อบรมด่วน ราคาเริ่มต้นที่ 80,000 บาทอบรมอับอากาศ 4 ผู้ ความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศผู้อนุญาต ผู้ช่วยเหลือ ผู้ควบคุมงาน ผู้ปฏิบัติงาน 30 ท่าน/รุ่น อบรมด่วน ราคาเริ่มต้นที่ 80,000 บาทอบรมอับอากาศ 4 ผู้ ความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศผู้อนุญาต ผู้ช่วยเหลือ ผู้ควบคุมงาน ผู้ปฏิบัติงาน 30 ท่าน/รุ่น อบรมด่วน ราคาเริ่มต้นที่ 80,000 บาทอบรมอับอากาศ 4 ผู้ ความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศผู้อนุญาต ผู้ช่วยเหลือ ผู้ควบคุมงาน ผู้ปฏิบัติงาน 30 ท่าน/รุ่น อบรมด่วน ราคาเริ่มต้นที่ 80,000 บาทอบรมอับอากาศ 4 ผู้ ความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศผู้อนุญาต ผู้ช่วยเหลือ ผู้ควบคุมงาน ผู้ปฏิบัติงาน 30 ท่าน/รุ่น อบรมด่วน ราคาเริ่มต้นที่ 80,000 บาทอบรมอับอากาศ 4 ผู้ ความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศผู้อนุญาต ผู้ช่วยเหลือ ผู้ควบคุมงาน ผู้ปฏิบัติงาน 30 ท่าน/รุ่น อบรมด่วน ราคาเริ่มต้นที่ 80,000 บาทอบรมอับอากาศ 4 ผู้ ความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศผู้อนุญาต ผู้ช่วยเหลือ ผู้ควบคุมงาน ผู้ปฏิบัติงาน 30 ท่าน/รุ่น อบรมด่วน ราคาเริ่มต้นที่ 80,000 บาทอบรมอับอากาศ 4 ผู้ ความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศผู้อนุญาต ผู้ช่วยเหลือ ผู้ควบคุมงาน ผู้ปฏิบัติงาน 30 ท่าน/รุ่น อบรมด่วน ราคาเริ่มต้นที่ 80,000 บาทอบรมอับอากาศ 4 ผู้ ความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศผู้อนุญาต ผู้ช่วยเหลือ ผู้ควบคุมงาน ผู้ปฏิบัติงาน 30 ท่าน/รุ่น อบรมด่วน ราคาเริ่มต้นที่ 80,000 บาทอบรมอับอากาศ 4 ผู้ ความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศผู้อนุญาต ผู้ช่วยเหลือ ผู้ควบคุมงาน ผู้ปฏิบัติงาน 30 ท่าน/รุ่น อบรมด่วน ราคาเริ่มต้นที่ 80,000 บาทอบรมอับอากาศ 4 ผู้ ความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศผู้อนุญาต ผู้ช่วยเหลือ ผู้ควบคุมงาน ผู้ปฏิบัติงาน 30 ท่าน/รุ่น อบรมด่วน ราคาเริ่มต้นที่ 80,000 บาทอบรมอับอากาศ 4 ผู้ ความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศผู้อนุญาต ผู้ช่วยเหลือ ผู้ควบคุมงาน ผู้ปฏิบัติงาน 30 ท่าน/รุ่น อบรมด่วน ราคาเริ่มต้นที่ 80,000 บาทอบรมอับอากาศ 4 ผู้ ความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศผู้อนุญาต ผู้ช่วยเหลือ ผู้ควบคุมงาน ผู้ปฏิบัติงาน 30 ท่าน/รุ่น อบรมด่วน ราคาเริ่มต้นที่ 80,000 บาทอบรมอับอากาศ 4 ผู้ ความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศผู้อนุญาต ผู้ช่วยเหลือ ผู้ควบคุมงาน ผู้ปฏิบัติงาน 30 ท่าน/รุ่น อบรมด่วน ราคาเริ่มต้นที่ 80,000 บาทอบรมอับอากาศ 4 ผู้ ความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศผู้อนุญาต ผู้ช่วยเหลือ ผู้ควบคุมงาน ผู้ปฏิบัติงาน 30 ท่าน/รุ่น อบรมด่วน ราคาเริ่มต้นที่ 80,000 บาทอบรมอับอากาศ 4 ผู้ ความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศผู้อนุญาต ผู้ช่วยเหลือ ผู้ควบคุมงาน ผู้ปฏิบัติงาน 30 ท่าน/รุ่น อบรมด่วน ราคาเริ่มต้นที่ 80,000 บาทอบรมอับอากาศ 4 ผู้ ความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศผู้อนุญาต ผู้ช่วยเหลือ ผู้ควบคุมงาน ผู้ปฏิบัติงาน 30 ท่าน/รุ่น อบรมด่วน ราคาเริ่มต้นที่ 80,000 บาทอบรมอับอากาศ 4 ผู้ ความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศผู้อนุญาต ผู้ช่วยเหลือ ผู้ควบคุมงาน ผู้ปฏิบัติงาน 30 ท่าน/รุ่น อบรมด่วน ราคาเริ่มต้นที่ 80,000 บาท
หมวดหมู่ หลักสูตรความปลอดภัยในการทำงานที่อับอากาศ
ราคา 80,000.00 บาท
สถานะสินค้า พร้อมส่ง
ลงสินค้า 8 ก.ค. 2559
อัพเดทล่าสุด 19 ก.พ. 2567
จำนวน
ชิ้น
หยิบลงตะกร้า
บัตรประชาชน
บุ๊คแบ๊งค์
คุ้มครองโดย LnwPay

 

         
ตามประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และหลักสูตรการฝึกอบรมความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศ โดยที่กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดำเนินการด้านความปลอดภัยอาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับที่อับอากาศ พ.ศ. ๒๕๖๒ ข้อ ๒๐ กำหนดให้นายจ้างจัดให้มีการฝึกอบรมความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศแก่ลูกจ้างทุกคนที่ทำงานในที่อับอากาศ รวมทั้งผู้ที่เกี่ยวข้องให้มีความรู้ความเข้าใจในทักษะที่จำเป็นในการทำงานอย่างปลอดภัย ตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย พร้อมทั้งวิธีการและขั้นตอนในการปฏิบัติงานตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และหลักสูตรที่อธิบดีประกาศกำหนด

หมวด ๑   หลักเกณฑ์ และวิธีการฝึกอบรม

ข้อ ๒ ให้นายจ้างจัดให้มีการฝึกอบรมความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศแก่ลูกจ้าง ผู้มีหน้าที่รับผิดชอบในการอนุญาต ผู้ควบคุมงาน ผู้ช่วยเหลือ และผู้ปฏิบัติงานในที่อับอากาศ และ ต้องจัดให้มีการฝึกอบรมเพื่อทบทวนความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการและหลักสูตรการฝึกอบรมที่กำหนดไว้ในประกาศนี้

              กรณีที่นายจ้างไม่สามารถจัดให้มีการฝึกอบรมตามวรรคหนึ่งได้ ให้นายจ้างจัดให้บุคคลดังกล่าวเข้ารับการฝึกอบรมกับนิติบุคคลที่ได้รับอนุญาตตามมาตรา ๑๑ เป็นผู้ดำเนินการ ทั้งนี้ นิติบุคคล ดังกล่าวต้องดำเนินการให้เป็นไปตามข้อ ๒๐ แห่งกฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการและดำเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับที่อับอากาศ พ.ศ. 2562

ข้อ ๓ ในการฝึกอบรมความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศ นายจ้างหรือนิติบุคคลที่ได้รับอนุญาตตามมาตรา ๑๑ ต้องดำเนินการ ดังนี้
(๑) ให้แจ้งกำหนดการ หลักสูตรการฝึกอบรม พร้อมรายชื่อและคุณสมบัติวิทยากร ต่ออธิบดี หรือผู้ซึ่งอธิบดีมอบหมายไม่น้อยกว่าเจ็ดวันทำการก่อนการจัดฝึกอบรม ทั้งนี้ อาจแจ้งเป็นเอกสารด้วยตนเองหรือผ่านระบบบริการอิเล็กทรอนิกส์ (E - Service) ของกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
(๒) จัดให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมเข้ารับการฝึกอบรมเต็มเวลาตลอดหลักสูตรที่กำหนด
(๓) จัดให้มีเอกสารประกอบการฝึกอบรมตามหลักสูตร
(๔) จัดให้มีการวัดผลและประเมินผลผู้เข้ารับการฝึกอบรม
(๕) ออกหลักฐานแสดงการผ่านการฝึกอบรมให้แก่ผู้ผ่านการฝึกอบรม โดยมีรายละเอียดอย่างน้อย ดังนี้

(ก) ชื่อหน่วยงานที่ออกหลักฐานแสดงการผ่านการฝึกอบรม พร้อมระบุข้อความว่า “จัดฝึกอบรมโดยนายจ้าง” หรือ “จัดฝึกอบรมโดยนิติบุคคลได้รับอนุญาตตามมาตรา ๑๑ ใบอนุญาต เลขที่ ...”

ข้อ ๔ ผู้จัดฝึกอบรมความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศต้องจัดให้ห้องฝึกอบรมหนึ่งห้องมีผู้เข้ารับการฝึกอบรมภาคทฤษฎีไม่เกินสามสิบคน และวิทยากรอย่างน้อยหนึ่งคน และในภาคปฏิบัติ ต้องจัดให้มีวิทยากรอย่างน้อยหนึ่งคนต่อผู้เข้ารับการฝึกอบรมไม่เกินสิบห้าคน

ข้อ ๕ ในการฝึกภาคปฏิบัติ

กรณีนายจ้างเป็นผู้จัดฝึกอบรมความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศต้องจัดให้ลูกจ้าง เข้ารับการฝึกอบรมภาคปฏิบัติในสถานที่จริงหรือมีลักษณะเหมือนสถานที่จริง
กรณีนิติบุคคลที่ได้รับอนุญาตตามมาตรา ๑๑ เป็นผู้จัดฝึกอบรมความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศต้องจัดให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมภาคปฏิบัติสถานที่ตั้งที่ได้รับอนุญาต

ผู้เข้ารับการฝึกอบรมภาคปฏิบัติต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้
(๑) มีอายุไม่ต่ำกว่าสิบแปดปีบริบูรณ์
(๒) มีใบรับรองแพทย์ว่าเป็นผู้มีสุขภาพสมบูรณ์ ร่างกายแข็งแรง ไม่เป็นโรคเกี่ยวกับทางเดินหายใจ โรคหัวใจ หรือโรคอื่นซึ่งแพทย์เห็นว่าการเข้าไปในที่อับอากาศอาจเป็นอันตรายต่อผู้เข้ารับการฝึกอบรม

หมวด ๒ หลักสูตรการฝึกอบรม

ข้อ ๗ หลักสูตรการฝึกอบรมความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศ มีดังนี้
(๑) หลักสูตรการฝึกอบรมผู้อนุญาต
(๒) หลักสูตรการฝึกอบรมผู้ควบคุมงาน
(๓) หลักสูตรการฝึกอบรมผู้ช่วยเหลือ
(๔) หลักสูตรการฝึกอบรมผู้ปฏิบัติงานในที่อับอากาศ
(๕) หลักสูตรการฝึกอบรมผู้อนุญาต ผู้ควบคุมงาน ผู้ช่วยเหลือ และผู้ปฏิบัติงานในที่อับอากาศ     
(๖) หลักสูตรการฝึกอบรมทบทวนความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศ

 

วัตถุประสงค์

  • เพื่อให้สอดคล้องกับกฎหมายความปลอดภัยในการทำงาน เรื่อง กำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงานในที่อับอากาศ พ.ศ. 25ุ62
  • เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้รับความรู้ ความเข้าใจ และทักษะการปฏิบัติงานที่ถูกต้องในเรื่องความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศ
  • เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมเข้าใจและปฏิบัติได้อย่างถูกต้องเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบของตนเองตามที่นายจ้างมอบหมาย

ราคา Training In-House

 

หลักสูตร

ราคาปกติ

ราคาสมาชิก

จำนวนผู้เข้าอบรม

ความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศ (4 ผู้ )

   
 

30 ท่าน /รุ่น

 

หัวข้อการอบรม   

หลักสูตรผู้อนุญาต   

ใช้ระยะเวลาการฝึกอบรมทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติไม่น้อยกว่าเจ็ดชั่วโมง โดยจัดฝึกอบรมหนึ่งวัน ดังนี้

ภาคทฤษฎีต้องมีหัวข้อวิชาและระยะเวลาการฝึกอบรมห้าชั่วโมง
(ก) กฎหมายความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศ หนึ่งชั่วโมง
(ข) ความหมาย ชนิด ประเภทของที่อับอากาศ และอันตรายในที่อับอากาศ หนึ่งชั่วโมง
(ค) การชี้บ่งอันตรายและการประเมินสภาพอันตราย การประเมินสภาพพื้นที่และงานและการเตรียมความพร้อมในการทำงานในที่อับอากาศ หนึ่งชั่วโมง
(ง) วิธีการปฏิบัติงานในพื้นที่อับอากาศที่ถูกต้องและปลอดภัย สามสิบนาที
(จ) การใช้อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลที่ใช้ในที่อับอากาศและอุปกรณ์ช่วยเหลือและช่วยชีวิต สามสิบนาที
(ฉ) ระบบการขออนุญาตทำงานในที่อับอากาศและการขอยกเลิกการอนุญาตทำงานในที่อับอากาศ และหลักการตัดแยกพลังงานเพื่อความปลอดภัย สามสิบนาที
(ช) บทบาท หน้าที่ ความรับผิดชอบของผู้อนุญาต ผู้ควบคุมงาน ผู้ช่วยเหลือ และ ผู้ปฏิบัติงานในที่อับอากาศ และการสื่อสารระหว่างผู้อนุญาต ผู้ควบคุมงาน ผู้ช่วยเหลือ และ ผู้ปฏิบัติงานในที่อับอากาศ สามสิบนาที

ภาคปฏิบัติต้องมีหัวข้อวิชาและระยะเวลาการฝึกอบรมไม่น้อยกว่าสองชั่วโมง
(ก) เทคนิคการตรวจสภาพพื้นที่และงาน ก่อนตัดสินใจอนุญาต ไม่น้อยกว่าหนึ่งชั่วโมง
(ข) เทคนิคในการควบคุมการทำงานในที่อับอากาศ ไม่น้อยกว่าหนึ่งชั่วโมง
                

 หลักสูตรผู้ควบคุม  
ใช้ระยะเวลาการฝึกอบรมทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติไม่น้อยกว่าสิบสองชั่วโมงโดย
จัดฝึกอบรมสองวันต่อเนื่องดังนี้
ภาคทฤษฎีต้องมีหัวข้อวิชาและระยะเวลาการฝึกอบรมเก้าชั่วโมง
(ก) กฎหมายความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศ หนึ่งชั่วโมง
(ข) ความหมาย ชนิด ประเภทของที่อับอากาศ และอันตรายในที่อับอากาศ หนึ่งชั่วโมง
(ค) การชี้บ่งอันตรายและการประเมินสภาพอันตราย การประเมินสภาพพื้นที่และงาน และการเตรียมความพร้อมในการทำงานในที่อับอากาศ หนึ่งชั่วโมง
(ง) ระบบการขออนุญาตทำงานในที่อับอากาศและการขอยกเลิกการอนุญาตทำงาน ในที่อับอากาศ และหลักการตัดแยกพลังงานเพื่อความปลอดภัย สามสิบนาที
(จ) บทบาท หน้าที่ ความรับผิดชอบของผู้อนุญาต ผู้ควบคุมงาน ผู้ช่วยเหลือ และ ผู้ปฏิบัติงานในที่อับอากาศ และการสื่อสารระหว่างผู้อนุญาต ผู้ควบคุมงาน ผู้ช่วยเหลือ และ ผู้ปฏิบัติงานในที่อับอากาศ สามสิบนาที
(ฉ) เทคนิคการตรวจสอบสภาพอากาศในที่อับอากาศ รวมทั้งการใช้และการตรวจสอบ เครื่องมือหรืออุปกรณ์ตรวจวัดสภาพอากาศในที่อับอากาศ หนึ่งชั่วโมง
(ช) เทคนิคการระบายอากาศ และเครื่องมือการระบายอากาศในที่อับอากาศ หนึ่งชั่วโมง
(ซ) การสั่งให้หยุดทำงานชั่วคราว สามสิบนาที
(ฌ) การวางแผนการปฏิบัติงานและการป้องกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้นจากการทำงาน ในที่อับอากาศ สามสิบนาที
(ญ) เทคนิคในการจัดทำแผนปฏิบัติงานและการป้องกันอันตราย หนึ่งชั่วโมง
(ฎ) การควบคุมดูแล การใช้เครื่องป้องกัน อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล และอุปกรณ์ช่วยเหลือและช่วยชีวิต หนึ่งชั่วโมง
ภาคปฏิบัติต้องมีหัวข้อวิชาและระยะเวลาการฝึกอบรมไม่น้อยกว่าสามชั่วโมง
(ก) เทคนิคการตรวจสอบสภาพอากาศในที่อับอากาศ รวมทั้งการใช้และการตรวจสอบเครื่องมือหรืออุปกรณ์ตรวจวัดสภาพอากาศในที่อับอากาศ ไม่น้อยกว่าสามสิบนาที
(ข) เทคนิคการระบายอากาศ และเครื่องมือการระบายอากาศในที่อับอากาศ ไม่น้อยกว่าสามสิบนาที
(ค) เทคนิคในการควบคุมการทำงานในที่อับอากาศ ไม่น้อยกว่าสามสิบนาที
(ง) การใช้อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลที่ใช้ในที่อับอากาศ ไม่น้อยกว่า สามสิบนาที
(จ) การใช้อุปกรณ์ช่วยเหลือและช่วยชีวิตในที่อับอากาศ ไม่น้อยกว่าสามสิบนาที
(ฉ) สถานการณ์การปฏิบัติงานในที่อับอากาศในสภาพปกติ และกรณีเกิดเหตุฉุกเฉิน ไม่น้อยกว่าสามสิบนาที


ลักสูตรผู้ปฎิบัติงาน    

ใช้ระยะเวลาการฝึกอบรม ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติไม่น้อยกว่าสิบสองชั่วโมง โดยจัดฝึกอบรมสองวันต่อเนื่อง ดังนี้ ภาคทฤษฎีต้องมีหัวข้อวิชาและระยะเวลาการฝึกอบรมเก้าชั่วโมง
(ก) กฎหมายความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศ หนึ่งชั่วโมง
(ข) ความหมาย ชนิด ประเภทของที่อับอากาศ และอันตรายในที่อับอากาศ หนึ่งชั่วโมง
(ค) การชี้บ่งอันตรายและการประเมินสภาพอันตราย การประเมินสภาพพื้นที่และงานและการเตรียมความพร้อมในการทำงานในที่อับอากาศ หนึ่งชั่วโมง
(ง) วิธีการปฏิบัติงานในพื้นที่อับอากาศที่ถูกต้องและปลอดภัย หนึ่งชั่วโมง
(จ) การใช้อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลที่ใช้ในที่อับอากาศและอุปกรณ์ ช่วยเหลือและช่วยชีวิตในที่อับอากาศ หนึ่งชั่วโมง
(ฉ) ระบบการขออนุญาตทำงานในที่อับอากาศและการขอยกเลิกการอนุญาตทำงาน ในที่อับอากาศ สามสิบนาที
(ช) บทบาท หน้าที่ ความรับผิดชอบของผู้อนุญาต ผู้ควบคุมงาน ผู้ช่วยเหลือ และ ผู้ปฏิบัติงานในที่อับอากาศ และการสื่อสารระหว่างผู้อนุญาต ผู้ควบคุมงาน ผู้ช่วยเหลือ และ ผู้ปฏิบัติงานในที่อับอากาศ สามสิบนาที
(ซ) เทคนิคการตรวจสอบสภาพอากาศในที่อับอากาศ รวมทั้งการใช้และการตรวจสอบ เครื่องมือหรืออุปกรณ์ตรวจวัดสภาพอากาศในที่อับอากาศ หนึ่งชั่วโมง
(ฌ) เทคนิคการระบายอากาศ และเครื่องมือการระบายอากาศในที่อับอากาศ หนึ่งชั่วโมง
(ญ) อันตรายที่อาจได้รับในกรณีฉุกเฉินและวิธีการหลีกภัย หนึ่งชั่วโมง
ภาคปฏิบัติต้องมีหัวข้อวิชาและระยะเวลาการฝึกอบรมไม่น้อยกว่าสามชั่วโมง
(ก) เทคนิคการตรวจสอบสภาพอากาศในที่อับอากาศ รวมทั้งการใช้และการตรวจสอบเครื่องมือหรืออุปกรณ์ตรวจวัดสภาพอากาศในที่อับอากาศ ไม่น้อยกว่าสี่สิบห้านาที
(ข) เทคนิคการระบายอากาศ และเครื่องมือการระบายอากาศในที่อับอากาศ ไม่น้อยกว่าสี่สิบห้านาที
(ค) การใช้อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลที่ใช้ในที่อับอากาศ ไม่น้อยกว่า สามสิบนาที
(ง) สถานการณ์การปฏิบัติงานในที่อับอากาศในสภาพปกติ และกรณีเกิดเหตุฉุกเฉิน ไม่น้อยกว่าหนึ่ชั่วโมง
   


หลักสูตรผู้ช่วยเหลือ 
ใช้ระยะเวลาการฝึกอบรมทั้งภาคทฤษฎีและ ภาคปฏิบัติไม่น้อยกว่าสิบแปดชั่วโมง โดยจัดฝึกอบรมสามวันต่อเนื่อง ดังนี้ ภาคทฤษฎีต้องมีหัวข้อวิชาและระยะเวลาการฝึกอบรมสิบสองชั่วโมง
(ก) กฎหมายความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศ หนึ่งชั่วโมง
(ข) ความหมาย ชนิด ประเภทของที่อับอากาศ และอันตรายในที่อับอากาศ หนึ่งชั่วโมง
(ค) การชี้บ่งอันตรายและการประเมินสภาพอันตราย การประเมินสภาพพื้นที่และงาน และการเตรียมความพร้อมในการทำงานในที่อับอากาศ หนึ่งชั่วโมง
(ง) วิธีการปฏิบัติงานในพื้นที่อับอากาศที่ถูกต้องและปลอดภัย หนึ่งชั่วโมง
(จ) การใช้อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลที่ใช้ในที่อับอากาศและอุปกรณ์ ช่วยเหลือและช่วยชีวิตในที่อับอากาศ หนึ่งชั่วโมง
(ฉ) ระบบการขออนุญาตทำงานในที่อับอากาศและการขอยกเลิกการอนุญาตทำงานในที่อับอากาศ และหลักการตัดแยกพลังงานเพื่อความปลอดภัย สามสิบนาที
(ช) บทบาท หน้าที่ ความรับผิดชอบของผู้อนุญาต ผู้ควบคุมงาน ผู้ช่วยเหลือ และ ผู้ปฏิบัติงานในที่อับอากาศ และการสื่อสารระหว่างผู้อนุญาต ผู้ควบคุมงาน ผู้ช่วยเหลือ และ ผู้ปฏิบัติงานในที่อับอากาศ สามสิบนาที
(ซ) เทคนิคการตรวจสอบสภาพอากาศในที่อับอากาศ รวมทั้งการใช้และการตรวจสอบ เครื่องมือหรืออุปกรณ์ตรวจวัดสภาพอากาศในที่อับอากาศ หนึ่งชั่วโมง
(ฌ) เทคนิคการระบายอากาศ และเครื่องมือการระบายอากาศในที่อับอากาศ หนึ่งชั่วโมง
(ญ) อันตรายที่อาจได้รับในกรณีฉุกเฉินและวิธีการหลีกภัย หนึ่งชั่วโมง
(ฎ) การช่วยเหลือและช่วยชีวิต หนึ่งชั่วโมง
(ฏ) การปฐมพยาบาลและการช่วยเหลือเบื้องต้น และการปฐมพยาบาลเพื่อช่วยเหลือ ผู้ที่หยุดหายใจหรือหัวใจหยุดเต้น (CPR) สองชั่วโมง
ภาคปฏิบัติต้องมีหัวข้อวิชาและระยะเวลาการฝึกอบรมไม่น้อยกว่าหกชั่วโมง
(ก) เทคนิคการตรวจสอบสภาพอากาศในที่อับอากาศ รวมทั้งการใช้และการตรวจสอบ เครื่องมือหรืออุปกรณ์ตรวจวัดสภาพอากาศในที่อับอากาศ ไม่น้อยกว่าหนึ่งชั่วโมง
(ข) เทคนิคการระบายอากาศ และเครื่องมือการระบายอากาศในที่อับอากาศ ไม่น้อยกว่า หนึ่งชั่วโมง
(ค) การใช้อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลที่ใช้ในที่อับอากาศ ไม่น้อยกว่า สามสิบนาที
(ง) การใช้อุปกรณ์ช่วยเหลือและช่วยชีวิตในที่อับอากาศ ไม่น้อยกว่าสามสิบนาที
(จ) การช่วยเหลือและช่วยชีวิต ไม่น้อยกว่าหนึ่งชั่วโมง
(ฉ) การปฐมพยาบาลและการช่วยเหลือเบื้องต้น และการปฐมพยาบาลเพื่อช่วยเหลือ ผู้ที่หยุดหายใจหรือหัวใจหยุดเต้น (CPR) ไม่น้อยกว่าหนึ่งชั่วโมง
(ช) สถานการณ์การปฏิบัติงานในที่อับอากาศในสภาพปกติ และกรณีเกิดเหตุฉุกเฉิน ไม่น้อยกว่าหนึ่งชั่วโมง


หลักสูตรการฝึกอบรมผู้อนุญาต ผู้ควบคุมงาน ผู้ช่วยเหลือ และผู้ปฏิบัติงาน ในที่อับอากาศ

ใช้ระยะเวลาการฝึกอบรมทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติไม่น้อยกว่ายี่สิบสี่ชั่วโมง โดยจัดฝึกอบรมสี่วันต่อเนื่อง ดังนี้ภาคทฤษฎีต้องมีหัวข้อวิชาและระยะเวลาการฝึกอบรมสิบห้าชั่วโมง
(ก) กฎหมายความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศ หนึ่งชั่วโมง
(ข) ความหมาย ชนิด ประเภทของที่อับอากาศ และอันตรายในที่อับอากาศ หนึ่งชั่วโม
(ค) การชี้บ่งอันตรายและการประเมินสภาพอันตราย การประเมินสภาพพื้นที่และงาน และการเตรียมความพร้อมในการทำงานในที่อับอากาศ หนึ่งชั่วโมง
(ง) วิธีการปฏิบัติงานในพื้นที่อับอากาศที่ถูกต้องและปลอดภัย หนึ่งชั่วโมง
(จ) การใช้อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลที่ใช้ในที่อับอากาศและอุปกรณ์ ช่วยเหลือและช่วยชีวิตในที่อับอากาศ หนึ่งชั่วโมง
(ฉ) ระบบการขออนุญาตทำงานในที่อับอากาศและการขอยกเลิกการอนุญาตทำงาน ในที่อับอากาศ และหลักการตัดแยกพลังงานเพื่อความปลอดภัย สามสิบนาที
(ช) บทบาท หน้าที่ ความรับผิดชอบของผู้อนุญาต ผู้ควบคุมงาน ผู้ช่วยเหลือ และ ผู้ปฏิบัติงานในที่อับอากาศ และการสื่อสารระหว่างผู้อนุญาต ผู้ควบคุมงาน ผู้ช่วยเหลือ และ ผู้ปฏิบัติงานในที่อับอากาศ สามสิบนาที
(ซ) เทคนิคการตรวจสอบสภาพอากาศในที่อับอากาศ รวมทั้งการใช้และการตรวจสอบ เครื่องมือหรืออุปกรณ์ตรวจวัดสภาพอากาศในที่อับอากาศ หนึ่งชั่วโมง
(ฌ) เทคนิคการระบายอากาศ และเครื่องมือการระบายอากาศในที่อับอากาศ หนึ่งชั่วโมง
(ญ) การสั่งให้หยุดทางานชั่วคราว สามสิบนาที
(ฎ) การวางแผนการปฏิบัติงานและการป้องกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้นจากการทำงาน ในที่อับอากาศ สามสิบนาที
(ฏ) อันตรายที่อาจได้รับในกรณีฉุกเฉินและวิธีการหลีกภัย หนึ่งชั่วโมง
(ฐ) การช่วยเหลือและช่วยชีวิต หนึ่งชั่วโมง
(ฑ) การปฐมพยาบาลและการช่วยเหลือเบื้องต้น และการปฐมพยาบาลเพื่อช่วยเหลือ ผู้ที่หยุดหายใจหรือหัวใจหยุดเต้น (CPR) สองชั่วโมง
(ฒ) เทคนิคในการจัดทำแผนปฏิบัติงานและการป้องกันอันตราย หนึ่งชั่วโมง
(ณ) การควบคุมดูแลการใช้เครื่องป้องกันและอุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล หนึ่งชั่วโมง

ภาคปฏิบัติต้องมีหัวข้อวิชาและระยะเวลาการฝึกอบรมไม่น้อยกว่าเก้าชั่วโมง
(ก) เทคนิคการตรวจสอบสภาพอากาศในที่อับอากาศ รวมทั้งการใช้และการตรวจสอบเครื่องมือหรืออุปกรณ์ตรวจวัดสภาพอากาศในที่อับอากาศ ไม่น้อยกว่าหนึ่งชั่วโมง
(ข) เทคนิคการระบายอากาศ และเครื่องมือการระบายอากาศในที่อับอากาศ ไม่น้อยกว่า หนึ่งชั่วโมง
(ค) เทคนิคการตรวจสภาพพื้นที่และงาน ก่อนตัดสินใจอนุญาต ไม่น้อยกว่าหนึ่งชั่วโมง
(ง) เทคนิคในการควบคุมการทำงานในที่อับอากาศ ไม่น้อยกว่าสามสิบนาที
(จ) การอนุญาตทำงานในที่อับอากาศและการสื่อสาร ไม่น้อยกว่าหนึ่งชั่วโมง
(ฉ) การใช้อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลที่ใช้ในที่อับอากาศ ไม่น้อยกว่า สี่สิบห้านาที
(ช) การใช้อุปกรณ์ช่วยเหลือและช่วยชีวิตในที่อับอากาศ ไม่น้อยกว่าสี่สิบห้านาที
(ซ) การช่วยเหลือและช่วยชีวิต ไม่น้อยกว่าหนึ่งชั่วโมง
(ฌ) การปฐมพยาบาลและการช่วยเหลือเบื้องต้น และการปฐมพยาบาลเพื่อช่วยเหลือ ผู้ที่หยุดหายใจหรือหัวใจหยุดเต้น (CPR) ไม่น้อยกว่าหนึ่งชั่วโมง
(ญ) สถานการณ์การปฏิบัติงานในที่อับอากาศในสภาพปกติ และกรณีเกิดเหตุฉุกเฉิน ไม่น้อยกว่าหนึ่งชั่วโมง

หลักสูตรการฝึกอบรมทบทวนความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศ
ใช้ระยะเวลาการฝึกอบรมเฉพาะภาคทฤษฎีไม่น้อยกว่าสามชั่วโมงต่อเนื่อง อย่างน้อยในหัวข้อวิชาดังนี้
(๑) กฎหมายความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศ
(๒) ความหมาย ชนิด ประเภทของที่อับอากาศ และอันตรายในที่อับอากาศ
(๓) การชี้บ่งอันตรายและการประเมินสภาพอันตราย การประเมินสภาพพื้นที่และงาน และการเตรียมความพร้อมในการทำงานในที่อับอากาศ
(๔) วิธีการปฏิบัติงานในพื้นที่อับอากาศที่ถูกต้องและปลอดภัย
(๕) การใช้อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลที่ใช้ในที่อับอากาศ และอุปกรณ์ ช่วยเหลือและช่วยชีวิตในที่อับอากาศ
(๖) ระบบการขออนุญาตทำงานในที่อับอากาศและการขอยกเลิกการอนุญาตทำงาน ในที่อับอากาศ และหลักการตัดแยกพลังงานเพื่อความปลอดภัย
(๗) บทบาท หน้าที่ ความรับผิดชอบของผู้อนุญาต ผู้ควบคุมงาน ผู้ช่วยเหลือ และ ผู้ปฏิบัติงานในที่อับอากาศ และการสื่อสารระหว่างผู้อนุญาต ผู้ควบคุมงาน ผู้ช่วยเหลือ และ ผู้ปฏิบัติงานในที่อับอากาศ

ข้อ ๑๔ นายจ้างต้องจัดให้ลูกจ้างเข้าฝึกอบรมหลักสูตรการฝึกอบรมทบทวนความปลอดภัย ในการทำงานในที่อับอากาศตามข้อ ๑๓ ทุกห้าปี

  

กลุ่มเป้าหมาย 

  • บุคลากรในองค์กรที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการปฏิบัติงานในที่อับอากาศตามที่นายจ้างมอบหมายให้ทำหน้าที่เป็นผู้อนุญาต ผู้ควบคุมงาน ผู้ช่วยเหลือ และผู้ปฏิบัติงาน      

ระยะเวลาในการอบรม

  •   หลักสูตร   24  ชั่วโมง  

หลักสูตร

ระยะเวลาในการอบรม

ภาคทฤษฏี

ภาคปฏิบัติ

หลักสูตรผู้อนุญาต

7

5

2

หลักสูตรผู้ควบคุม

12

9

3

หลักสูตรผู้ปฏิบัติงาน

12

9

3

หลักสูตรผู้ช่วยเหลือ

18

12

6

ผู้อนุญาต ผู้ช่วยเหลือ ผู้ควบคุมงาน  
ผู้ปฏิบัติงาน

24

15

9

 

จำนวนผู้เข้ารับการฝึกอบรมต่อรุ่น

จำนวนผู้เข้าอบรม

จำนวนวิทยากร

ภาคทฤษฏี

30

1

ภาคปฏิบัติ

15

1

 

การวัดผล          

  • ผู้เข้าร่วมการอบรมจะต้องเข้าร่วมการอบรมเป็นเวลา 100% ของระยะเวลาการอบรม  

Pretest - Posttest 

  • มีการลงทะเบียนก่อนการฝึกอบรมและมีการทำแบบฝึกหัดก่อนและหลังการฝึกอบรม มีการทำรายงานผู้ผ่านการฝึกอบรม

เนื้อหาการฝึกอบรม

  • กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานในที่อับอากาศ พ.ศ. 2562
  • ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และหลักสูตรการฝึกอบรมความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศ

การแต่งกายผู้เข้าอบรม 

  • แต่งกายสุภาพ เหมาะสม กางเกงขายาว รองเท้าหุ้มส้น / รองเท้าเซฟตี้ 
  • ไม่อนุญาตให้ใส่กางเกงขาสั้น และรองเท้าแตะเข้าอบรมทุกกรณี

 เงื่อนไขในการฝึกอบรม

  • ราคาดังกล่าวยังไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม 7%
  • ราคาดังกล่าวสำหรับผู้เข้ารับการอบรมรุ่นละไม่เกิน 30  ท่าน 
  • ผู้เข้ารับการฝึกอบรมภาคปฏิบัติต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้
  • มีอายุไม่ต่ำกว่าสิบแปดปีบริบูรณ์
  • มีสุขภาพสมบูรณ์ ร่างกายแข็งแรง ไม่เป็นโรคเกี่ยวกับทางเดินหายใจ โรคหัวใจหรือโรคอื่นซึ่งแพทย์เห็นว่าการเข้าไปในที่อับอากาศอาจเป็นอันตรายต่อผู้เข้ารับการฝึกอบรม”
  • หลักสูตรนี้ให้บริการจัดอบรมในสถานประกอบกิจการ
  • กรณียกเลิกหลักสูตรฝึกอบรมกรุณาแจ้งล่วงหน้า 7 วัน ก่อนอบรมมิฉะนั้นจะต้องชำระค่าอบรมเต็มจำนวน      
  • กรุณาหัก ณ ที่จ่าย 3 % ในนาม บริษัท อินดักชั่น เซฟตี้ แอนด์ เทรนนิ่ง อีควิปเม้นท์ จำกัด
  • เลขที่ 333/8 หมู่ 5 ต.บ้านบึง อ.บ้านบึง จ.ชลบุรี 20170 (สำนักงานใหญ่)
  • เลขที่ผู้เสียภาษี 0205559008051  (สำนักงานใหญ่)

รายละเอียดการชำระเงิน
  • การชำระเงินสด หรือ เช็คสั่งจ่ายในนาม บจก. อินดักชั่น เซฟตี้ แอนด์ เทรนนิ่ง อีควิปเม้นท์ 
  •  บัญชีกระแสรายวัน เลขที่ 049-835-7318 
  •  บัญชีออมทรัพย์  เลขที่บัญชี 353-4-69191-4
  • กรณีชำระเงินล่วงหน้า กรุณา Fax สลิป Pay in มาที่เบอร์ 038-110025 หรือ 
  • mail : ae.induction_iste@hotmail.com 





เราผ่านการรับรองระบบ" การบริหารงานคุณภาพ 
ISO 9001;2015 ตามมาตรฐานสากลจาก TÜV Rheinland Thailand เป็นมาตรฐานที่องค์กรธุรกิจทั่วโลกให้ความสำคัญ เพื่อความเป็นเลิศทางด้านคุณภาพ ทำให้ลูกค้ามั่นใจในบริการของเรา






 
 

  

วิธีการชำระเงิน

บมจ. ธนาคารกสิกรไทย สาขาบิ๊กซี บ้านบึง กระแสรายวัน
ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) สาขาบ้านบึง ออมทรัพย์

หมวดหมู่สินค้า

หลักสูตรระบบการจัดการ

ได้รับการรับรองจากกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
ให้เป็นหน่วยฝึกอบรมด้านความปลอดภัย ฯ
เลขที่ใบอนุญาต
จป ๑๓-๖๖-0๒๒









หลักสูตรฝึกอบรม

ระบบการจัดการ  




MEMBER ZONE

CONTACT US

Office 038-110025 086-8486936 คุณมาดาม 062-6281441 คุณแต๋ม

            Line QR code

OVERVIEW

หน้าที่เข้าชม579,227 ครั้ง
ผู้ชมทั้งหมด426,225 ครั้ง
เปิดร้าน6 ก.ค. 2559
ร้านค้าอัพเดท9 พ.ค. 2567


เราผ่านการรับมาตราฐาน
ISO 9001:2015 
การบริหารจัดการที่มีคุณภาพ 
TÜV
 Rheinland Thailand






พูดคุย-สอบถาม